SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
เพื่อการบริการยุคสังคมฐานความรู


    ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษ
           เนคเทค/สวทช
        27 กรกฎาคม 25523
นิยามและวิวัฒนาการของ
สังคมสารสนเทศ:สื่อและสื่อผสม
สังคมความรู


• สังคมความรู หมายถึง
  สังคมซึ่งใชความรูเปน
  ทรัพยากรหลักในการผลิต
  แทนการใชทรัพยากรเงิน
  และแรงงานอยางในอดีต
• สังคมความรู “สราง
  แบงปนและใชความรูเพื่อ
  ความเจริญรุงเรืองและ
              
  ความเปนอยูที่ดีของ
                
  ประชาชน”


wikipedia
สื่อดิจทัล
        ิ
• สื่อ (media) หมายถึงหนวยเก็บ (storage) และชองรับสงขอมูล (transmission
  channels) หรือเครื่องมือที่ใชในการเก็บและสงขอมูล
• สื่อดิจิทัล หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทํางานกับขอมูลดิจิทัล
  (หมายเหตุ: คําวาสื่อคําเดียวกันนี้ บางครั้งก็ใชในความหมายของสื่อมวลชนหรือ
  สื่อขาว)



สื่อผสม (multimedia)
• หมายถึง สือและสาระทีมี
              ่            ่
    หลายรูปแบบรวมกัน
• สือผสมจะรวมอักษร เสียง
     ่
    ภาพนิ่ง แอนนิเมชัน วิดีโอ
    และสาระที่สามารถ
    ปฏิสมพันธได
        ั
wikipedia
ยุคเริ่มตนของการเขียน




 • อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมักเบียร
                                                             ชิ้นสวนกระดาษปาปรสในคริส
                                                                                  ั
 • หลักฐานที่แสดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัยใน
   ประเทศเมโซโปเตเมีย (ปจจุบันเปนสวนหนึงของ
                                           ่                 ศตวรรษที่ 4 ซึ่งมีขอความ
   อิรก) เมื่อ 3200 ปกอนคริสตกาล เปน
      ั                                                      อักขระยิวเปนบทสวดที่ 89: 4-7
   ชนชาติแรกที่รูจกการเขียน
                   ั                                         ในคัมภีรไบเบิลฉบับเกา




 Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers
 By JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999

 http://www.virtual-egypt.com
ภาพวาดฝาผนัง
กอนประวัติศาสตร




• ถ้ํา Lascaux อยูทางตะวันตกเฉียงใตของฝรั่งเศส
• ภาพบนฝาถ้ํายุคหิน(15,000-10,000 กอน             • ถ้ํา Magura อยูทางตะวันตกเฉียง
                                                                      
  คริสตกาล) กวา 2,000 ภาพซึ่งสามารถแบงออกเปน
                                                     เหนือของบุลกาเรียหางจากเมือง
  3กลุมไดแก - ภาพสัตว ภาพมนุษยและสัญลักษณ
  จิตนาการ (abstract signs)                          หลวงโซเฟย 180 กม.
                                                   • ภาพวาดแสดงผูหญิงและชาย สัตว
                                                     ตนไม เครื่องมือ ดวงดาวและดวง
                                                     อาทิตย กอนยุคบรอนซ(3,000 ป
                                                     กอนคริสตกาล)


 http://www.oddee.com/item_93915.aspx
ยุคแหงการพิมพหนังสือ




  โยฮัน กูเต็นเบิร
  (ค.ศ.1400 -1468),        แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรได
  ชาวเยอรมันผูประดิษฐ   ของกูเต็นเบิรก                คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก
  เครื่องพิมพ




   • คัมภีรไบเบิลทีพิมพดวยเครื่องพิมพกเต็นเบิรก ระหวาง
                    ่                      ู        
     ค.ศ. 1454-1455 เปนสัญลักษณทบงถึงการเริมตน “ยุค
                                        ่ี            ่
     แหงการพิมพหนังสือ” (ตนฉบับยังเก็บไวทLibrary of
                                                 ี่
     Congress, US)
ไปรษณีย: ยุคแรกของการสื่อสาร

นับจนปจจุบันกระดาษได
กลายมาเปน
(1) สื่อในการบันทึกชวยจําของ
มนุษยเชนตําราเปนตน ชวยเปน
แหลงเก็บ (storage)
(2) สื่อกลางในการสื่อสาร
ลักษณะของไปรษณียอีกดวย


                                  modern
                                  mail
หนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook): Kindle DX
(6 May 2009)



     Amazon today unveiled a new,
     larger version of its Kindle ebook
     reader, which is aimed at
     students – and heralded as a
     potential saviour by some parts
     of the newspaper industry.
     (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 )    ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวา
                                                หนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายป
                                                ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009)
                                                    วางขายราว
  • วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาใน            • ผูซ้อสามารถเขาถึง 60% ของตําราเรียน
                                                      ื
    ราคา $489                                    ของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ
  • ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ              Cangage
  • จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม (ซึ่ง      • ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู
    แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เทา            ประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของ
  • สามารถบรรจุหนังสือ 3,500 เลม                New York Times, Washington Post
  • แสดงไฟลและสารคดีท่เคยแสดงบน
                         ี                       และBoston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดาน
    PCไดดวย                                    ธุรกิจที่ใชกระดาษ)
LG Display unveils newspaper-size
               flexible e-paper (15 January 2010)

