SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
๒๕๕๗ 
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร 
1/1/2557 กำรจัดทำข้อเสนอของโครงงำนคอมพิวเตอร์
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
1 กำรจัดทำข้อเสนอของโครงงำน 
1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง์และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. วิเคราะห ข้อมูล์เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3. ออกแบบการพัฒนา์มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร ซอฟต แวร และตัวแปลภาษา โปรแกรม์และวัสดุต่างๆ์ที่ต้องใช้ พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลง มือทาโครงงาน และสรุปรายงานโครงงาน์โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้างๆ 4. ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย์ๆ์ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว 5. นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น 6. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร ต่ออาจารย ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข์ทั้งนี้ เพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา นักเรียนอาจจะคิดได้ไม่ครอบคลุมทุกด้าน์เนื่องจากยังมีประสบการณ น้อย ์ ดังนั้นนักเรียนจึงควรถ่ายทอดความคิดของตนเองที่ได้ศึกษาและบันทึกไว้ให้ อาจารย ที่ปรึกษาทราบ เพื่อ อาจารย จะได้แนะนาในส่วนที่ยังขาดตกบกพร่องอยู่ ทั้งนี้เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไป อย่างเหมาะสมเป็นขั้น ตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนโครงงานสาเร็จ ์ ์์์์์์์ตัวอย่างสตอรี่บอร ดของโครงงาน เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ (Outline of Project Proposal) 1. ส่วนปกประกอบด้วย ์ ์์์์ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ………………………………………………………………….. (ภาษาอังกฤษ) ………………………………………………………………......
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
2 
ประเภทของโครงงาน .................................................................................................... ชื่อผู้จัดทาโครงงาน . .................................................................................................... ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ……………………………………………………………………….. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม …………………………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน …………………………………………………………...................... รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน 2. สาระสาคัญของโครงการ 3. หลักการและเหตุผล 4. วัตถุประสงค์ 5. ปัญหาหรือประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม 6. เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ 7. รายละเอียดของการพัฒนา 7.1 เนื้อเรื่องย่อ (Story Board) ภาพประกอบ แบบจาลอง หรือ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม หรือ ผลงาน ที่สื่อให้เห็นโปรแกรมที่จะพัฒนาขึ้น 7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ Algorithms ที่ใช้ โครงสร้างข้อมูล เป็นต้น โดยผู้พัฒนาต้องให้รายละเอียดที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 7.3 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ ภาษาที่ใช้เขียน Tools อื่นๆ ที่ใช้ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม และอื่นๆ 7.4 รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา (Software Specification) ได้แก่ • Input/Output Specification ์ ์์์์์์• Functional Specification • โครงสร้างของซอฟต์แวร์ (Design) • อื่นๆ 7.5 ขอบเขตและข้อจากัดของโปรแกรมที่พัฒนา 8. บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุแหล่งอ้างอิงอย่างน้อย 3 แห่ง เช่น จากหนังสือ บทความ วารสารทางวิชาการ หรือ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 9. ประวัติและผลงานวิจัยดีเด่นของผู้พัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
