SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
ความหมาย ความสาคัญ ของเครื่องมือการวิจัย
ในการดาเนินงานวิจัย มีความจาเป็นต้องมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนามาวิเคราะห์ หาคาตอบ ตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัยที่กาหนด เครื่องมือการวิจัย เป็นสิ่งสาคัญ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สิ่งที่ต้องการศึกษา เครื่องมือ
ที่ใช้ในการวิจัยมีหลายประเภท แต่ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือการวิจัยแบบใด ล้วนมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ
ต้องการได้ข้อมูลที่ตรงตามข้อเท็จจริง เพื่อทาให้ผลงานวิจัย เชื่อถือได้ และเกิดประโยชน์มากที่สุด
ประเภทของเครื่องมือการวิจัยที่นิยมใช้กันมาก ได้แก่
 การใช้แบบสอบถาม
 แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต
การสร้างแบบสอบถาม
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัยที่นิยมนามาใช้รวบรวมข้อมูลงานวิจัยเชิงปริมาณ เช่น
 การวิจัยเชิงสารวจ
 การวิจัยเชิงอธิบาย เป็นต้น
แบบสอบถามมีทั้งแบบสอบถามปลายปิด และแบบสอบถามปลายเปิด
แบบสอบถามปลายปิด
เป็นแบบสอบถามที่ระบุคาตอบไว้แล้ว ให้ผู้ตอบเลือกตอบ หรืออาจให้เติมคาหรือข้อความสั้นๆ เท่านั้น
ตัวอย่าง อาชีพของท่านคืออะไร
ครู
พยาบาล
ทหาร
เกษตรกร
อื่นๆ ระบุ ...............................................
แบบสอบถามปลายเปิด
เป็นแบบสอบถามที่ไม่ได้กาหนดคาตอบไว้ แต่ให้ผู้ตอบได้เขียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ
ตัวอย่าง แบบสอบถามปลายเปิด
 นักศึกษานิยมไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่แหล่งการเรียนรู้ใด เพราะอะไร
การสร้างแบบสอบถาม มีขั้นตอนดังนี้
1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิจัย และประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา แล้วยกร่าง
แบบสอบถาม
2. นาไปให้ผู้มีความรู้ช่วยตรวจสอบ และให้ข้อเสนอแนะ
3. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ
4. นาไปทดลองใช้ก่อนเพื่อความเชื่อมั่นว่ากลุ่มตัวอย่าง ( กลุ่มเล็กๆไม่ต้องทุกคน ) เข้าใจคาถามและ
วิธีการตอบคาถาม แล้วนาผลการทดลอง มาปรับปรุงแก้ไขอีกครั้ง ก่อนนาไปใช้จริง
5. นาไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
การสร้างแบบสัมภาษณ์
 การสัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือการวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัยทุกประเภท ทุกสาขา แต่ที่
นิยมคือใช้กับการวิจัยเชิงคุณภาพ
 การสัมภาษณ์ เป็นการรวบรวมข้อมูลในลักษณะเผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์ และผู้ให้สัมภาษณ์
โดยผู้สัมภาษณ์ เป็นผู้ซักถาม และผู้ให้สัมภาษณ์เป็นผู้ให้ข้อมูล หรือตอบคาถาม ของผู้สัมภาษณ์
 แบบสัมภาษณ์มีทั้งแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง คือผู้สัมภาษณ์ใช้คาถามปลายเปิด เป็นคาถาม
กว้างๆ ปรับเปลี่ยนได้ ให้ผู้ให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ และแบบสัมภาษณ์แบบมี
โครงสร้าง ที่ผู้สัมภาษณ์กาหนดประเด็นคาถาม หรือรายการคาถามเรียงลาดับไว้แล้วก่อนที่จะ
สัมภาษณ์
 ตัวอย่างการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เช่น ครูสัมภาษณ์นักศึกษาเกี่ยวกับปัญหาในการเรียนการ
สอน ครูจะตั้งคาถามอย่างไร ก็ได้ เพื่อให้นักศึกษา แสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องที่ครูอยากรู้
 ตัวอย่างการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เช่น คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์นักศึกษาที่สอบเข้า
มหาวิทยาลัยได้ คณะกรรมการ อาจจะต้องเตรียม แบบสาภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง ไว้ล่วงหน้า โดย
กาหนดรายการคาถามเพื่อการสัมภาษณ์ไว้ก่อน แต่อาจปรับเปลี่ยนคาพูดได้บ้างตามความเหมาะสม
การสร้างแบบสังเกต
 แบบสังเกตเป็นเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ใช้ได้กับงานวิจัยทุกประเภท โดยเฉพาะงานวิจัยเชิง
คุณภาพ งานวิจัยเชิงทดลอง
 แบบสังเกตแบ่งเป็น แบบสังเกตที่ไม่มีโครงร่างการสังเกต ซึ่งเป็นแบบที่ไม่ได้กาหนดเหตุการณ์
พฤติกรรม หรือสถานการณ์ที่จะสังเกตไว้ชัดเจน และแบบสังเกตที่มีโครงร่างการสังเกต เป็นแบบที่
กาหนดไว้ล่วงหน้าแล้วว่า จะสังเกตอะไร สังเกตอย่างไร เมื่อใด และจะบันทึกผลการสังเกตอย่างไร
 ตัวอย่างแบบสังเกตที่ไม่มีโครงร่างการสังเกต เช่นการสังเกตพฤติกรรมในการพบกลุ่มของนักศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. วัดแจ้ง ผู้สังเกตก็จะบันทึกพฤติกรรมต่างๆของนักศึกษาตามที่เป็น
จริง
 ตัวอย่างแบบสังเกตที่มีโครงร่างการสังเกต เช่น แบบสังเกตพฤติกรรมในการพบกลุ่มของนักศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช.
คาชี้แจง ให้ผู้สังเกตทาเครื่องหมาย / ให้ตรงกับพฤติกรรมนักศึกษาที่พบ
เอกสารอ้างอิง จากหนังสือเรียน สาระทักษะการเรียนรู้ (ทร.31001) รายวิชาทักษะการเรียนรู้
 กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณขวัทน์ . เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องกระบวนการวิจัย. ในการ
ประชุมสัมมนางานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปีงบประมาณ 2552
(วันที่ 29-30 มิถุนายน 2552)
 บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: บริบัทยู
แอนด์ไอ อินเตอร์มีเดีย จากัด ,2547
 พนิต เข็มทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง มโนทัศน์การวิจัยในชั้นเรียน. ในการประชุมสัมมนา
งานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปีงบประมาณ 2552
(วันที่ 29-30 มิถุนายน 2552)
 พิสณุ ฟองศรี. วิจัยชั้นเรียน หลักการและเทคนิคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธากา
รพิมพ์, 2551.
 ไมตรี บุญทศ. คู่มือการทาวิจัยในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2549.
 ศิริรัตน์ วีรชาตินานุกูล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและการวิจัย. กรุงเทพฯ:
 มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ,2545
 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิจัยแผ่นเดียว : เส้นทางสู่คุณภาพการ
 อาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา, 2547.
 สมเจตน์ ไวทยาการณ์.หลักและการวิจัย. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร ,2544
สื่อประกอบการเรียนรู้เพิ่มเติม
 นอกจากหนังสืออ้างอิง ตามบรรณานุกรมที่ระบุข้างต้นแล้ว นักศึกษาสามารถ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ได้จาก
o บทเรียนวิจัยออนไลน์ (http://www.elearning.nrct.net/). ของสานักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ
o เข้าไปค้นข้อมูล โดยพิมพ์หัวข้อเรื่องวิจัยที่ต้องการศึกษา ใน http://www.google.co.th/
o วารสาร เอกสาร งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ ต่างๆ

