SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
ตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ
รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่าง
เหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา
ความสามารถที่เกิดจากการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิด
ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่
นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้
เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้องสื่อสาร
ความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า
รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอแนวคิดใน
การจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ
ดังนี้
การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและ
แยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร
การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่
เรียนมา รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือ
การสร้างสรรค์โครงงาน
การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มา
สร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิด
ไตร่ตรองว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควรทาโครงงานใด
2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่า
เกิดเนื่องจากอะไร
การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้ง
ความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน
การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่
ๆ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทา
โครงงานใดและไม่ควรทาโครงงานใด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ
และอธิบายปัญหาทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และ
กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
ที่มา :
http://www.acr.ac.th/acr/
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวย
ตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือ
จากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็ น
กลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่
โครงงานเล็กหรือใหญ่
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์คัดเลือกโครงงานที่จะ
ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของ
โครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่อ
อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตาม
จุดหมายที่กาหนดไว้
5. เป็ นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้
ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้ง
การใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
ประเภทของโครงงาน
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์
ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา เช่น โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้าง
งาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็ นโครงงานที่ใช้
คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อ
ประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวัน
5. โครงงานพัฒนาเกม เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมารุก
ที่มา :
http://www.lks.ac.th/kuanjit/s5.htm
โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา”
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ
สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค
แบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน
แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ถือว่า
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น
การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็
ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม
วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความ
เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น
โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชา
ต่าง ๆ
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ
ผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่ง
อาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียน
สามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย
สอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนา
บทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน
ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียน
อาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล ตัว
แปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของ
ประเทศไทย เป็นต้น
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้างโปรแกรม
บทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และ
คาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน
โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็น
การพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน
ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจ
คัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น การ
เคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญ
ของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน
โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรม
สานวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้
คณิตศาสตร์
ที่มา :
http://oumsunipharuamsap. html
โครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้าง
งานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป
ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็นต้น สาหรับ
ซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็น
เครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนซอฟต์แวร์การ
วาดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้
เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วย
การออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่า
ด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะ
เป็นมาให้เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
ตัวอย่าง 5 อย่าง เช่น
1.โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
2.โปรแกรมอ่านอักษรไทย
3.โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
4.โปรแกรมบีบอัดข้อมูล
ที่มา :
http://www.scribd.com/doc/
โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี”
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขา
ต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด
เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง
และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด
แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อม
ทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไป
ตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทา
โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี
ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุ
แบบสามมิติ เป็นต้น
ตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
1. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์
2. การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา
3. การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
4. ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน
5. ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน
6. การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลแหล่งที่มาของข้อมูล
ที่มา :
http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-
post.html
โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้าง
ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ
การออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ
ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการ
ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิด
สร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความ
ต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา
สิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ
สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียน
ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างโครงงาน 1
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อ
ผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่อ
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น
ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ
ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper
using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบ
ถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบ
ใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามี
การระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ
เลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ
ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบ
บาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่าน
บาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า
ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้งเตือน
ตัวอย่างโครงงาน 2
ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา
โครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่
ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญา
ตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้
ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using
Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึง
รายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่ง
ประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุ
ข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือก
ซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูล
ได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้
สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า
ที่มา :
http://www.thaigoodview.com
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อ
ความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้น
การใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบ
ลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้
สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
เกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่
แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
ตัวอย่างโครงงาน 1
ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ
ประเภทMobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิส
รา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน
1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนา
มาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้
สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และ
สามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่
โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บน
โทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่อง
เซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหา
ความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายัง
โทรศัพท์มือถือ
ตัวอย่างโครงงาน 2
ชื่อโครงงาน การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่าน และ simulate การ
ประยุกต์ใช้ hologram กับบัตรประจาตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดาษพิช ทองนพเนื้อ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบัน
ได้มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์ laser
hologram ในด้านการใช้เป็น memory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึ้น
โดยอาศัยลักษณะเด่นของ hologram 360 ซึ่งสามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่
เกิดเป็นแบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลง
ของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนี้จึงประกอบด้วยการ
1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram 360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว
2.ออกแบบ ทดลอง และพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร
3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตรสาหรับ
เครื่องอ่านบัตร ตลอดจนออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและ
พัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางานของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางานของ
เครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
การศึกษาทดลองขณะนี้เป็นการพัฒนา software ซึ่งประกอบด้วย
1. การศึกษาหลักการ ลักษณะของข้อมูล ตลอดจนการ
เชื่อมโยง software และวิธีที่ใช้ในการอ่านและเก็บข้อมูลเพื่อวิธี
ของ pattern recognition ที่จะนามาใช้ โดยรวมถึงการ
พิจารณา tolerance ที่ย่อมรับได้
2. ทดลองเขียน และพัฒนา software สาหรับ pattern
recognition ในการอ่านบัตร
3. ทดลองเขียน และพัฒนา software เพื่อใช้ในการ simulate ผลที่ได้
จากการใช้ software ที่เขียนขึ้น การอ่าน การทา pattern
recognition และระบบการใช้บัตร ฯลฯ
4. ทดลองทา simulation เพื่อนาผลที่ได้มาใช้ในการพัฒนา
ระบบ software , hardware , และส่วนอื่น ๆ ของบัตรต่อไป
ขณะนี้ในส่วนที่พัฒนา software อยู่ในขั้นตอนการศึกษา
ระบบ hardware และเลือกวิธีของ pattern recognition เพื่อใช้
ในการเขียน program (หรือ พัฒนา software) รวมถึงการ
ทดลอง simulate อย่างง่ายและการศึกษาการใช้ development
tools ต่าง ๆ เช่น ภาษา computer , program ต่าง ๆ เพื่อ
เตรียมพร้อมสาหรับการ simulate และพัฒนาด้าน software ต่อไป
งานวิจัยนี้อยู่ระหว่างการดาเนินการจากหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
และได้รับการตอบรับการจดทะเบียนลิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว
ตัวอย่างโครงงาน 3
ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายก
ฤชวัฒน์ เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พรแก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียนเทพศิริ
นทร์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไม่ระบุ บทคัดย่อ
คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
จนปัจจุบันมีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้นเพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง ๆ อานวยให้การทางานนั้นมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสม
ต่อการนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้
แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ในการประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่
ใช้และชุดคาสั่งมักเป็นจานวนชนิดทศนิยม (float)
ตัวอย่างโครงงาน 4
ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR ชื่อผู้ทา
โครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆ
นาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรี
นครสวรรค์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา
โครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
ทา OCR (Optical Character Recognition) และรวบรวมตัวอย่าง
ลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่
ปัญหาในการตัดตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ-
ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะคล้ายกัน เช่น
ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนั้นการจะจดจาลักษณะ
ตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่การจดจาลักษณะร่วมหรือลักษณะเด่น ของ
ตัวอักษรนั้น จากลายมือที่ต่างกัน
โดยการพิจารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด
แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า
ลักษณะของจุดนั้นจะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพิ่มแฟกเตอร์บางอย่างเข้าไป คือ
เพิ่มจานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและจุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับ
ของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ลักษณะเด่น ของตัวนั้นแทนจุดในบางตาแหน่ง
ทาให้ความชัดเจนมากขึ้นและจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของ
ระยะระหว่างจุด การพิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่ม
ตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษรภาษาไทยมีความ
ซับซ้อนและมีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้
ก่อน เพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย
เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลข
ด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็
สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนี้จะใช้วิธี
ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้
ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศ
ต่างไปจากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็น
ทิศนั้น พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจากลักษณะเด่ของ
ตัวเลข ก็จะเพิ่มความถูกต้องได้ในระดับหนึ่ง
สาหรับปัญหาในการอ่านตัวเลขซึ่งอาจพบได้ เช่น การเขียนตัวเลขสองตัว
ติดกัน หรือการเขียนตัวเลขตัวเดียวแต่เส้นไม่ต่อเนื่องอาจทาให้เกิดความสับสนได้
และปัญหาที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเขียนผิดรูปซึ่งทาให้ยากแก่การจาแนกว่า
ตัวเลขตัวใด ซึ่งยังจะต้องศึกษาและพัฒนาต่อไป
ที่มา :
http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-
post_25.html
โดย
นางสาวนันธิกา กิจปาโล เลขที่ 32 ม.6/13
นางสาวชนิภรณ์ บริสุทธิ์ เลขที่ 36 ม.6/13