ตัวอย่ำงเค้ำโครงข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์ 1. สำระสำคัญของโครงกำร 
คาว่าคณิตศาสตร ไม่ได้เป็นแค่ตัวเลขที่เกี่ยวกับจานวนต่างๆ์และการคานวณเท่านั้น แต่เป็นศาสตร ที่ทาให้ เรารู้จักใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา์คณิตศาสตร สามารถเป็นได้ทั้งศิลปะและภาษาแขนงหนึ่ง์โดยเฉพาะเซตเป็นคาที่ ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ์ถ้าเปรียบเทียบกับคาในภาษาไทยแล้ว์เซตก็เปรียบได้กับคาที่เป็นลักษณะนามของ
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
3 
กลุ่มและทฤษฎีเซตถือว่าเป็นรากฐานของคณิตศาสตร เกือบทุกแขนง์สามารถนาไปประยุกต ใช้ได้กับวิชาคณิต-์ ศาสตร ์เช่น์กราฟ์สมการ์ฟังก ชั่นและความสัมพันธ ์เป็นต้น 
คำสำคัญ (Key Words) เซต , คณิตศำสตร์ 
2.หลักกำรและเหตุผล 
ปัจจุบันโลกมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว์มีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและทันสมัยเกิดขึ้นมาบนโลกใบนี้มากมาย์์ และสามารถที่จะนามาประยุกต ใช้กับการทางาน์เพื่อปรับปรุง์และเพิ่มพูนผลผลิตได้มากมาย์ไม่เว้นแม้แต่ด้าน การศึกษา์นับจากอดีตจนถึงปัจจุบันเด็กในประเทศไทยมักประสบปัญหาด้านการคิดวิเคราะห ์และการตัดสินใจ์์์ ที่เกี่ยวเนื่องมาจากกระบวนการฝึกฝนทางคณิตศาสตร ์อีกทั้งปัญหาความเหลื่อมล้าคุณภาพการศึกษาไทยยังคงมี ให้เห็นโดยเฉพาะในโรงเรียนที่ห่างไกลในชนบท์แต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน ์ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากการ นาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนของครูและช่วยให้การศึกษาสามารถเข้าถึงได้ มากยิ่งขึ้น์ทั้งนี้วิชาคณิตศาสตร เป็นวิชาที่ต้องฝึกการคิดวิเคราะห และอาศัยความเข้าใจ์ซึ่งบางครั้งนักเรียนก็ต้อง อาศัยเวลาในการเรียน์โปรแกรมส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้เรื่อง์เซตแสนสนุก์จึงเปรียบเสมือนทางเลือกในการเรียนรู้ และทบทวนบทเรียนด้วยตนเองของนักเรียนได้ตลอดเวลาหากเรียนในห้องเรียนไม่ทัน์ทั้งยังช่วยประหยัดเงินใน การจ้างครูผู้สอนและการเรียนกวดวิชา์โดยมีการนาเทคโนโลยีต่าง์ๆ์มาใช้เพื่อการศึกษาในลักษณะการนาเสนอ รูปแบบมัลติมีเดีย์มีการนาสื่อสาหรับการนาเสนอมาประกอบกัน์ได้แก่์ข้อความ์เสียง์ภาพนิ่ง์กราฟิก์แผนภูมิ์ กราฟ์ภาพเคลื่อนไหว์หรือแม้แต่วีดีทัศน มานาเสนอเนื้อหาบทเรียน์เพื่อดึงดูดและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ในการเรียนมากยิ่งขึ้น 
3.วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อสร้างสื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบมัลติมีเดีย์เรื่อง์เซตแสนสนุก ในลักษณะของ์Learning Object ตาม มาตรฐาน์SCORM์1.2 
2. เพื่อสร้างสื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบมัลติมีเดียที่สามารถใช้ได้ทุกสถานที่และอุปกรณ ที่หลากหลายไม่ว่าจะ เป็น์PC , Smart Phone ,Tablet หรือ์ipad เป็นต้น 
3. เพื่อเป็นสื่อซ่อมเสริมที่นักเรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนบทเรียนด้วยตนเองได้ตลอดเวลา 
4.ปัญหำหรือประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนำโปรแกรม 
ปัญหำที่เป็นเหตุให้พัฒนำโปรแกรม 