More Related Content

What's hot

โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 

What's hot (20)

โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 

Similar to 6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ

02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchAnucha Somabut
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Jiraporn Talabpet
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Napisx
 
Data type methods and tools
Data type methods and toolsData type methods and tools
Data type methods and toolsiamthesisTH
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Ptato Ok
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information servicesKKU Library
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 

Similar to 6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ (20)

Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive toolsSpreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
Oo
OoOo
Oo
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)
 
Data type methods and tools
Data type methods and toolsData type methods and tools
Data type methods and tools
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
3computerr
3computerr3computerr
3computerr
 
Work1 m32no5,6
Work1 m32no5,6Work1 m32no5,6
Work1 m32no5,6
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
Reference and information services
Reference and information servicesReference and information services
Reference and information services
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
Work 3
Work 3Work 3
Work 3
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
Research
Research Research
Research
 

More from patmalya

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู patmalya
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียนpatmalya
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดียpatmalya
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการpatmalya
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊คpatmalya
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a daypatmalya
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผลpatmalya
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตูpatmalya
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครูpatmalya
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคตpatmalya
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจังpatmalya
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดีpatmalya
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียนpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุงpatmalya
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัขpatmalya
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 tpatmalya
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์patmalya
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้าpatmalya
 

More from patmalya (20)

9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู 9 7-เปิดประตู
9 7-เปิดประตู
 
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
9 9-3-1+2-การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน9 9-2-ebook-อาเซียน
9 9-2-ebook-อาเซียน
 
