SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
8. โทรศัพท์เคลื่อนที่

                  เสนอ
          อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร

                  สมาชิก

1.นาย อัครเดช โอฬารศิริศักดิ์ ม.4/5 เลขที่30
  2.นาย บุญรักษา บุนปาน ม.4/5 เลขที่37
โทรศัพท์มอถือ หรือ โทรศัพท์เคลือนที่ คืออุปกรณ์ทีใช้ในการ
            ื                    ่                 ่
สื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อ
กับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่าย
ของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่าย
ของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการ
อื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะ
คอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐาน
ของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่
เพิ่มขึ้นมา เช่น ปฏิทิน นาฬิกาปลุก เกม การใช้งาน
อินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ
เสาสัญญาณโทรศัพท์

การจะทาให้โทรศัพท์ส่งข้อมูลต่างๆนั้นต้องผ่าน
ระบบเครือข่าย ที่เชื่อมต่ออยู่ ถ้าอยู่ในที่ๆห่างไกล
เสาสัญญาณ หรือห่างกว่า20 กม. จะมีสัญญาณ
ขัดข้อง และไม่สามารถเชื่อมต่ออะไรได้เลย

                                                      ถ้าที่พักอาศัยอยู่ใกล้เสาส่ง
                                                      สัญญาณน้อยกว่า400เมตร
                                                      จะเกิดอาการวิงเวียน และถ้า
                                                      อยู่นานเกิน 5ปีจะเกิดมะเร็ง
ตัวอย่าง โทรศัพท์ทสื่อสารทางไกล หรือ โทรศัพท์เชื่อมต่อระบบดาวเทียม
                   ี่

                                      เป็นโทรศัพท์ประเภทมีเสาส่งสัญญาณ
Isat Phone Pro.USA                    อยู่ในตัวจึงมีตัวเครื่องที่หนา หนัก แต่
                                      สามารถโทรไปโดยไม่ต้องผ่านเครือข่าย
                                      จึงเหมาะกับการประชุมลับ หรือ ใช้
                      เสาสัญญาณ       เป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อเครือข่าย
                                      ภาครัฐ จึงต้องมีการควบคุมอุปกรณ์
                                      ประเภทนี้อย่างเข้มงวด ส่วนมาก
                                      จะใช้คลื่นความถี่ 2.4 GHz
ส่วนประกอบในมือถือ
1) ตัวเครื่อง ประกอบด้วย แผงวงจร สังกะสี จอผลึกเหลว (LCD) ส่วนประกอบของผลึกเหลวนั้นมี
หลายชนิดและมีระดับความอันตรายที่แตกต่างกัน ลาโพงและไมโครโฟน หน้ากากหรือส่วนห่อหุ้มของ
โทรศัพท์ หรือเป็นส่วนผสมของสารทั้งสองชนิด แผ่นปุ่มกด และตัวนาสัญญาณ

(2) เครื่องแปลงแรงดันไฟฟ้าเพื่อใช้อดไฟแบตเตอรี่ พบว่ามีสวนประกอบหลักเป็นลวดทองแดงที่มี
                                   ั                    ่
พลาสติกหุ้ม และส่วนประกอบอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อยคือ ทองคา แคดเมียม และตัวทนไฟ

(3) แหล่งพลังงาน/แบตเตอรี่ ซึ่งโดยทัวไปจะเป็นแบบที่สามารถอัดเก็บประจุใหม่ได้ ซึ่งได้แก่ ชนิด
                                    ่
นิกเกิล-แคดเมียม ชนิดนิกเกิล-เหล็ก และชนิดนิกเกิล-โลหะไฮไดรด์ จนมาถึงรุ่นปัจจุบนซึ่งนิยมใช้
                                                                                 ั
แบตเตอรีชนิดลิเทียม-ไอออน ซึ่งสามารถประจุไฟฟ้าได้มากกว่า และสามารถชาร์จไฟได้ในขณะที่ยังมีไฟ
         ่
อยู่
ประเภทหน้าจอของโทรศัพท์มือถือ
-TFT LCD หน้าจอที่เราคงคุ้นเคยกันมาก
พอสมควร เพราะมีลักษณะเดียวกันกับหน้า
จอคอมพิวเตอร์ของเรา




-S-LCD พัฒนาต่อยอดมาจาก TFTให้ความสว่าง
สีสรรที่สวยงามมากว่า ส่วนตัวก็ใช้โทรศัพท์มือถือทีใช้
                                                 ่
หน้าจอแบบนี้เหมือนกัน ก็คมชัดและสีสวยมากกว่า
ปกติทั่วไป
Super AMOLED PLUS เพิ่มความ
จัดจ้านของสีสันให้มากขึ้น สาหรับโทรศัพท์ที่
ใช้นั่นก็คือ Samsung Galaxy S II