More Related Content

What's hot

โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Korrakot Intanon
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Siriyagon Pusod
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญjjrrwnd
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Nitikan2539
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4Winwin Nim
 

What's hot (9)

โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญใบงานท   2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
ใบงานท 2 เร__อง ความหมายและความสำค_ญ
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

English50
English50English50
English50
 
Social50
Social50Social50
Social50
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
Blogger
BloggerBlogger
Blogger
 
Pat7.4
Pat7.4Pat7.4
Pat7.4
 
Thai50
Thai50Thai50
Thai50
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8teannantika
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8teannantika
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4Noot Ting Tong
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4Noot Ting Tong
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4Noot Ting Tong
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmansupotyrc
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาFiction Lee'jslism
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์believegg
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 Phakphoom
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2xQler
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Parnkeaw
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8 (20)

ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
 
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ—  _4
เนƒเธšเธ‡เธฒเธ™เธ— _4
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท  การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 โครงงานประเภท การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
2 120719083904-phpapp02
2 120719083904-phpapp022 120719083904-phpapp02
2 120719083904-phpapp02
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8

  • 1. ความหมายและความสาคัญของโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่าง เหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คาแนะนา
  • 2. ความสามารถที่เกิดจากการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิด ความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1.ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่ นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้ เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้องสื่อสาร ความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอแนวคิดใน การจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
  • 3. 2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและ แยกแยะสาเหตุว่าเกิดเนื่องจากอะไร การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่ เรียนมา รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือ การสร้างสรรค์โครงงาน การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มา สร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิด ไตร่ตรองว่าควรทาโครงงานใดและไม่ควรทาโครงงานใด
  • 4. 2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่า เกิดเนื่องจากอะไร การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้ง ความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทา โครงงานใดและไม่ควรทาโครงงานใด 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหาทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วย ตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต 5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม ที่มา : http://www.acr.ac.th/acr/
  • 5. ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน ขอบข่ายของโครงงาน 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวย ตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือ จากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็ น กลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่ โครงงานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์คัดเลือกโครงงานที่จะ ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม
  • 6. 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของ โครงงาน แผนปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตาม จุดหมายที่กาหนดไว้ 5. เป็ นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา รวมทั้ง การใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
  • 7. ประเภทของโครงงาน 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา เช่น โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ เป็นโครงงานที่สร้างเครื่องมือ ใช้สร้าง งาน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็ นโครงงานที่ใช้ คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่างๆ 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อ ประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวัน 5. โครงงานพัฒนาเกม เพื่อความรู้ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมารุก ที่มา : http://www.lks.ac.th/kuanjit/s5.htm