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย
 
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
9 8-การประชาสัมพันธ์-นิทรรศการ
 
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
9 7-2-การโพสต์วีดีโอลงเฟซบุ๊ค
 
9 6-1-a day
9 6-1-a day9 6-1-a day
9 6-1-a day
 
9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล9 6-1-ex-ประเมินผล
9 6-1-ex-ประเมินผล
 
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
9 4-ความก้าวหน้า-เปิดประตู
 
9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู9 4-5-6-รายงานพบครู
9 4-5-6-รายงานพบครู
 
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
9 4-1-เล่ม-เปิดประตูสู่อนาคต
 
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
9 4-1-แบรนด์เสื้อชูจัง
 
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี9 2-2-การนำเสนอที่ดี
9 2-2-การนำเสนอที่ดี
 
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
9 2-1-การออกแบบงานนำเสนอ
 
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
9 1-3-เค้าโครงเว็บไซต์อาเซียน
 
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
9 1-3-เค้าโครง-แบกกล้องท่องกรุง
 
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
9 1-3-เค้าโครงโครงงาน-หุ่นยนต์สุนัข
 
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
9 1-2-การเชื่อมโยง7 t
 
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
9 1-1องค์ประกอบของเค้าโครงโครงงานคอมพิวเตอร์
 
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
8 การเขียนรายงานความก้าวหน้า
 