                                       Super AMOLED หน้าจอที่ทาง
                                       Samsung พัฒนาขึ้นมา ดังจะเห็นได้จาก
                                       โทรศัพท์มือถือ Samsung Galaxy Skin
                                       Nokia Aeonข้อดีคอ ดัดงออย่างอิสระได้โดย
                                                            ื
                                       ไม่พัง สามารถดัดเป็นนาฬิกาข้อมือได้
-AMOLED เป็นหน้าจอที่มีการกล่าวขานกันมากที่สุดอย่างหนึ่งในปัจจุบัน เพราะ
ให้สีสรรของภาพและตัวอักษรได้คมชัดมาก ซึ่ง AMOLED นี้ มีการพัฒนาต่อยอด
มาจาก OLED จุดเดนหน้าหน้าจอแบบนี้ คือเรื่องความสว่าง ซึ่งเป็นเทคโนโลนีที่ไม่
ต้องใช้ไฟ Back Light ส่องสว่างจากด้านหลัง เพราะตัวมันเองมีแสงในตัว
ผลสรุปที่ได้คือ ทาให้หน้าจอบางลง




                                           -IPS LCD เน้นเรื่องมุมมองในการมองเห็น
                                           แต่ยังคงสีสรรที่คมชัด ชื่อนี้อาจไม่คุ้นเท่าไหร่
                                           สาหรับใครหลายๆ คน ว่ากันว่า หน้าจอแบบนี้
                                           ให้ความสว่างมากที่สุดในโลกเลยทีเดียว ใคร
                                           เชื่อหรือไม่ ต้องไปพิสูจน์กันเองน่ะครับ
อ้างอิง



-http://www.google.co.th/imgres?q=amoled&um=1&hl=th&sa
-http://www.siamphone.com/spec/apple/
-http://www.siamphone.com/spec/samsung/
-http://www.techmoblog.com/catalog/smartphone/
-หนังสือ On mobile

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

Ramadhan s aziz ix b
Ramadhan s aziz ix bRamadhan s aziz ix b
Ramadhan s aziz ix b
 
Blizko presentation
Blizko presentationBlizko presentation
Blizko presentation
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 
Lab 1 and_2
Lab 1 and_2Lab 1 and_2
Lab 1 and_2
 
Blood typing lab
Blood typing labBlood typing lab
Blood typing lab
 
Own It - Old Navy
Own It - Old NavyOwn It - Old Navy
Own It - Old Navy
 

Similar to โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405

ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์jansaowapa
 
Smartphone กับ เด็กทับแก้ว
Smartphone กับ เด็กทับแก้วSmartphone กับ เด็กทับแก้ว
Smartphone กับ เด็กทับแก้วyukimoomai
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่Bell Unarat
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดnoooom
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Noppanut Bany
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404ณัชชา เอื้อนฤมลสุข
 

Similar to โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405 (20)

ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Smartphone กับ เด็กทับแก้ว
Smartphone กับ เด็กทับแก้วSmartphone กับ เด็กทับแก้ว
Smartphone กับ เด็กทับแก้ว
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์เคลื่อนที่
โทรศัพท์เคลื่อนที่
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
Fiber optic(นพณัฐ เจตนันท์)407
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 10 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
สายไฟเบอร์ออฟติก(ณัชชา+กวิสรา+ศิรภัสสร)404
 

