SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
โทรศัพท์เคลื่อนที่
           นำเสนอ
   อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
            สมำชิก
  1.ณัฐธิดำ อดิเรกตระกำร
     2.สุพิชญำ อังสนันท์
•       โทรศัพท์เคลื่อนที่ หมายถึง ระบบโทรศัพท์ที่ผู้ใช้งานสามารถเคลื่อนที่ในขณะที่ใช้โทรศัพท์ ภายในพื้นที่
    บริการ(Coverage area) ของโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่มีอยู่หลายระบบ
    ด้วยกันสาหรับระบบแบบ NMT (Nordic Mobile Telephone System: NMT) เริ่มมีการ
    พัฒนาตั้งแต่ ค.ศ. 1970 (พ.ศ. ๒๕๑๓) โดยหน่วยปฏิบัติการวิจยเบลล์ (Bell Labs) ประเทศสหรัฐอเมริกา
                                                                  ั
    และเริ่มให้บริการในปี ค.ศ. 1981 (พ.ศ. ๒๕๒๔) โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ NMT-450 เริ่มใช้งานโดยกลุ่ม
    ประเทศสแกนดิเนเวียประกอบไปด้วย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน[๒] ได้ใช้ความถี่ในย่าน ๔๕๐
    เมกกะเฮิรตซ์ (MHz.) จึงเรียกเป็นระบบ NMT-450 แต่สาหรับประเทศไทย ได้ใช้ความถี่ในย่าน ๔๗๐
    เมกกะเฮิรตซ์ จึงเรียกเป็นระบบ NMT-470 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดทางเทคนิค เกี่ยวกับความถี่วทยุ         ิ
    ที่ใช้งานซึ่งอยู่ในย่านความถี่ ๔๗๙-๔๙๓.๕ เมกกะเฮิรตซ์ ซึ่งมีรายละเอียดบางกรณีทแตกต่างออกไป แต่
                                                                                        ี่
    อย่างไรก็ตามระบบการทางานของทั้ง NMT-450/470 โดยภาพรวมแล้วจะเหมือนกัน โทรศัพท์เคลื่อนที่
    ระบบ NMT-470 ใช้เทคนิคที่เรียกว่า เซลลูลาร์ (Cellular) ในการสร้างโครงข่ายให้บริการ
    โทรศัพท์เคลื่อนที่
           ต่อมาความนิยมในการใช้งาน ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ NMT-470 ลดน้อยลง เนื่องจากมี
    เทคโนโลยีใหม่ที่มีการอานวยความสะดวกมากกว่า มีขนาดเล็กกว่าและมีราคาเครื่องที่ถูกกว่ามาแทนที่
ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ประกอบด้วยส่วนที่
สาคัญอยู่สี่ส่วน คือ ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่
สถานีฐาน ระบบสื่อสัญญาณ และ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งมีหน้าที่การทางานของแต่
ละส่วน ดังนี้
• ชุมสำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Telephone Exchange: MTX)
         ศูนย์กลางในการดาเนินการสลับสายต่อให้ผู้ใช้ตลอดจนควบคุมระบบ ซึ่ง
  ประกอบด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ควบคุมระบบทานองเดียวกันกับชุมสายโทรศัพท์
  พื้นฐานแต่มีส่วนประกอบอื่นๆเพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อใช้เป็นชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่
  ชุมสายโทรศัพท์ชนิดนี้ เป็นชุมสาย SPC

   สถำนีฐำน (Radio Base Station (RBS): BS)
           ศูนย์กลางสาหรับรับ-ส่งสัญญาณวิทยุและแปลงสัญญาณรับ-
   ส่ง กับชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Telephone
   Exchange: MTX) ประกอบด้วยอุปกรณ์รับ-ส่งคลื่นวิทยุ
ระบบสื่อสัญญำณ (Transmission System: TS)
       ส่วนที่รวบรวมสัญญาณโทรศัพท์ รับ-ส่ง ระหว่าง
ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับสถานีฐาน ประกอบด้วยอุปกรณ์
มัลติเพล็กซ์ และอุปกรณ์วิทยุ (ไมโครเวฟ ยู เอช เอฟ หรือดาวเทียม)
หรืออุปกรณ์เคเบิล (เคเบิลทางไกล เคเบิลพีซีเอ็ม เคเบิลโคแอคเซียล
หรือเคเบิลเส้นใยนาแสง)

 เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Station: MS)
         อุปกรณ์ปลายทางที่ใช้ติดต่อโทรศัพท์สื่อสารในขณะ
 เคลื่อนที่ ประกอบด้วยอุปกรณ์โทรศัพท์ อุปกรณ์แปลงสัญญาณ
 โทรศัพท์เป็นสัญญาณวิทยุ อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณวิทยุและ
 อุปกรณ์ควบคุม
•    กำรทำงำนทำงด้ำนเทคนิค
           จากส่วนประกอบทั้งสี่ของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่จะประกอบกันขึ้นเป็นพื้นที่บริการ (Service
    Area: SA) ซึ่งแต่ละ SA จะมีชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่หนึ่งชุมสาย สามารถครอบคลุมพื้นที่บริการ
    ย่อย (Traffic Area: TA) ได้ถึง ๑๖ TA ซึ่งในแต่ละ TA สามารถที่จะมีจานวนเซลล์ (Cell) ได้
    ตั้งแต่ ๑ เซลล์ ถึง ๖๔ เซลล์ นั้นหมายความว่า ภายใน ๑ SA จะสามารถมีจานวนเซลล์ได้มากที่สุด
    ๑,๐๒๔ เซลล์ ซึ่งจานวนเซลล์นั้น ขึ้นกับความหนาแน่นของพื้นที่คิดว่าจะมีจานวนโทรศัพท์เคลื่อนที่มาก
    หรือน้อย เช่น พื้นที่มีบริษัทใหญ่ๆ ตั้งอยู่เป็นจานวนมากและมีจานวนรถยนต์หนาแน่นมาก ก็ต้องมี
    จานวนเซลล์มาก และพื้นที่รอบๆ เมืองอาจจะมีเพียงเซลล์เดียวก็เพียงพอ ส่วนสถานีฐานนั้นคือ สถานที่ๆ
    มีเครื่องรับ-ส่งวิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งสถานีฐาน ๑ สถานี อาจจะมีจานวนเซลล์ได้ ๑ เซลล์ ๒ เซลล์
    หรือ ๖ เซลล์ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้ใช้บริการในย่านธุรกิจหนึ่งๆ ส่วนจานวนสายอากาศ
    (Antenna) จะเท่ากับจานวนเซลล์ใช้งานสาหรับ Channel (CH) ภายในสถานีฐานนั้นเป็น
    อุปกรณ์วิทยุ ซึ่งจะกาหนดความถี่ให้เหมาะสมตามข้อกาหนดของระบบซึ่งนาวิธีการนาความถี่กลับมาใช้
    ใหม่ (Frequency Reused) มาใช้ ทาให้สามารถขยายวงจรได้เพิ่มขึ้น
องค์ประกอบของโครงข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่
      โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Radio Telephone Network: MTN) มีส่วนประกอบสี่ส่วนคือ พื้นที่บริการ
ย่อย สถานีฐาน เซลล์และช่องทางสื่อสาร

         ๕.๓.๑ พื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA)

        จากรูปที่ ๕.๒ พื้นที่บริการ (Service Area: SA) จะประกอบด้วยหลายๆ พื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA)
ด้วยกัน แต่ละ TA จะครอบคลุม พื้นที่หลายจังหวัด
      การกาหนดออกเป็น TA นี้ มีประโยชน์สาหรับชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในการติดตามตาแหน่งของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อใช้
เรียกตัว MS ในกรณีที่มีโทรศัพท์เข้ามาหา MS หมายเลขนั้นๆ เนื่องจาก MS สามารถเคลื่อนที่ไปไหนก็ได้ทั่วประเทศ เพราะฉะนั้น
MTX จะเก็บตาแหน่งที่อยู่ของ MS ไว้ในเทอมของ SA และ TA ซึ่งการเรียก MS แต่ละตัวจะเรียกทั้ง TA หลายๆ จังหวัดพร้อมกัน
เพราะฉะนั้นหน้าที่ของ MS คือ เมื่อรู้ตัวว่าเข้าไปอยู่ในอีก TA หนึ่งแล้วหรือตนเองได้เปลี่ยน TA แล้ว ต้องแจ้งบอก MTX ทันที เพื่อ
MTX จะได้แก้ไขข้อมูลตาแหน่งที่อยู่ของ MS หมายเลขนั้นๆ ซึ่ง MTX จะสามารถติดตามตาแหน่งที่อยู่ของ MS ได้ตลอดเวลา