คณิตศาสตร จัดได้ว่าเป็นศาสตร ที่น่าสนใจ์หากสนใจมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนก็จะรู้สึกสนุกสนาน และมีความสุขกับกิจกรรมการเรียนรู้์์์์แต่หากไม่มีความสนใจอาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกเบื่อ์ซึ่งจะทาให้ไม่ อยากเรียนและกลายเป็นการเกลียดวิชาคณิตศาสตร ไปในที่สุด์เรื่อง์เซตก็เช่นกัน์เนื่องจากเป็นเรื่องที่ซับซ้อน์ แทบจะไม่เป็นรูปธรรมทาให้จินตนาการและทาความเข้าใจยาก์ทั้งยังไม่รู้เหตุผลที่ต้องเรียนและประโยชน ที่จะ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ส่งผลให้ผู้เรียนไม่ให้ความร่วมมือในการเรียน์นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ์อย่างการที่ เวลาเรียนไม่พอ์ทาให้ไม่มีเวลาในการทาความเข้าใจเนื้อหาที่ต้องเรียน์จึงได้เกิดอคติและคิดว่ามันยากจนปิดกั้น การเรียนรู้ไปในที่สุด 
ประโยชน์ในกำรพัฒนำโปรแกรม
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
4 
์ โปรแกรมส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้เรื่อง์เซตแสนสนุก์ที่ผู้พัฒนาโครงการได้พัฒนาขึ้นนี้์สามารถช่วย ประหยัดเวลาในการเรียนการสอนได้ถึง์50%์เพราะสามารถเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส ได้์ทั้งยังมีกิจกรรมการ เรียนรู้ที่สนุกสนาน์ให้ความรู้สึกน่าสนใจ์ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่อยากจะเรียนมากยิ่งขึ้น์และเมื่อสนใจที่จะ เรียนการจะทาความเข้าใจในเรื่องที่คิดว่ายากก็จะไม่ยากอย่างที่คิดอีกต่อไป์ทั้งยังทาให้ได้รู้จักการคิด์วิเคราะห ์ การใช้ทักษะคานวณ์การจินตนาการ์และการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา์ซึ่งทักษะเหล่านี้นี่เองที่ผู้เรียนจะสามารถ นามาใช้ประโยชน ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด์ 
5.เป้ำหมำยและขอบเขตของโครงกำร 
์ 1)์กลุ่มเป้าหมาย์คือ์นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่์4/8์โรงเรียนกัลยาณวัตร สพม.ขอนแก่น เขต 25 จานวน์50์คน ์์์์์์์์์์2)์์เนื้อหาที่นามาสร้างสื่อบทเรียน์เรื่อง์เซต์ในครั้งนี้นาเสนอตามสาระที่์4์มาตรฐาน์ค์4.1์ตัวชี้วัดที่์1์ มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดาเนินการของเซต์ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ์ช่วงชั้นที่์ 4์พุทธศักราช์2551 โรงเรียนกัลยาณวัตร์สพม.ขอนแก่น์เขต์25์์ในส่วนของ์การดาเนินการของเซตและการ แก้ปัญหา 
6.รำยละเอียดของกำรพัฒนำ ตัวอย่างบทเรียน์(Story board) 
 หน้าแรกของบทเรียน 
 หน้าเมนู
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
5 
 หน้าคู่มือผู้เรียน 
 หน้าเมนู 
 หน้าแรกของบทเรียน 
รหัสโครงการ์17p22i0027
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
6 
 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน 
 หน้าสรุปผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน์แบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน 
 หน้าบทเรียน 
 หน้าแบบฝึกหัด
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
7 
 หน้าผู้พัฒนา 
 หน้าอาจารย ที่ปรึกษา 
 แบบสารวจความคิดเห็น 
เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ 
1.นาเสนอในรูปแบบมัลติมีเดีย์คือ์นาเสนอเนื้อหาในแบบข้อความ์ภาพนิ่ง์ภาพเคลื่อนไหวและ วีดีโอ์บนระบบ์Learnsquare LMS 
2. ให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนแบบมีส่วนร่วมบน์Social Media 
เครื่องมือที่ใช้ในกำรพัฒนำ 
-์์Microsoft Windows 8.1 Pro x64 
- Microsoft Office 2013
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
8 
- Adobe Acrobat Pro 
- Adobe Photoshop CC ใช้เพื่อสร้างภาพประกอบการพัฒนาตัวสื่อ 
-์์Adobe Captivate 8์ใช้ในการสร้างสื่อบทเรียน์E – Learning 