  • 8. โครงงานประเภท “การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา” โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาค แบบฝึกหัด บททบทวนและคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียน แบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็น การพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ ได้
  • 9. โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความ เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชา ต่าง ๆ
  • 10. ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ ผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่ง อาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียน สามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนา บทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียน อาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล ตัว แปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของ ประเทศไทย เป็นต้น
  • 11. เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษาโดยการสร้างโปรแกรม บทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และ คาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็น การพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจ คัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เช่น การ เคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยะจักรวาล หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญ ของประเทศไทย โครงงานเกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ วิถีชีวิตของคนไทยพวน โปรแกรม ดนตรีไทยแสนสนุก โปรแกรม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต โปรแกรม สานวนไทยพาสนุก โปรแกรมฝึกอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ โปรแกรมเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ที่มา : http://oumsunipharuamsap. html
  • 12. โครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วยสร้าง งานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็นต้น สาหรับ ซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็น เครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนซอฟต์แวร์การ วาดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วย การออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่า ด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะ เป็นมาให้เพื่อพิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
  • 13. ตัวอย่าง 5 อย่าง เช่น 1.โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
  • 17. โครงงานประเภท “การทดลองทฤษฎี” โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขา ต่างๆ ซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริง และแนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบาย พร้อม ทั้งารจาลองทฤษฏีด้วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพ ภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไป ตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น การทา โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การ ทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุ แบบสามมิติ เป็นต้น
  • 18. ตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 1. การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์ 2. การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา 3. การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ 4. ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน 5. ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน 6. การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลแหล่งที่มาของข้อมูล ที่มา : http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog- post.html
  • 19. โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” เป็นโครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้าง ผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ การออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการ ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิด สร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความ ต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา สิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผู้เรียน ต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 20. ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อ ผู้ทาโครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่อ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบ ถึงรายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบ ใหม่ซึ่งประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามี การระบุข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ เลือกซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุ ข้อมูลได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบ บาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่าน บาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของสินค้าทั้งหมดที่เลือกให้อยู่ในงบประมาณที่ตั้งไว้ ระบบจะทาการแจ้งเตือน