         ๕.๓.๒ สถานีฐาน (Base Station)

          จากรูปที่ ๕.๒ แต่ละพื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA) แบ่งออกย่อยเป็นหลายๆ สถานีฐาน (Base Station: BS)
ได้อีก

         ๕.๓.๓ เซลล์ (Cell)
• ข้อดี
  1.ใช้สื่อสารทางไกลสื่อสารรวดเร็ว
  2.เดี๋ยวนี้มือถือทาได้เกือบทุกอย่างสื่อสาร ส่งข่าวสาร ถ่ายรูป ท่องเน็ต
  อีกเยอะ
  3.เอาไว้ฟังเพลง
  4.ใช้เป็นนาฬิกาปลุกกะเครื่องคิดเลข
  5.โทรศัพมือถือมีประโยชน์สารพัดอย่างสะดวกสบายเยอะแยะไปหมด
ข้อเสีย
  1.ทำให้เสียอำรมณ์ หำกโทรศัพท์มอถือดังในช่วงที่คุณต้องกำรควำมสงบ มีสมำธิ หรือเวลำอะไรก็ตำมที่คุณมีควำมสุข
                                   ื
                               2.ทำให้เกิดอำกำรประสำทหลอน ว่ำได้ยินเสียงโทรเข้ำมำ
                     3.ทำให้เกิดอำชญำกรรมอันถึงแก่ชีวิตได้ หำกโทรศัพท์ของคุณสะดุดเข้ำตำโจร
4.ทำให้อำรมณ์รอนของคุณ มีควำมรุนแรงมำกยิ่งขึ้น เพรำะคุณจะใช้กำรโทรศัพท์ในกำรเติมเชื้อไฟ มำกว่ำจะอยู่กบตัวเอง
                  ้                                                                                        ั
                                                  ทบทวนปัญหำ
               5.ทำให้คุณโกหกมำกยิงขึ้น เช่น หำกแฟนถำมว่ำอยู่ใหน คงไม่มีใครตอบตรงๆว่ำอยู่กับกิ๊ก
                                     ่
              6.ทำให้สมองของคุณ ฟ่อลง คุณจะพึงพำควำมจำของเครื่องโทรศัพท์แทน เช่น เบอร์โทรต่ำงๆ
      7.ทำให้สงคมของคุณ แคบลง เพรำะเมือคุณหลงทำง คุณคงโทรหำเพือน มำกกว่ำที่จะถำม คนข้ำงๆที่ไม่รู้จัก
                ั                           ่                         ่
          8.ทำให้เป็นภำระทำงใจ เช่นกลัวว่ำจะหำย กลัวจะลืมไว้บ้ำน กลัวพัง กลัวหล่น กลัวตกรุ่น กลัว.........
                                 9.ทำให้เป็นภำระทำงกำรเงิน ต้องหำเงินมำจ่ำยค่ำโทร
                                  10.ทำให้คุณสูญเสีย อวัยวะได้ หำกใช้แบตฯปลอม
คำถำม
1.ยกตัวอย่างส่วนประกอบของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่
   ตอบ ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ สถานีฐาน ระบบสื่อสัญญาณ
   และโทรศัพท์เคลื่อนที่