- Adobe Illusstrator CC ใช้เพื่อสร้างภาพประกอบการพัฒนาตัวสื่อ 
-์์Adobe Flash CC ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว์Animation ประกอบตัวสื่อ 
-์์Audacity์์ใช้ในการบันทึกและตัดต่อเสียงในการประกอบสื่อ 
-์์USB Webserver 9 สร้าง์sever จาลอง 
-์์Learnsquare Blue สาหรับสร้าง์LMS เพื่อนาเสนอบทเรียน 
4.รำยละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนำ (Software Specification) ได้แก่ 
Input/Output Specification 
Input 
Output 
1. คีย บอร ด์ 
2.์เมาส ์ 
1.์ลาโพง/หูฟัง 
Functional Specification 
-์์แบบทดสอบ์เป็นแบบมัลติมีเดีย์มีเสียงบรรยายอธิบายในบทเรียน 
- เนื้อหาเรื่อง์เซตแสนสนุกจะมีภาพเคลื่อนไหวประกอบ์สามารถทา 
์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์ให้เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น 
-์์สื่อบทเรียน์์E - Learning 
-์์ผู้เรียนจะต้องใช้เมาส กับคีย บอร ดในการควบคุมระบบของโปรแกรม 
-์์อุปกรณ เสริมที่ใช้์คือ์์ลาโพงหรือหูฟัง
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
9 
โครงสร้างของซอฟต แวร ์(Design) 
ขอบเขตและข้อจำกัด 
การพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้์เรื่อง์เซตแสนสนุก์ครั้งนี้มีข้อจากัด์คือ์เนื้อหาภายในบทเรียน จะเป็นเนื้อหาของช่วงชั้นที่์4์(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่์4์) อีกทั้งโปรแกรมนี้จะทาการใช้งานได้ดีกับเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีความเร็วสูง จึงจะมีประสิทธิภาพในการทางาน ผู้เรียนจะต้องมีบัญชี์Facebook . Gmail และ์Line สาหรับใช้ ในกิจกรรมการเรียนรู้และขอความช่วยเหลือทางการเรียนรู้ 
ผู้เรียนต้องเป็นสมาชิกของ์Facebook และ์Gmail เพื่อสะดวกในการเรียนรู้เพราะบทเรียนเรื่องนี้ได้นา์ Facebook และ Gmail มาเป็นส่วนหนึ่งของบทเรียน Facebook ใช้สร้าง์Fan page เพื่อให้ผู้เรียนเข้าไปแสดง
โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 
10 
ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน์ส่วน์Gmail จะใช้ในส่วนของ์Google Document เพื่อให้ผู้เรียนเข้าไปทา แบบสอบถามในระบบ 
เอกสำรอ้ำงอิง 
- http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/set/set5.htm 
- https://www.opendurian.com/learn/set_property_and_simplification 
- http://202.143.165.163/ma_m2/chap3/chap3_2.pdf 
- http://e-learning.kusol.org/mod/resource/view.php?id=1968 
ประวัติของผู้พัฒนำ ชื่อ์: นางสาวณัฐวรา์พรพิรุณโรจน (อายุ์16์ปี) 
ที่อยู่์: 300์หมู่์14์บ.โคกสี์ต.โคกสี์อ.เมือง์จ.ขอนแก่น์40000 
ประวัติการศึกษา์: กาลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่์5์แผนการเรียนวิทยาศาสตร -คณิต์์์์์์์์์์์์์์์ โรงเรียนกัลยาณวัตร์จ.ขอนแก่น 
ผลงาน์: รางวัลชมเชย์งาน์Flash Animation โครงการเส้นทางสู่ดวงดาว์บันไดสู่นักพัฒนาซอฟต แวร มืออาชีพ์์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี์ปี์พ.ศ.์2557 
แหล่งอ้างอิง : ลัดดา ภู่เกียรติ. โครงงานเพื่อการเรียนรู้หลักและแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ,2544. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.คู่มือประกอบการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ มัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว,2545. ______คู่มือประกอบการเรียนรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ:คุรุสภา ลาดพร้าว,2545. _____.คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว ,2545. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 2549. โครงงานวิทยาศาสตร์แบบงานวิจัย.ปทุมธานี