โทรศัพท์เคลื่อนที่(อัครเดช+บุญรักษา)405

  • 1. 8. โทรศัพท์เคลื่อนที่ เสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1.นาย อัครเดช โอฬารศิริศักดิ์ ม.4/5 เลขที่30 2.นาย บุญรักษา บุนปาน ม.4/5 เลขที่37
  • 2. โทรศัพท์มอถือ หรือ โทรศัพท์เคลือนที่ คืออุปกรณ์ทีใช้ในการ ื ่ ่ สื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อ กับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่าย ของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่าย ของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการ อื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะ คอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ตโฟน โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐาน ของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่ เพิ่มขึ้นมา เช่น ปฏิทิน นาฬิกาปลุก เกม การใช้งาน อินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ
  • 3. เสาสัญญาณโทรศัพท์ การจะทาให้โทรศัพท์ส่งข้อมูลต่างๆนั้นต้องผ่าน ระบบเครือข่าย ที่เชื่อมต่ออยู่ ถ้าอยู่ในที่ๆห่างไกล เสาสัญญาณ หรือห่างกว่า20 กม. จะมีสัญญาณ ขัดข้อง และไม่สามารถเชื่อมต่ออะไรได้เลย ถ้าที่พักอาศัยอยู่ใกล้เสาส่ง สัญญาณน้อยกว่า400เมตร จะเกิดอาการวิงเวียน และถ้า อยู่นานเกิน 5ปีจะเกิดมะเร็ง
  • 4. ตัวอย่าง โทรศัพท์ทสื่อสารทางไกล หรือ โทรศัพท์เชื่อมต่อระบบดาวเทียม ี่ เป็นโทรศัพท์ประเภทมีเสาส่งสัญญาณ Isat Phone Pro.USA อยู่ในตัวจึงมีตัวเครื่องที่หนา หนัก แต่ สามารถโทรไปโดยไม่ต้องผ่านเครือข่าย จึงเหมาะกับการประชุมลับ หรือ ใช้ เสาสัญญาณ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อเครือข่าย ภาครัฐ จึงต้องมีการควบคุมอุปกรณ์ ประเภทนี้อย่างเข้มงวด ส่วนมาก จะใช้คลื่นความถี่ 2.4 GHz
  • 5. ส่วนประกอบในมือถือ 1) ตัวเครื่อง ประกอบด้วย แผงวงจร สังกะสี จอผลึกเหลว (LCD) ส่วนประกอบของผลึกเหลวนั้นมี หลายชนิดและมีระดับความอันตรายที่แตกต่างกัน ลาโพงและไมโครโฟน หน้ากากหรือส่วนห่อหุ้มของ โทรศัพท์ หรือเป็นส่วนผสมของสารทั้งสองชนิด แผ่นปุ่มกด และตัวนาสัญญาณ (2) เครื่องแปลงแรงดันไฟฟ้าเพื่อใช้อดไฟแบตเตอรี่ พบว่ามีสวนประกอบหลักเป็นลวดทองแดงที่มี ั ่ พลาสติกหุ้ม และส่วนประกอบอื่นๆ ในปริมาณเล็กน้อยคือ ทองคา แคดเมียม และตัวทนไฟ (3) แหล่งพลังงาน/แบตเตอรี่ ซึ่งโดยทัวไปจะเป็นแบบที่สามารถอัดเก็บประจุใหม่ได้ ซึ่งได้แก่ ชนิด ่ นิกเกิล-แคดเมียม ชนิดนิกเกิล-เหล็ก และชนิดนิกเกิล-โลหะไฮไดรด์ จนมาถึงรุ่นปัจจุบนซึ่งนิยมใช้ ั แบตเตอรีชนิดลิเทียม-ไอออน ซึ่งสามารถประจุไฟฟ้าได้มากกว่า และสามารถชาร์จไฟได้ในขณะที่ยังมีไฟ ่ อยู่
  • 6. ประเภทหน้าจอของโทรศัพท์มือถือ -TFT LCD หน้าจอที่เราคงคุ้นเคยกันมาก พอสมควร เพราะมีลักษณะเดียวกันกับหน้า จอคอมพิวเตอร์ของเรา -S-LCD พัฒนาต่อยอดมาจาก TFTให้ความสว่าง สีสรรที่สวยงามมากว่า ส่วนตัวก็ใช้โทรศัพท์มือถือทีใช้ ่ หน้าจอแบบนี้เหมือนกัน ก็คมชัดและสีสวยมากกว่า ปกติทั่วไป
  • 7. Super AMOLED PLUS เพิ่มความ จัดจ้านของสีสันให้มากขึ้น สาหรับโทรศัพท์ที่ ใช้นั่นก็คือ Samsung Galaxy S II Super AMOLED หน้าจอที่ทาง Samsung พัฒนาขึ้นมา ดังจะเห็นได้จาก โทรศัพท์มือถือ Samsung Galaxy Skin Nokia Aeonข้อดีคอ ดัดงออย่างอิสระได้โดย ื ไม่พัง สามารถดัดเป็นนาฬิกาข้อมือได้
  • 8. -AMOLED เป็นหน้าจอที่มีการกล่าวขานกันมากที่สุดอย่างหนึ่งในปัจจุบัน เพราะ ให้สีสรรของภาพและตัวอักษรได้คมชัดมาก ซึ่ง AMOLED นี้ มีการพัฒนาต่อยอด มาจาก OLED จุดเดนหน้าหน้าจอแบบนี้ คือเรื่องความสว่าง ซึ่งเป็นเทคโนโลนีที่ไม่ ต้องใช้ไฟ Back Light ส่องสว่างจากด้านหลัง เพราะตัวมันเองมีแสงในตัว ผลสรุปที่ได้คือ ทาให้หน้าจอบางลง -IPS LCD เน้นเรื่องมุมมองในการมองเห็น แต่ยังคงสีสรรที่คมชัด ชื่อนี้อาจไม่คุ้นเท่าไหร่ สาหรับใครหลายๆ คน ว่ากันว่า หน้าจอแบบนี้ ให้ความสว่างมากที่สุดในโลกเลยทีเดียว ใคร เชื่อหรือไม่ ต้องไปพิสูจน์กันเองน่ะครับ