2.โทรศัพท์เคลื่อนที่เริ่มใช้งานในกลุ่มประเทศอะไร

     ตอบ สแกนดิเนเวีย

 3.บอกข้อดีของโทรศัพท์เคลื่อนที่
4. บอกข้อเสียของโทรศัพท์เคลื่อนที่

5.ระบบสื่อสัญญาณคืออะไร
  ตอบ ส่วนที่รวบรวมสัญญาณโทรศัพท์ รับ-ส่ง ระหว่าง
  ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับสถานีฐาน ประกอบด้วยอุปกรณ์
  มัลติเพล็กซ์ และอุปกรณ์วิทยุ (ไมโครเวฟ ยู เอช เอฟ หรือ
  ดาวเทียม) หรืออุปกรณ์เคเบิล (เคเบิลทางไกล เคเบิลพีซีเอ็ม
  เคเบิลโคแอคเซียล หรือเคเบิลเส้นใยนาแสง)
แหล่งอ้ำงอิง
• http://www.thaitelecomkm.org/TTE/topic/att
  ach/470MHz_Cellular_Mobile_Telephone_Sys
  tem/index.php

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
Ni Aslan
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ต
Ployko Stawbery
 
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
Alongkorn WP
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
ศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
Jane Janjira
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
Samorn Tara
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
Nattakorn Sunkdon
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
FURD_RSU
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
Rapheephan Phola
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Nattapon
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 

What's hot (20)

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียน เรื่องการไม่ส่งการบ้าน
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ต
 
Part 2 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา
Part 2 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกาPart 2 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา
Part 2 ปัญหาความขัดแย้งในศรีลังกา
 
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
สรุปผลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ระดับภาคใต้
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัยโครงงานสวมหมวกนิรภัย
โครงงานสวมหมวกนิรภัย
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
 
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้องโครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
โครงการ ปันน้ำใจเพื่อน้อง
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบงานที่ 8-1 คุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 

Viewers also liked

โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
Ykk'Famemy Jackson
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
LPRU
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
Tatthep Deesukon
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Oui Nuchanart
 

Viewers also liked (6)

โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
โครงการแบรนด์ ซัมเมอร์ แคมป์ ปีที่ 25
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 

Similar to โทรศัพท์เคลื่อนที่(ณัฐธิดา+สุพิชญา)404

โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
Kanit Jompuk
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
thararut
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
Peak Olan
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
Pokypoky Leonardo
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
paween
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
ยิ้ม' เเฉ่ง
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
Piyawan
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่
Bell Unarat
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
Way Tan
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
0833592360
 

Similar to โทรศัพท์เคลื่อนที่(ณัฐธิดา+สุพิชญา)404 (20)

คำถาม O net
คำถาม O netคำถาม O net
คำถาม O net
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
โทรศัพท์เคลื่อนที่(คณิต+จิรายุ)402
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Jammer
JammerJammer
Jammer
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ทดลอง
ทดลองทดลอง
ทดลอง
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
โทรศัพท์เคลื่อนที่(ภวิศณัฏฐ์ ปัญญ์)406
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ Digital gsm 900
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
 
เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9เทอม 1 คาบ 9
เทอม 1 คาบ 9
 
Network
NetworkNetwork
Network
 

โทรศัพท์เคลื่อนที่(ณัฐธิดา+สุพิชญา)404

  • 1. โทรศัพท์เคลื่อนที่ นำเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก 1.ณัฐธิดำ อดิเรกตระกำร 2.สุพิชญำ อังสนันท์
  • 2. โทรศัพท์เคลื่อนที่ หมายถึง ระบบโทรศัพท์ที่ผู้ใช้งานสามารถเคลื่อนที่ในขณะที่ใช้โทรศัพท์ ภายในพื้นที่ บริการ(Coverage area) ของโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่มีอยู่หลายระบบ ด้วยกันสาหรับระบบแบบ NMT (Nordic Mobile Telephone System: NMT) เริ่มมีการ พัฒนาตั้งแต่ ค.ศ. 1970 (พ.ศ. ๒๕๑๓) โดยหน่วยปฏิบัติการวิจยเบลล์ (Bell Labs) ประเทศสหรัฐอเมริกา ั และเริ่มให้บริการในปี ค.ศ. 1981 (พ.ศ. ๒๕๒๔) โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ NMT-450 เริ่มใช้งานโดยกลุ่ม ประเทศสแกนดิเนเวียประกอบไปด้วย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน[๒] ได้ใช้ความถี่ในย่าน ๔๕๐ เมกกะเฮิรตซ์ (MHz.) จึงเรียกเป็นระบบ NMT-450 แต่สาหรับประเทศไทย ได้ใช้ความถี่ในย่าน ๔๗๐ เมกกะเฮิรตซ์ จึงเรียกเป็นระบบ NMT-470 เพื่อให้สอดคล้องกับข้อกาหนดทางเทคนิค เกี่ยวกับความถี่วทยุ ิ ที่ใช้งานซึ่งอยู่ในย่านความถี่ ๔๗๙-๔๙๓.๕ เมกกะเฮิรตซ์ ซึ่งมีรายละเอียดบางกรณีทแตกต่างออกไป แต่ ี่ อย่างไรก็ตามระบบการทางานของทั้ง NMT-450/470 โดยภาพรวมแล้วจะเหมือนกัน โทรศัพท์เคลื่อนที่ ระบบ NMT-470 ใช้เทคนิคที่เรียกว่า เซลลูลาร์ (Cellular) ในการสร้างโครงข่ายให้บริการ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ต่อมาความนิยมในการใช้งาน ของโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ NMT-470 ลดน้อยลง เนื่องจากมี เทคโนโลยีใหม่ที่มีการอานวยความสะดวกมากกว่า มีขนาดเล็กกว่าและมีราคาเครื่องที่ถูกกว่ามาแทนที่
  • 3. ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ประกอบด้วยส่วนที่ สาคัญอยู่สี่ส่วน คือ ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ สถานีฐาน ระบบสื่อสัญญาณ และ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งมีหน้าที่การทางานของแต่ ละส่วน ดังนี้
  • 4. • ชุมสำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Telephone Exchange: MTX) ศูนย์กลางในการดาเนินการสลับสายต่อให้ผู้ใช้ตลอดจนควบคุมระบบ ซึ่ง ประกอบด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ควบคุมระบบทานองเดียวกันกับชุมสายโทรศัพท์ พื้นฐานแต่มีส่วนประกอบอื่นๆเพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อใช้เป็นชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ชุมสายโทรศัพท์ชนิดนี้ เป็นชุมสาย SPC สถำนีฐำน (Radio Base Station (RBS): BS) ศูนย์กลางสาหรับรับ-ส่งสัญญาณวิทยุและแปลงสัญญาณรับ- ส่ง กับชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Telephone Exchange: MTX) ประกอบด้วยอุปกรณ์รับ-ส่งคลื่นวิทยุ