More Related Content

What's hot

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20varatkhimhihi
 
Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2YanisaKanya1
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8Pavit Wongkajit
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20varatkhimhihi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cin Pichita
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4Nuchy Geez
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8teannantika
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์nobnab_rk
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานmansupotyrc
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 

What's hot (18)

Paper
PaperPaper
Paper
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
 
Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2Yanisaand prapasiriproject2
Yanisaand prapasiriproject2
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
น.ส.วรัชยา แซ่เตียวม.5 1 เลขที่20
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายเเละประเภทของโครงงาน
 
Com
ComCom
Com
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
Project
ProjectProject
Project
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 

Similar to การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์

ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทAoy Amm Mee
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3juice1414
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..win_apitchaya
 
4 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp014 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp01Sky Aloha'
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4kanatakenta
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 

Similar to การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
 
K3
K3K3
K3
 
4 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp014 120816125045-phpapp01
4 120816125045-phpapp01
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Project
ProjectProject
Project
 
projectcomputer
projectcomputerprojectcomputer
projectcomputer
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 

การจัดทำข้อเสนอของโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. ๒๕๕๗ โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร 1/1/2557 กำรจัดทำข้อเสนอของโครงงำนคอมพิวเตอร์
  • 2. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 1 กำรจัดทำข้อเสนอของโครงงำน 1. ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิง์และรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ 2. วิเคราะห ข้อมูล์เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา 3. ออกแบบการพัฒนา์มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร ซอฟต แวร และตัวแปลภาษา โปรแกรม์และวัสดุต่างๆ์ที่ต้องใช้ พร้อมทั้งกาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลง มือทาโครงงาน และสรุปรายงานโครงงาน์โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้างๆ 4. ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทาการพัฒนาส่วนย่อย์ๆ์ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว 5. นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น 6. เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร ต่ออาจารย ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนาและปรับปรุงแก้ไข์ทั้งนี้ เพราะในการวางแผนการศึกษาพัฒนา นักเรียนอาจจะคิดได้ไม่ครอบคลุมทุกด้าน์เนื่องจากยังมีประสบการณ น้อย ์ ดังนั้นนักเรียนจึงควรถ่ายทอดความคิดของตนเองที่ได้ศึกษาและบันทึกไว้ให้ อาจารย ที่ปรึกษาทราบ เพื่อ อาจารย จะได้แนะนาในส่วนที่ยังขาดตกบกพร่องอยู่ ทั้งนี้เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไป อย่างเหมาะสมเป็นขั้น ตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนโครงงานสาเร็จ ์ ์์์์์์์ตัวอย่างสตอรี่บอร ดของโครงงาน เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ (Outline of Project Proposal) 1. ส่วนปกประกอบด้วย ์ ์์์์ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ………………………………………………………………….. (ภาษาอังกฤษ) ………………………………………………………………......