6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ

  • 1. การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ความหมาย ความสาคัญ ของเครื่องมือการวิจัย ในการดาเนินงานวิจัย มีความจาเป็นต้องมีการรวบรวมข้อมูล เพื่อนามาวิเคราะห์ หาคาตอบ ตามวัตถุประสงค์ ของการวิจัยที่กาหนด เครื่องมือการวิจัย เป็นสิ่งสาคัญ ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สิ่งที่ต้องการศึกษา เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยมีหลายประเภท แต่ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือการวิจัยแบบใด ล้วนมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ต้องการได้ข้อมูลที่ตรงตามข้อเท็จจริง เพื่อทาให้ผลงานวิจัย เชื่อถือได้ และเกิดประโยชน์มากที่สุด ประเภทของเครื่องมือการวิจัยที่นิยมใช้กันมาก ได้แก่  การใช้แบบสอบถาม  แบบสัมภาษณ์ และแบบสังเกต การสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัยที่นิยมนามาใช้รวบรวมข้อมูลงานวิจัยเชิงปริมาณ เช่น  การวิจัยเชิงสารวจ  การวิจัยเชิงอธิบาย เป็นต้น แบบสอบถามมีทั้งแบบสอบถามปลายปิด และแบบสอบถามปลายเปิด แบบสอบถามปลายปิด เป็นแบบสอบถามที่ระบุคาตอบไว้แล้ว ให้ผู้ตอบเลือกตอบ หรืออาจให้เติมคาหรือข้อความสั้นๆ เท่านั้น ตัวอย่าง อาชีพของท่านคืออะไร ครู พยาบาล ทหาร เกษตรกร อื่นๆ ระบุ ............................................... แบบสอบถามปลายเปิด เป็นแบบสอบถามที่ไม่ได้กาหนดคาตอบไว้ แต่ให้ผู้ตอบได้เขียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ตัวอย่าง แบบสอบถามปลายเปิด  นักศึกษานิยมไปศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่แหล่งการเรียนรู้ใด เพราะอะไร
  • 2. การสร้างแบบสอบถาม มีขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะวิจัย และประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา แล้วยกร่าง แบบสอบถาม 2. นาไปให้ผู้มีความรู้ช่วยตรวจสอบ และให้ข้อเสนอแนะ 3. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ 4. นาไปทดลองใช้ก่อนเพื่อความเชื่อมั่นว่ากลุ่มตัวอย่าง ( กลุ่มเล็กๆไม่ต้องทุกคน ) เข้าใจคาถามและ วิธีการตอบคาถาม แล้วนาผลการทดลอง มาปรับปรุงแก้ไขอีกครั้ง ก่อนนาไปใช้จริง 5. นาไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด การสร้างแบบสัมภาษณ์  การสัมภาษณ์ เป็นเครื่องมือการวิจัยที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัยทุกประเภท ทุกสาขา แต่ที่ นิยมคือใช้กับการวิจัยเชิงคุณภาพ  การสัมภาษณ์ เป็นการรวบรวมข้อมูลในลักษณะเผชิญหน้ากันระหว่างผู้สัมภาษณ์ และผู้ให้สัมภาษณ์ โดยผู้สัมภาษณ์ เป็นผู้ซักถาม และผู้ให้สัมภาษณ์เป็นผู้ให้ข้อมูล หรือตอบคาถาม ของผู้สัมภาษณ์  แบบสัมภาษณ์มีทั้งแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง คือผู้สัมภาษณ์ใช้คาถามปลายเปิด เป็นคาถาม กว้างๆ ปรับเปลี่ยนได้ ให้ผู้ให้สัมภาษณ์แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ และแบบสัมภาษณ์แบบมี โครงสร้าง ที่ผู้สัมภาษณ์กาหนดประเด็นคาถาม หรือรายการคาถามเรียงลาดับไว้แล้วก่อนที่จะ สัมภาษณ์  ตัวอย่างการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง เช่น ครูสัมภาษณ์นักศึกษาเกี่ยวกับปัญหาในการเรียนการ สอน ครูจะตั้งคาถามอย่างไร ก็ได้ เพื่อให้นักศึกษา แสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องที่ครูอยากรู้  ตัวอย่างการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง เช่น คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์นักศึกษาที่สอบเข้า มหาวิทยาลัยได้ คณะกรรมการ อาจจะต้องเตรียม แบบสาภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง ไว้ล่วงหน้า โดย กาหนดรายการคาถามเพื่อการสัมภาษณ์ไว้ก่อน แต่อาจปรับเปลี่ยนคาพูดได้บ้างตามความเหมาะสม การสร้างแบบสังเกต  แบบสังเกตเป็นเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่ใช้ได้กับงานวิจัยทุกประเภท โดยเฉพาะงานวิจัยเชิง คุณภาพ งานวิจัยเชิงทดลอง  แบบสังเกตแบ่งเป็น แบบสังเกตที่ไม่มีโครงร่างการสังเกต ซึ่งเป็นแบบที่ไม่ได้กาหนดเหตุการณ์ พฤติกรรม หรือสถานการณ์ที่จะสังเกตไว้ชัดเจน และแบบสังเกตที่มีโครงร่างการสังเกต เป็นแบบที่ กาหนดไว้ล่วงหน้าแล้วว่า จะสังเกตอะไร สังเกตอย่างไร เมื่อใด และจะบันทึกผลการสังเกตอย่างไร  ตัวอย่างแบบสังเกตที่ไม่มีโครงร่างการสังเกต เช่นการสังเกตพฤติกรรมในการพบกลุ่มของนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. วัดแจ้ง ผู้สังเกตก็จะบันทึกพฤติกรรมต่างๆของนักศึกษาตามที่เป็น จริง
  • 3.  ตัวอย่างแบบสังเกตที่มีโครงร่างการสังเกต เช่น แบบสังเกตพฤติกรรมในการพบกลุ่มของนักศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศรช. คาชี้แจง ให้ผู้สังเกตทาเครื่องหมาย / ให้ตรงกับพฤติกรรมนักศึกษาที่พบ เอกสารอ้างอิง จากหนังสือเรียน สาระทักษะการเรียนรู้ (ทร.31001) รายวิชาทักษะการเรียนรู้  กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณขวัทน์ . เอกสารประกอบการบรรยายเรื่องกระบวนการวิจัย. ในการ ประชุมสัมมนางานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปีงบประมาณ 2552 (วันที่ 29-30 มิถุนายน 2552)  บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: บริบัทยู แอนด์ไอ อินเตอร์มีเดีย จากัด ,2547  พนิต เข็มทอง. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง มโนทัศน์การวิจัยในชั้นเรียน. ในการประชุมสัมมนา งานวิจัยโครงการวิจัยพัฒนาคุณภาพ กศน. ปีงบประมาณ 2552 (วันที่ 29-30 มิถุนายน 2552)  พิสณุ ฟองศรี. วิจัยชั้นเรียน หลักการและเทคนิคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธากา รพิมพ์, 2551.  ไมตรี บุญทศ. คู่มือการทาวิจัยในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2549.  ศิริรัตน์ วีรชาตินานุกูล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและการวิจัย. กรุงเทพฯ:  มหาวิทยาลัย กรุงเทพ ,2545  สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิจัยแผ่นเดียว : เส้นทางสู่คุณภาพการ  อาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา, 2547.  สมเจตน์ ไวทยาการณ์.หลักและการวิจัย. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร ,2544 สื่อประกอบการเรียนรู้เพิ่มเติม  นอกจากหนังสืออ้างอิง ตามบรรณานุกรมที่ระบุข้างต้นแล้ว นักศึกษาสามารถ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ได้จาก o บทเรียนวิจัยออนไลน์ (http://www.elearning.nrct.net/). ของสานักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ o เข้าไปค้นข้อมูล โดยพิมพ์หัวข้อเรื่องวิจัยที่ต้องการศึกษา ใน http://www.google.co.th/ o วารสาร เอกสาร งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ ต่างๆ