  • 5. ระบบสื่อสัญญำณ (Transmission System: TS) ส่วนที่รวบรวมสัญญาณโทรศัพท์ รับ-ส่ง ระหว่าง ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับสถานีฐาน ประกอบด้วยอุปกรณ์ มัลติเพล็กซ์ และอุปกรณ์วิทยุ (ไมโครเวฟ ยู เอช เอฟ หรือดาวเทียม) หรืออุปกรณ์เคเบิล (เคเบิลทางไกล เคเบิลพีซีเอ็ม เคเบิลโคแอคเซียล หรือเคเบิลเส้นใยนาแสง) เครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Station: MS) อุปกรณ์ปลายทางที่ใช้ติดต่อโทรศัพท์สื่อสารในขณะ เคลื่อนที่ ประกอบด้วยอุปกรณ์โทรศัพท์ อุปกรณ์แปลงสัญญาณ โทรศัพท์เป็นสัญญาณวิทยุ อุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณวิทยุและ อุปกรณ์ควบคุม
  • 6. กำรทำงำนทำงด้ำนเทคนิค จากส่วนประกอบทั้งสี่ของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่จะประกอบกันขึ้นเป็นพื้นที่บริการ (Service Area: SA) ซึ่งแต่ละ SA จะมีชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่หนึ่งชุมสาย สามารถครอบคลุมพื้นที่บริการ ย่อย (Traffic Area: TA) ได้ถึง ๑๖ TA ซึ่งในแต่ละ TA สามารถที่จะมีจานวนเซลล์ (Cell) ได้ ตั้งแต่ ๑ เซลล์ ถึง ๖๔ เซลล์ นั้นหมายความว่า ภายใน ๑ SA จะสามารถมีจานวนเซลล์ได้มากที่สุด ๑,๐๒๔ เซลล์ ซึ่งจานวนเซลล์นั้น ขึ้นกับความหนาแน่นของพื้นที่คิดว่าจะมีจานวนโทรศัพท์เคลื่อนที่มาก หรือน้อย เช่น พื้นที่มีบริษัทใหญ่ๆ ตั้งอยู่เป็นจานวนมากและมีจานวนรถยนต์หนาแน่นมาก ก็ต้องมี จานวนเซลล์มาก และพื้นที่รอบๆ เมืองอาจจะมีเพียงเซลล์เดียวก็เพียงพอ ส่วนสถานีฐานนั้นคือ สถานที่ๆ มีเครื่องรับ-ส่งวิทยุโทรศัพท์เคลื่อนที่ ซึ่งสถานีฐาน ๑ สถานี อาจจะมีจานวนเซลล์ได้ ๑ เซลล์ ๒ เซลล์ หรือ ๖ เซลล์ ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้ใช้บริการในย่านธุรกิจหนึ่งๆ ส่วนจานวนสายอากาศ (Antenna) จะเท่ากับจานวนเซลล์ใช้งานสาหรับ Channel (CH) ภายในสถานีฐานนั้นเป็น อุปกรณ์วิทยุ ซึ่งจะกาหนดความถี่ให้เหมาะสมตามข้อกาหนดของระบบซึ่งนาวิธีการนาความถี่กลับมาใช้ ใหม่ (Frequency Reused) มาใช้ ทาให้สามารถขยายวงจรได้เพิ่มขึ้น
  • 7. องค์ประกอบของโครงข่ำยโทรศัพท์เคลื่อนที่ โครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ (Mobile Radio Telephone Network: MTN) มีส่วนประกอบสี่ส่วนคือ พื้นที่บริการ ย่อย สถานีฐาน เซลล์และช่องทางสื่อสาร ๕.๓.๑ พื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA) จากรูปที่ ๕.