  • 3. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 2 ประเภทของโครงงาน .................................................................................................... ชื่อผู้จัดทาโครงงาน . .................................................................................................... ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ……………………………………………………………………….. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม …………………………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน …………………………………………………………...................... รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน 2. สาระสาคัญของโครงการ 3. หลักการและเหตุผล 4. วัตถุประสงค์ 5. ปัญหาหรือประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนาโปรแกรม 6. เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ 7. รายละเอียดของการพัฒนา 7.1 เนื้อเรื่องย่อ (Story Board) ภาพประกอบ แบบจาลอง หรือ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโปรแกรม หรือ ผลงาน ที่สื่อให้เห็นโปรแกรมที่จะพัฒนาขึ้น 7.2 เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ เช่น เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์ Algorithms ที่ใช้ โครงสร้างข้อมูล เป็นต้น โดยผู้พัฒนาต้องให้รายละเอียดที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 7.3 เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ ภาษาที่ใช้เขียน Tools อื่นๆ ที่ใช้ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม และอื่นๆ 7.4 รายละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนา (Software Specification) ได้แก่ • Input/Output Specification ์ ์์์์์์• Functional Specification • โครงสร้างของซอฟต์แวร์ (Design) • อื่นๆ 7.5 ขอบเขตและข้อจากัดของโปรแกรมที่พัฒนา 8. บรรณานุกรม (Bibliography) ระบุแหล่งอ้างอิงอย่างน้อย 3 แห่ง เช่น จากหนังสือ บทความ วารสารทางวิชาการ หรือ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น 9. ประวัติและผลงานวิจัยดีเด่นของผู้พัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัวอย่ำงเค้ำโครงข้อเสนอโครงงำนคอมพิวเตอร์ 1. สำระสำคัญของโครงกำร คาว่าคณิตศาสตร ไม่ได้เป็นแค่ตัวเลขที่เกี่ยวกับจานวนต่างๆ์และการคานวณเท่านั้น แต่เป็นศาสตร ที่ทาให้ เรารู้จักใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา์คณิตศาสตร สามารถเป็นได้ทั้งศิลปะและภาษาแขนงหนึ่ง์โดยเฉพาะเซตเป็นคาที่ ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ์ถ้าเปรียบเทียบกับคาในภาษาไทยแล้ว์เซตก็เปรียบได้กับคาที่เป็นลักษณะนามของ
  • 4. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 3 กลุ่มและทฤษฎีเซตถือว่าเป็นรากฐานของคณิตศาสตร เกือบทุกแขนง์สามารถนาไปประยุกต ใช้ได้กับวิชาคณิต-์ ศาสตร ์เช่น์กราฟ์สมการ์ฟังก ชั่นและความสัมพันธ ์เป็นต้น คำสำคัญ (Key Words) เซต , คณิตศำสตร์ 2.หลักกำรและเหตุผล ปัจจุบันโลกมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว์มีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและทันสมัยเกิดขึ้นมาบนโลกใบนี้มากมาย์์ และสามารถที่จะนามาประยุกต ใช้กับการทางาน์เพื่อปรับปรุง์และเพิ่มพูนผลผลิตได้มากมาย์ไม่เว้นแม้แต่ด้าน การศึกษา์นับจากอดีตจนถึงปัจจุบันเด็กในประเทศไทยมักประสบปัญหาด้านการคิดวิเคราะห ์และการตัดสินใจ์์์ ที่เกี่ยวเนื่องมาจากกระบวนการฝึกฝนทางคณิตศาสตร ์อีกทั้งปัญหาความเหลื่อมล้าคุณภาพการศึกษาไทยยังคงมี ให้เห็นโดยเฉพาะในโรงเรียนที่ห่างไกลในชนบท์แต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน ์ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากการ นาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในกระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนของครูและช่วยให้การศึกษาสามารถเข้าถึงได้ มากยิ่งขึ้น์ทั้งนี้วิชาคณิตศาสตร เป็นวิชาที่ต้องฝึกการคิดวิเคราะห และอาศัยความเข้าใจ์ซึ่งบางครั้งนักเรียนก็ต้อง อาศัยเวลาในการเรียน์โปรแกรมส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้เรื่อง์เซตแสนสนุก์จึงเปรียบเสมือนทางเลือกในการเรียนรู้ และทบทวนบทเรียนด้วยตนเองของนักเรียนได้ตลอดเวลาหากเรียนในห้องเรียนไม่ทัน์ทั้งยังช่วยประหยัดเงินใน การจ้างครูผู้สอนและการเรียนกวดวิชา์โดยมีการนาเทคโนโลยีต่าง์ๆ์มาใช้เพื่อการศึกษาในลักษณะการนาเสนอ รูปแบบมัลติมีเดีย์มีการนาสื่อสาหรับการนาเสนอมาประกอบกัน์ได้แก่์ข้อความ์เสียง์ภาพนิ่ง์กราฟิก์แผนภูมิ์ กราฟ์ภาพเคลื่อนไหว์หรือแม้แต่วีดีทัศน มานาเสนอเนื้อหาบทเรียน์เพื่อดึงดูดและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ในการเรียนมากยิ่งขึ้น 3.วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างสื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบมัลติมีเดีย์เรื่อง์เซตแสนสนุก ในลักษณะของ์Learning Object ตาม มาตรฐาน์SCORM์1.2 2. เพื่อสร้างสื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบมัลติมีเดียที่สามารถใช้ได้ทุกสถานที่และอุปกรณ ที่หลากหลายไม่ว่าจะ เป็น์PC , Smart Phone ,Tablet หรือ์ipad เป็นต้น 3. เพื่อเป็นสื่อซ่อมเสริมที่นักเรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนบทเรียนด้วยตนเองได้ตลอดเวลา 4.ปัญหำหรือประโยชน์ที่เป็นเหตุผลให้ควรพัฒนำโปรแกรม ปัญหำที่เป็นเหตุให้พัฒนำโปรแกรม คณิตศาสตร จัดได้ว่าเป็นศาสตร ที่น่าสนใจ์หากสนใจมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนก็จะรู้สึกสนุกสนาน และมีความสุขกับกิจกรรมการเรียนรู้์์์์แต่หากไม่มีความสนใจอาจจะทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกเบื่อ์ซึ่งจะทาให้ไม่ อยากเรียนและกลายเป็นการเกลียดวิชาคณิตศาสตร ไปในที่สุด์เรื่อง์เซตก็เช่นกัน์เนื่องจากเป็นเรื่องที่ซับซ้อน์ แทบจะไม่เป็นรูปธรรมทาให้จินตนาการและทาความเข้าใจยาก์ทั้งยังไม่รู้เหตุผลที่ต้องเรียนและประโยชน ที่จะ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ส่งผลให้ผู้เรียนไม่ให้ความร่วมมือในการเรียน์นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอื่นๆ์อย่างการที่ เวลาเรียนไม่พอ์ทาให้ไม่มีเวลาในการทาความเข้าใจเนื้อหาที่ต้องเรียน์จึงได้เกิดอคติและคิดว่ามันยากจนปิดกั้น การเรียนรู้ไปในที่สุด ประโยชน์ในกำรพัฒนำโปรแกรม
  • 5. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 4 ์ โปรแกรมส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้เรื่อง์เซตแสนสนุก์ที่ผู้พัฒนาโครงการได้พัฒนาขึ้นนี้์สามารถช่วย ประหยัดเวลาในการเรียนการสอนได้ถึง์50%์เพราะสามารถเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส ได้์ทั้งยังมีกิจกรรมการ เรียนรู้ที่สนุกสนาน์ให้ความรู้สึกน่าสนใจ์ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกที่อยากจะเรียนมากยิ่งขึ้น์และเมื่อสนใจที่จะ เรียนการจะทาความเข้าใจในเรื่องที่คิดว่ายากก็จะไม่ยากอย่างที่คิดอีกต่อไป์ทั้งยังทาให้ได้รู้จักการคิด์วิเคราะห ์ การใช้ทักษะคานวณ์การจินตนาการ์และการใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา์ซึ่งทักษะเหล่านี้นี่เองที่ผู้เรียนจะสามารถ นามาใช้ประโยชน ในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด์ 5.เป้ำหมำยและขอบเขตของโครงกำร ์ 1)์กลุ่มเป้าหมาย์คือ์นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่์4/8์โรงเรียนกัลยาณวัตร สพม.ขอนแก่น เขต 25 จานวน์50์คน ์์์์์์์์์์2)์์เนื้อหาที่นามาสร้างสื่อบทเรียน์เรื่อง์เซต์ในครั้งนี้นาเสนอตามสาระที่์4์มาตรฐาน์ค์4.1์ตัวชี้วัดที่์1์ มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดาเนินการของเซต์ตามหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร ์ช่วงชั้นที่์ 4์พุทธศักราช์2551 โรงเรียนกัลยาณวัตร์สพม.ขอนแก่น์เขต์25์์ในส่วนของ์การดาเนินการของเซตและการ แก้ปัญหา 6.รำยละเอียดของกำรพัฒนำ ตัวอย่างบทเรียน์(Story board)  หน้าแรกของบทเรียน  หน้าเมนู
  • 6. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 5  หน้าคู่มือผู้เรียน  หน้าเมนู  หน้าแรกของบทเรียน รหัสโครงการ์17p22i0027
  • 7. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 6  แบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน  หน้าสรุปผลการทาแบบทดสอบก่อนเรียน์แบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรียน  หน้าบทเรียน  หน้าแบบฝึกหัด