  • 21. ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า ชื่อผู้ทา โครงงาน นายสรรเสริญ ขันทอง,นายชัยวัฒน์ ศิระวัฒนานนท์,นายทรงศักดิ์ แซ่จึง ชื่ออาจารย์ที่ ปรึกษา อาจารย์ธิดารัตน์ ต่อสุข สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับชั้น ปริญญา ตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2551 บทคัดย่อ การ ประยุกต์ใช้ ระบบบาร์โค้ดกับโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า (Shopping Helper using Barcode with Mobile Application) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึง รายละเอียดของสินค้าและค่าใช้จ่ายใน การเลือกซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง โดยการพัฒนาระบบใหม่ซึ่ง ประยุกต์ใช้การอ่านบาร์โค้ด 2 มิติด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากเดิมสินค้ามีการระบุ ข้อมูลโดยใช้บาร์โค้ด 1 มิติเท่านั้น ซึ่งปัจจุบันสินค้าแต่ละชนิดมีข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจเลือก ซื้อสินค้า จานวนมากจึงเสนอแนวคิดในการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ด 2 มิติที่สามารถบรรจุข้อมูล ได้มากขึ้น และนามาประยุกต์ใช้บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยระบบการประยุกต์ใช้ระบบบาร์โค้ดกับ โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการซื้อขายสินค้า จะใช้กล้องบนโทรศัพท์เคลื่อนที่อ่านบาร์โค้ด 2 มิติ เพื่อให้ สามารถบอกรายละเอียดของสินค้าเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า ที่มา : http://www.thaigoodview.com
  • 22. โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์” โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อ ความรู้หรือเพื่อความ เพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้น การใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบ ลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้ สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ เกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็นเกมที่ แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
  • 23. ตัวอย่างโครงงาน 1 ชื่อโครงงาน โปรแกรมประยุกต์พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประเภทMobile Application ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วรพงศ์ โรจน์เรืองมาศ , นางสาว ศุภิส รา จันทราภิสิทธิ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. รัชลิดา ลิปิกรณ์ สถาบันการศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ โปรแกรม พจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพนี้ ได้ถูกพัฒนา มาจากโปรแกรมแบบเดิมที่ผู้ใช้ต้องพิมพ์คาศัพท์โดยกดปุ่มตัวเลข เพื่อหาความหมาย เพื่อให้ผู้ใช้ สะดวกสบายในการใช้งานเพียงแค่ถ่ายภาพคาศัพท์ที่ต้องการ รวมถึงระบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย และ สามารถใช้งานได้จากที่ใดก็ได้ ทั้งนี้ยังคงมีรูปแบบการพิมพ์คาศัพท์แบบเดิมอยู่ โปรแกรมพจนานุกรมสาหรับโทรศัพท์มือถือบนพื้นฐานภาพ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของโปรแกรมบนโทรศัพท์มือถือ และส่วนเซิร์ฟเวอร์ โดยผู้ใช้สามารถคีย์หรือถ่ายภาพคาศัพท์บน โทรศัพท์มือถือ แล้วส่งคา หรือภาพถ่ายนั้นผ่านเครือข่าย ไปยังเครื่องเซิร์ฟเวอร์ โดยให้เครื่อง เซิร์ฟเวอร์ทาการวิเคราะห์ภาพคาศัพท์ออกมาเป็นตัวอักษร ด้วยหลักการการประมวลผลภาพ และหา ความหมายคาศัพท์นั้นจากฐานข้อมูลคาศัพท์จากนั้นจึงส่งความหมายของคาศัพท์กลับมายัง โทรศัพท์มือถือ
  • 24. ตัวอย่างโครงงาน 2 ชื่อโครงงาน การพัฒนา software เพื่อใช้ในการอ่าน และ simulate การ ประยุกต์ใช้ hologram กับบัตรประจาตัว ชื่อผู้ทาโครงงาน นายดาษพิช ทองนพเนื้อ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว สถาบันการศึกษา นิติระดับปริญญาตรีปีที่ 1 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ระดับชั้น ปริญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน 1/1/2541 บทคัดย่อ ปัจจุบัน ได้มีการนา hologram ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่าง ๆ มากมาย จึงได้แนวความคิดประยุกต์ laser hologram ในด้านการใช้เป็น memory หรือ data storage เพื่อใช้ในการทาบัตรประจาตัว (ID card) ขึ้น โดยอาศัยลักษณะเด่นของ hologram 360 ซึ่งสามารถให้ภาพสามมิติที่มองได้จากทุก ๆ มุมมองโดยรอบ และภาพที่ เกิดเป็นแบบ Dynamics เมื่อมีการเปลี่ยนมุมการมอง และตาแหน่ง film ลอดจนลักษณะการปลอมแปลง ของ hologram ทาได้ยากจึงนามาเก็บรักษาความปลอดภัยและความเชื่อถือได้ของบัตร งานวิจัยนี้จึงประกอบด้วยการ 1.ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ hologram 360 เพื่อนาไปประยุกต์สร้างเป็นบัตรประจาตัว 2.ออกแบบ ทดลอง และพัฒนาการสร้าง hardware ในส่วนของเครื่องสาหรับอ่านและตรวจสอบบัตร 3.พัฒนา software เพื่อทางานในด้าน pattern recognition เพื่อการอ่านและยืนยัน ( verify) บัตรสาหรับ เครื่องอ่านบัตร ตลอดจนออกแบบระบบpattern สาหรับเก็บข้อมูลบนบัตร ระบบสาหรับการอ่านและ พัฒนา software เพื่อทาการ simulate และทดลองการทางานของระบบ การอ่าน การใช้บัตร การทางานของ เครื่องอ่านบัตรและ software (program) ที่ใช้อ่าน
