SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สาระ หลัก - การใช้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง
ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๔.๑
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา
ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
วิเคราะห์ชนิด และหน้าที่ของ
คาในประโยค
จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด
๑. อธิบายชนิดและหน้าที่ของคานาม (K)
๒. วิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคานามในประโยค ( P)
๓. เห็นความสาคัญของชนิดและหน้าที่ของคานามใน
ประโยค (A)
ตัวอย่าง
เรามารู้จักกับความหมาย
ของคากันนะคะ
คา คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมี ความหมาย
คา จานวนพยางค์ ความหมาย
บ้าน ที่อยู่อาศัยของมนุษย์๑
คอนโดมิเนียม ๔
ที่อยู่อาศัยของมนุษย์มี
ลักษณะเป็นห้องชุด
คาในภาษาไทยจาแนกได้ ๗ ชนิด
คานาม
คาสรรพนาม
คากริยา
คาวิเศษณ์
คาอุทาน
คาสันธาน
คาบุพบท
ความหมายของคานาม
sKzคานาม
คือ คาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ต่างๆ เช่น
เด็ก แมว ดอกไม้
ฝรั่ง ร่ม
ชนิด
ของคานาม
สามานยนาม
(นามทั่วไป)
วิสามานยนาม
(นามเฉพาะ)
สมุหนาม
(นามบอกหมวดหมู่)
ลักษณะนาม
(นามบอกลักษณะ)
อาการนาม
(นามบอกอาการ)
๑.สามานยนาม หรือ คานามทั่วไป
เป็นคานามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ โดยทั่วๆไป
ไม่ได้เจาะจงว่าเป็นคนใด สิ่งใด หรือตัวใด เช่น
ดอกไม้ แมว นก หนังสือ
sKzตัวอย่าง พ่อชอบอ่านหนังสือ
ครูให้รางวัลแก่นักเรียน
แม่ซื้อขนมมาให้ลูก
พ่อ หนังสือ ครู รางวัล
นักเรียน แม่ ขนม ลูก
ทุกคาเป็นคานามที่มีทั่วไป
จึงจัดเป็นสามานยนาม
“หนังสือวางอยู่บนโต๊ะ” สามานยนามคือคาใด
๒.วิสามานยนาม หรือ คานามชี้เฉพาะ
คือ คานามที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่โดยเฉพาะ
เจาะจงลงไป หรือเป็นคาที่ใช้เรียกคนคนเดียว ของสิ่งเดียวหรือสถานที่
แห่งเดียวเท่านั้นเช่น
ดวงอาทิตย์ ด.ญ.ปาริชาติ ธงชาติไทย
sKzตัวอย่าง เขาชอบอ่านหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
ครูพจมาลย์มอบรางวัลให้แก่นักเรียน
ฉันเดินทางไปจังหวัดอุดรธานี
“สมชายมีลูก ๒ คน”ตอบซิคาใดเป็นวิสามานยนาม
๓.สมุหนาม หรือ คานามบอกหมวดหมู่
คือ เป็นคานามที่ใช้แสดงหมวดหมู่ของคน สัตว์ สิ่งของ ที่มีมากกว่า ๑
หรือมีลักษณะเป็นพหูพจน์ มักจะอยู่หน้าคานามทั่วไป เช่น กอง กลุ่ม ฝูง คณะ
โขลง หมู่ พวก บริษัท รัฐบาล ฯลฯ
ฝูงปลา หมู่ดาว วงดนตรี
sKzตัวอย่าง ฝูงนกบินในท้องฟ้า
รัฐบาลอังกฤษส่งทหารไปประเทศอิรัก
“............…ครูประชุมที่ห้องสมุด” ควรเติมคาใดจึงจะเหมาะสม
๔.ลักษณะนาม หรือ คานามบอกลักษณะ
คือ คานามที่บอกรูปร่างลักษณะของคานามข้างหน้า ส่วนมากจะ
อยู่ข้างหลังตัวเลขหรือคาอื่นๆ เช่น รถหลายคัน ไข่สามฟอง บ้านหลังนี้
sKzตัวอย่าง แห ๑ ปาก ตากอยู่บนไม้ไผ่ ๒ ลา
ปากกา ๒ ด้าม วางอยู่บนโต๊ะ
ลองมาดูตัวอย่างลักษณะนาม
กันดีกว่า
ลักษณะนาม
กาไร ๑ วง
รองเท้า ๑ คู่ , ข้าง
คอมพิวเตอร์ ๒ เครื่อง
นาฬิกา ๓ เรือน
ปากกา ๑๐ ด้าม
บ้าน ๑ หลัง
แมว ๑ ตัว
เลื่อย ๒ ปื้ น
ช้าง ๔ โขลง
รถยนต์ ๓ คัน
ลักษณนามของ ข้าวหลาม ปืน พลุ คืออะไร?
๕.อาการนาม หรือ คานามบอกอาการ
คือ คาที่ใช้เรียกกริยาอาการและความรู้สึกของคานามเป็นคาประสม
มักใช้ “การ” และ “ความ” นาหน้า
การ การเดิน การนอน การกิน
ความ
การร้องเพลง การเต้น ความรัก
ความดี ความแห้งแล้ง ความทุกข์
คากริยา+
วิเศษณ์+
หมายเหตุ