  • 8. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 7  หน้าผู้พัฒนา  หน้าอาจารย ที่ปรึกษา  แบบสารวจความคิดเห็น เทคนิคหรือเทคโนโลยีที่ใช้ 1.นาเสนอในรูปแบบมัลติมีเดีย์คือ์นาเสนอเนื้อหาในแบบข้อความ์ภาพนิ่ง์ภาพเคลื่อนไหวและ วีดีโอ์บนระบบ์Learnsquare LMS 2. ให้นักเรียนทากิจกรรมในบทเรียนแบบมีส่วนร่วมบน์Social Media เครื่องมือที่ใช้ในกำรพัฒนำ -์์Microsoft Windows 8.1 Pro x64 - Microsoft Office 2013
  • 9. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 8 - Adobe Acrobat Pro - Adobe Photoshop CC ใช้เพื่อสร้างภาพประกอบการพัฒนาตัวสื่อ -์์Adobe Captivate 8์ใช้ในการสร้างสื่อบทเรียน์E – Learning - Adobe Illusstrator CC ใช้เพื่อสร้างภาพประกอบการพัฒนาตัวสื่อ -์์Adobe Flash CC ใช้สร้างภาพเคลื่อนไหว์Animation ประกอบตัวสื่อ -์์Audacity์์ใช้ในการบันทึกและตัดต่อเสียงในการประกอบสื่อ -์์USB Webserver 9 สร้าง์sever จาลอง -์์Learnsquare Blue สาหรับสร้าง์LMS เพื่อนาเสนอบทเรียน 4.รำยละเอียดโปรแกรมที่จะพัฒนำ (Software Specification) ได้แก่ Input/Output Specification Input Output 1. คีย บอร ด์ 2.์เมาส ์ 1.์ลาโพง/หูฟัง Functional Specification -์์แบบทดสอบ์เป็นแบบมัลติมีเดีย์มีเสียงบรรยายอธิบายในบทเรียน - เนื้อหาเรื่อง์เซตแสนสนุกจะมีภาพเคลื่อนไหวประกอบ์สามารถทา ์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์์ให้เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น -์์สื่อบทเรียน์์E - Learning -์์ผู้เรียนจะต้องใช้เมาส กับคีย บอร ดในการควบคุมระบบของโปรแกรม -์์อุปกรณ เสริมที่ใช้์คือ์์ลาโพงหรือหูฟัง
  • 10. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 9 โครงสร้างของซอฟต แวร ์(Design) ขอบเขตและข้อจำกัด การพัฒนาโปรแกรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้์เรื่อง์เซตแสนสนุก์ครั้งนี้มีข้อจากัด์คือ์เนื้อหาภายในบทเรียน จะเป็นเนื้อหาของช่วงชั้นที่์4์(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่์4์) อีกทั้งโปรแกรมนี้จะทาการใช้งานได้ดีกับเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีความเร็วสูง จึงจะมีประสิทธิภาพในการทางาน ผู้เรียนจะต้องมีบัญชี์Facebook . Gmail และ์Line สาหรับใช้ ในกิจกรรมการเรียนรู้และขอความช่วยเหลือทางการเรียนรู้ ผู้เรียนต้องเป็นสมาชิกของ์Facebook และ์Gmail เพื่อสะดวกในการเรียนรู้เพราะบทเรียนเรื่องนี้ได้นา์ Facebook และ Gmail มาเป็นส่วนหนึ่งของบทเรียน Facebook ใช้สร้าง์Fan page เพื่อให้ผู้เรียนเข้าไปแสดง
  • 11. โดย : ครูอำนำจ พรหมใจรักษ์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี สำขำ คอมพิวเตอร์ 10 ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทเรียน์ส่วน์Gmail จะใช้ในส่วนของ์Google Document เพื่อให้ผู้เรียนเข้าไปทา แบบสอบถามในระบบ เอกสำรอ้ำงอิง - http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet2/knowledge_math/set/set5.htm - https://www.opendurian.com/learn/set_property_and_simplification - http://202.143.165.163/ma_m2/chap3/chap3_2.pdf - http://e-learning.kusol.org/mod/resource/view.php?id=1968 ประวัติของผู้พัฒนำ ชื่อ์: นางสาวณัฐวรา์พรพิรุณโรจน (อายุ์16์ปี) ที่อยู่์: 300์หมู่์14์บ.โคกสี์ต.โคกสี์อ.เมือง์จ.ขอนแก่น์40000 ประวัติการศึกษา์: กาลังศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่์5์แผนการเรียนวิทยาศาสตร -คณิต์์์์์์์์์์์์์์์ โรงเรียนกัลยาณวัตร์จ.ขอนแก่น ผลงาน์: รางวัลชมเชย์งาน์Flash Animation โครงการเส้นทางสู่ดวงดาว์บันไดสู่นักพัฒนาซอฟต แวร มืออาชีพ์์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี์ปี์พ.ศ.์2557 แหล่งอ้างอิง : ลัดดา ภู่เกียรติ. โครงงานเพื่อการเรียนรู้หลักและแนวทางการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ,2544. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.คู่มือประกอบการเรียนรายวิชาคอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ มัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว,2545. ______คู่มือประกอบการเรียนรายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ มัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ:คุรุสภา ลาดพร้าว,2545. _____.คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพร้าว ,2545. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 2549. โครงงานวิทยาศาสตร์แบบงานวิจัย.ปทุมธานี