  • 25. การศึกษาทดลองขณะนี้เป็นการพัฒนา software ซึ่งประกอบด้วย 1. การศึกษาหลักการ ลักษณะของข้อมูล ตลอดจนการ เชื่อมโยง software และวิธีที่ใช้ในการอ่านและเก็บข้อมูลเพื่อวิธี ของ pattern recognition ที่จะนามาใช้ โดยรวมถึงการ พิจารณา tolerance ที่ย่อมรับได้ 2. ทดลองเขียน และพัฒนา software สาหรับ pattern recognition ในการอ่านบัตร 3. ทดลองเขียน และพัฒนา software เพื่อใช้ในการ simulate ผลที่ได้ จากการใช้ software ที่เขียนขึ้น การอ่าน การทา pattern recognition และระบบการใช้บัตร ฯลฯ
  • 26. 4. ทดลองทา simulation เพื่อนาผลที่ได้มาใช้ในการพัฒนา ระบบ software , hardware , และส่วนอื่น ๆ ของบัตรต่อไป ขณะนี้ในส่วนที่พัฒนา software อยู่ในขั้นตอนการศึกษา ระบบ hardware และเลือกวิธีของ pattern recognition เพื่อใช้ ในการเขียน program (หรือ พัฒนา software) รวมถึงการ ทดลอง simulate อย่างง่ายและการศึกษาการใช้ development tools ต่าง ๆ เช่น ภาษา computer , program ต่าง ๆ เพื่อ เตรียมพร้อมสาหรับการ simulate และพัฒนาด้าน software ต่อไป งานวิจัยนี้อยู่ระหว่างการดาเนินการจากหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และได้รับการตอบรับการจดทะเบียนลิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว
  • 27. ตัวอย่างโครงงาน 3 ชื่อโครงงาน Shader 3D เพื่อ การพัฒนาซอฟต์แวร์เกมส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายก ฤชวัฒน์ เวชสาร ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.วิวาราช พรแก้ว สถาบันการศึกษา โรงเรียนเทพศิริ นทร์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทาโครงงาน ไม่ระบุ บทคัดย่อ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้เข้ามามีบทบาทในงานวิจัยด้านต่าง ๆ กว่า 20 ปี ทั้งยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบันมีความใกล้ชิด และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้นเพราะการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ กราฟิกกับสาขาวิชาต่าง ๆ อานวยให้การทางานนั้นมีประสิทธิภาพ ถูกต้อง แม่นยา สะดวกและเหมาะสม ต่อการนาข้อมูลไปใช้วิเคราะห์ แก้ปัญหา และ/หรือใช้กับงานประยุกต์ที่มีความสลับซับซ้อนมาก ๆ ได้ แต่จานวนข้อมูลป้อน (Data input) ในการประมวลผล (Process) แปรผันตรงกับจานวนเวลาที่ ใช้และชุดคาสั่งมักเป็นจานวนชนิดทศนิยม (float)
  • 28. ตัวอย่างโครงงาน 4 ชื่อโครงงาน ศึกษาและพัฒนา Hand - Written OCR ชื่อผู้ทา โครงงาน นางสาวธัญญพร เรือนโรจน์รุ่ง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.สุรพันธ์ เมฆ นาวิน สถาบันการศึกษา นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรี นครสวรรค์ ระดับชั้น มัธยมปลาย หมวดวิชา คอมพิวเตอร์ วัน/เดือน/ปี ทา โครงงาน1/1/2541 บทคัดย่อ การศึกษารวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ ทา OCR (Optical Character Recognition) และรวบรวมตัวอย่าง ลายมือจากแหล่งต่างๆ เพื่อนามาศึกษาสภาพปัญหา พบปัญหาที่สาคัญ ได้แก่ ปัญหาในการตัดตัวอักษร รูปแบบของตัวอักษรที่คล้ายกันมาก เช่น ด-ค-ต , ก-ถ- ภ , ผ-ฝ-พ-ฟ การเขียน ผิดรูปซึ่งมีผลให้ตัวอักษรที่ต่างกันมีลักษณะคล้ายกัน เช่น ย-ผ , ร-ช , พ-ม และความหลากหลายของ ลายมือ ดังนั้นการจะจดจาลักษณะ ตัวอักษรแต่ละตัวได้ ควรจะเน้นที่การจดจาลักษณะร่วมหรือลักษณะเด่น ของ ตัวอักษรนั้น จากลายมือที่ต่างกัน
  • 29. โดยการพิจารณาว่าตัวอักษร คือ กราฟที่ประกอบด้วยจุดยอดและขอบที่ลากเชื่อมจุด แล้วแทนอักษรแต่ละตัวด้วยจุด แต่เกิดปัญหาว่าไม่สามารถระบุได้ชัดเจน ว่า ลักษณะของจุดนั้นจะใช้แทนตัวอักษรตัวใด จึงเพิ่มแฟกเตอร์บางอย่างเข้าไป คือ เพิ่มจานวนจุดในบริเวณ จุดตัด จุดปลายและจุดสุดขอบด้านต่าง ๆ กาหนดลาดับ ของจุด อักษรที่คล้ายกันมากและใช้ลักษณะเด่น ของตัวนั้นแทนจุดในบางตาแหน่ง ทาให้ความชัดเจนมากขึ้นและจะได้พิจารณาวิธีการอื่น ๆ เช่น การใช้อัตราส่วนของ ระยะระหว่างจุด การพิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวอักษรในการแบ่งกลุ่ม ตัวอักษรให้ เหลือตัวที่พิจารณาน้อยลง แต่เนื่องจากตัวอักษรภาษาไทยมีความ ซับซ้อนและมีรายละเอียดค่อนข้างมาก จึงมุ่งเน้นให้สามารถรู้จาตัวเลข 0-9 ให้ได้ ก่อน เพื่อนาไปใช้ในการคัดแยกจดหมาย
  • 30. เนื่องจากรูปแบบลายมือที่พบบ่อยในการเขียนตัวเลขมีไม่มากนัก เมื่อแทนตัวเลข ด้วยจุดที่มีการกาหนดลาดับ พิจารณาจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้ายของตัวเลขแล้ว ก็ สามารถแยกความแยกต่างของตัวเลขแต่ละตัวได้ค่อนข้างมาก นอกจากนี้จะใช้วิธี ต่าง ๆ มาประกอบเพื่อเพิ่มความถูกต้อง ได้แก่ การพิจารณาตาแหน่งของจุดโดยให้ ความสาคัญกับทิศทางมากกว่าระยะทาง โดยกาหนดทิศทางเพียง 8 ทิศ ถ้ามีทิศ ต่างไปจากทิศที่กาหนด จะหาว่ามีทิศใกล้เคียงกับทิศใดที่มกที่สุดและกาหนดให้เป็น ทิศนั้น พิจารณาจากจานวนจุดที่ใกล้เคียงกัน และพิจารณาจากลักษณะเด่ของ ตัวเลข ก็จะเพิ่มความถูกต้องได้ในระดับหนึ่ง สาหรับปัญหาในการอ่านตัวเลขซึ่งอาจพบได้ เช่น การเขียนตัวเลขสองตัว ติดกัน หรือการเขียนตัวเลขตัวเดียวแต่เส้นไม่ต่อเนื่องอาจทาให้เกิดความสับสนได้ และปัญหาที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือ การเขียนผิดรูปซึ่งทาให้ยากแก่การจาแนกว่า ตัวเลขตัวใด ซึ่งยังจะต้องศึกษาและพัฒนาต่อไป ที่มา : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog- post_25.html
  • 31. โดย นางสาวนันธิกา กิจปาโล เลขที่ 32 ม.6/13 นางสาวชนิภรณ์ บริสุทธิ์ เลขที่ 36 ม.6/13