๒ พื้นที่บริการ (Service Area: SA) จะประกอบด้วยหลายๆ พื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA) ด้วยกัน แต่ละ TA จะครอบคลุม พื้นที่หลายจังหวัด การกาหนดออกเป็น TA นี้ มีประโยชน์สาหรับชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในการติดตามตาแหน่งของเครื่องโทรศัพท์เคลื่อนที่ เพื่อใช้ เรียกตัว MS ในกรณีที่มีโทรศัพท์เข้ามาหา MS หมายเลขนั้นๆ เนื่องจาก MS สามารถเคลื่อนที่ไปไหนก็ได้ทั่วประเทศ เพราะฉะนั้น MTX จะเก็บตาแหน่งที่อยู่ของ MS ไว้ในเทอมของ SA และ TA ซึ่งการเรียก MS แต่ละตัวจะเรียกทั้ง TA หลายๆ จังหวัดพร้อมกัน เพราะฉะนั้นหน้าที่ของ MS คือ เมื่อรู้ตัวว่าเข้าไปอยู่ในอีก TA หนึ่งแล้วหรือตนเองได้เปลี่ยน TA แล้ว ต้องแจ้งบอก MTX ทันที เพื่อ MTX จะได้แก้ไขข้อมูลตาแหน่งที่อยู่ของ MS หมายเลขนั้นๆ ซึ่ง MTX จะสามารถติดตามตาแหน่งที่อยู่ของ MS ได้ตลอดเวลา ๕.๓.๒ สถานีฐาน (Base Station) จากรูปที่ ๕.๒ แต่ละพื้นที่บริการย่อย (Traffic Area: TA) แบ่งออกย่อยเป็นหลายๆ สถานีฐาน (Base Station: BS) ได้อีก ๕.๓.๓ เซลล์ (Cell)
  • 8. • ข้อดี 1.ใช้สื่อสารทางไกลสื่อสารรวดเร็ว 2.เดี๋ยวนี้มือถือทาได้เกือบทุกอย่างสื่อสาร ส่งข่าวสาร ถ่ายรูป ท่องเน็ต อีกเยอะ 3.เอาไว้ฟังเพลง 4.ใช้เป็นนาฬิกาปลุกกะเครื่องคิดเลข 5.โทรศัพมือถือมีประโยชน์สารพัดอย่างสะดวกสบายเยอะแยะไปหมด
  • 9. ข้อเสีย 1.ทำให้เสียอำรมณ์ หำกโทรศัพท์มอถือดังในช่วงที่คุณต้องกำรควำมสงบ มีสมำธิ หรือเวลำอะไรก็ตำมที่คุณมีควำมสุข ื 2.ทำให้เกิดอำกำรประสำทหลอน ว่ำได้ยินเสียงโทรเข้ำมำ 3.ทำให้เกิดอำชญำกรรมอันถึงแก่ชีวิตได้ หำกโทรศัพท์ของคุณสะดุดเข้ำตำโจร 4.ทำให้อำรมณ์รอนของคุณ มีควำมรุนแรงมำกยิ่งขึ้น เพรำะคุณจะใช้กำรโทรศัพท์ในกำรเติมเชื้อไฟ มำกว่ำจะอยู่กบตัวเอง ้ ั ทบทวนปัญหำ 5.ทำให้คุณโกหกมำกยิงขึ้น เช่น หำกแฟนถำมว่ำอยู่ใหน คงไม่มีใครตอบตรงๆว่ำอยู่กับกิ๊ก ่ 6.ทำให้สมองของคุณ ฟ่อลง คุณจะพึงพำควำมจำของเครื่องโทรศัพท์แทน เช่น เบอร์โทรต่ำงๆ 7.ทำให้สงคมของคุณ แคบลง เพรำะเมือคุณหลงทำง คุณคงโทรหำเพือน มำกกว่ำที่จะถำม คนข้ำงๆที่ไม่รู้จัก ั ่ ่ 8.ทำให้เป็นภำระทำงใจ เช่นกลัวว่ำจะหำย กลัวจะลืมไว้บ้ำน กลัวพัง กลัวหล่น กลัวตกรุ่น กลัว......... 9.ทำให้เป็นภำระทำงกำรเงิน ต้องหำเงินมำจ่ำยค่ำโทร 10.ทำให้คุณสูญเสีย อวัยวะได้ หำกใช้แบตฯปลอม
  • 10. คำถำม 1.ยกตัวอย่างส่วนประกอบของระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตอบ ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ สถานีฐาน ระบบสื่อสัญญาณ และโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2.โทรศัพท์เคลื่อนที่เริ่มใช้งานในกลุ่มประเทศอะไร ตอบ สแกนดิเนเวีย 3.บอกข้อดีของโทรศัพท์เคลื่อนที่
  • 11. 4. บอกข้อเสียของโทรศัพท์เคลื่อนที่ 5.ระบบสื่อสัญญาณคืออะไร ตอบ ส่วนที่รวบรวมสัญญาณโทรศัพท์ รับ-ส่ง ระหว่าง ชุมสายโทรศัพท์เคลื่อนที่ กับสถานีฐาน ประกอบด้วยอุปกรณ์ มัลติเพล็กซ์ และอุปกรณ์วิทยุ (ไมโครเวฟ ยู เอช เอฟ หรือ ดาวเทียม) หรืออุปกรณ์เคเบิล (เคเบิลทางไกล เคเบิลพีซีเอ็ม เคเบิลโคแอคเซียล หรือเคเบิลเส้นใยนาแสง)
  • 12. แหล่งอ้ำงอิง • http://www.thaitelecomkm.org/TTE/topic/att ach/470MHz_Cellular_Mobile_Telephone_Sys tem/index.php