คาว่า “การ” หรือ “ความ” ที่นาหน้าสามานยนาม ไม่ใช่อาการนาม แต่เป็น
วิสามานยนาม เช่น การเมือง การไฟฟ้า ความอาญา เป็นต้น
sKzตัวอย่าง
สมชายมีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี
เราทุกคนควรทาความดี
หน้าที่ของคานาม
๑.ทาหน้าที่เป็นประธาน
ตัวอย่าง
คณะรัฐมนตรีกาลังประชุม
ที่สภานักเรียนเรียนหนังสืออยู่ในห้องเรียน
๒.ทาหน้าที่เป็นกรรม
ท่านผู้อานวยการอบรมนักเรียนเกเรตัวอย่าง
ตารวจจับผู้ร้ายได้ทั้งหมด
ตัวอย่าง
๓. ทาหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง
คานามที่ทาหน้าที่เป็นกรรมตรง
ฉันกินขนมเค้ก
รถชนเสาไฟฟ้า
ตัวอย่าง คานามที่ทาหน้าที่เป็นกรรมรอง
ครูมอบรางวัลแก่นักเรียน
แม่ป้อนข้าวให้น้อง
๔.ทาหน้าที่ขยายคานามอื่น
ตัวอย่าง แมวตัวอ้วนหลับอยู่ใต้ต้นไม้
พลพลนักร้องเสียงดีกาลังออกกาลังกายอยู่กลางสนาม
ตัวอย่าง
๖.ทาหน้าที่เป็นคาเรียกขาน
แม่คะ อย่าลืมโทรไปหาคุณยายนะคะ
แม่ค้าจ๊ะ พรุ่งนี้จะทาแกงเขียวหวานไก่ไหม
๗.ทาหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มให้คากริยา
ตัวอย่าง
แววตาคล้ายแม่มาก
พุ่มพวงเป็นราชินีเพลงลูกทุ่ง
กิจกรรมที่ 1 ช่วยกันคิดหาคานามที่กาหนด
ลองทาดูนะจ๊ะ! บอกด้วยว่าเป็นคานามชนิดใด
นายแพทย์ คนไข้ ครู พยาบาล ความเรียบร้อย
แจกัน โอ่ง จอบ เสียม ดอกกุหลาบ พัทยา หมี
ช้าง เสือ กวาง ถ้าเชียงดาว การเดิน งาช้าง ๑ กิ่ง
ความดี การวาด การไปรษณีย์ พระสงฆ์ ๑ รูป
ช่อดอกไม้ น้าตกสาลิกา พุทธมณฑล ความรุ่งเรือง
ทะลายมะพร้าว
มาทบทวนความรู้กันสักนิด
ครูชมเชยนักเรียน ตารวจจับผู้ร้าย
แม่ปรุงอาหาร ชาวนาเกี่ยวข้าว
น้องอาบน้าสุนัข ครูให้รางวัลนักเรียน
นักเรียนอ่านหนังสือ สุนทรภู่แต่งนิราศ
แม่เป็นอาจารย์ ทุกคนควรทาความดี
กิจกรรมที่ 2 ขีดเส้นใต้คานามกันหน่อย แล้วช่วยกันบอกว่า
คานามนั้นทาหน้าที่อะไรในประโยค

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทKu'kab Ratthakiat
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานKu'kab Ratthakiat
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศบทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศG ''Pamiiz Porpam
 

What's hot (20)

คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
งานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบทงานนำเสนอคำบุพบท
งานนำเสนอคำบุพบท
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำสันธาน 2
คำสันธาน 2คำสันธาน 2
คำสันธาน 2
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
คำอุทาน
คำอุทาน คำอุทาน
คำอุทาน
 
งานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธานงานนำเสนอคำสันธาน
งานนำเสนอคำสันธาน
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
คำ
คำคำ
คำ
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศบทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
บทที่ ๕ ภาษาไทยในฐานะต่างประเทศ
 

Similar to คำนาม

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ nongnoch
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีAnchalee BuddhaBucha
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 

Similar to คำนาม (15)

คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลีภาษาบาลี ชุดที่ ๑   ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
ภาษาบาลี ชุดที่ ๑ ความเป็นมาและคุณค่าของภาษาบาลี
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 

คำนาม