                    • LG Display has announced its
                      development of a newspaper-size
                      flexible e-paper.
                    • The 19-inch wide (250x400mm)
                      flexible e-paper is almost as big as a
                      page of A3 sized newspaper.
                    • The product is able to convey the
                      feeling of reading an actual
                      newspaper.
                    • 0.3 millimeters thin, the e-paper
                      weighs just 130 grams.
                    • LG Display arranged TFT on metal
                      foil rather than glass substrate,




http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
http://www.nytimes.com/2009/10/27/business/media/27audit.html

http://barrdear.com/john/2009/10/28/the-death-throes-of-us-newspapers/
Internet
 client/server




                 world wide web
                   (web 1.0)
Web 2.0   เว็บ 1.0
          • เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา
          • การเพิ่มสาระใหมลงไปบน
             เว็บไซตของตนตองกระทําโดย
             ตนเองเพื่อเชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น
          • ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาได
             เชนกัน

          เว็บ 2.0
          • Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรม
             ออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไม
             นาเชื่อวาการเติมสาระลงไปใน
             สารานุกรมนั้นสามารถกระทําได
             โดยผูใชเว็บคนใดก็ได
          • เว็บสังคม (social web) ผูใช
             เติมสาระดวยผูใชเองเชน Hi5,
             MySpace, Facebook,
             Friendster, Twitter, etc.
http://www.cnn.com/
สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก




                         •ประชากรโลก:
                         ~6,700 ลานคน
                         •ผูใชอินเทอรเน็ต:
                         ~1,700 ลานคน
                                (ณ กันยายน พ.ศ.2552)
                      http://www.internetworldstats.com/stats.htm
The Digital Economy
มารตรฐานสื่อดิจิทัล
ปญหาสื่อดิจิทัล

ฟอนต Error
                                                เสียเวลาปรับแตง
                      โห!! สรางสารบัญ
                        เสียเวลาจัง




                                                         เปดแลว
   จําไมไดแลวใช              เปดไมไดนะ           ฟอรแมตเสีย
  ขนาดอักษรเทาไร               คนละ version
การจัดการสื่อดิจิทัล

   • มีการถายทอดและจัดเก็บอยางเปนระบบ
   • การเขาถึงไดอยางทั่วถึง
   • มีมาตรฐานเพื่อการนํามาใชใหมไดหลายๆ ครั้ง
   • มีการไหลเวียนผานกระบวนที่สรางคุณคา อันจะ
     สงผลถึงประสิทธิภาพโดยรวมที่สูงขึ้นของ
     องคกร/หนวยงาน
   • มีการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ เพื่อชวยแปลง
     ความซ้ําซอนในการทํางานเปนความรวมมือ

ทวีศักดิ์ กออนันตกูล. วัฒนธรรมการจัดการความรู สวทช.
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
•   มาตรฐานการตั้งชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร
•   มาตรฐานการสรางเอกสารงานพิมพ
•   มาตรฐานเอกสารเว็บ
•   มาตรฐานการสรางสื่อนําเสนอ
•   มาตรฐานเสียงดิจิทัล
•   มาตรฐานภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล
•   มาตรฐานสื่อมัลติมีเดีย
•   ฯลฯ
มารตฐานและการกําหนดมาตรฐาน

   • การกําหนดมาตรฐาน (standardization) คือกระบวนการพัฒนาและตกลง
     มาตรฐาน
   • มาตรฐานจะปรากฎเปนเอกสารที่บงรูปแบบเดียวกันของคุณสมบัติ เงื่อนไข
     วิธีการ กระบวนการหรือการปฏิบัติ
   • มาตรฐานอาจเกิดอยางไมเปนทางการแตเกิดจากคนสวนใหญรวมกันใช
     (de facto) อยางกวางขวางจนเปนที่นิยม
   • บางมาตรฐานเกิดอยางเปนทางการ (de jure) ตามความตองการของ
     กฏหมาย ตัวอยางเชนมาตรฐานที่กําหนดโดย International
     Organization for Standardization (ISO) หรือ American National
     Standards Institute (ANSI) เปนตน มาตรฐานนี้จะกําหนดอยางเปนอิสระ
     จากผูผลิตสินคา
   • วัตถุประสงคของการกําหนดมาตรฐานก็เพือชวยใหสินคา
                                            ่
       –    อิสระจากผูผลิตรายใดรายหนึ่ง
       –    ความเขากันได (compatibility)
       –    ทํางานรวมกันได (interoperability)
       –    ความปลอดภัย (safety)
       –    ผลิตซ้ําได (repeatability)
       –    มีคุณภาพ (quality)


wikipedia
ระบบรหัสอักษรและสัญลักษณ(character encoding system)

  • หมายถึง รหัสที่ทําใหเกิดการจับคูระหวางอักษรหรือสัญญลักษณหนึ่งๆเขากับ
    สัญญาณไฟฟาเพื่อใหเกิดการสงอักษรหรือสัญญลักษณนั้นทางโทรคมนาคม
    หรือเพือการเก็บรักษาอักษรหรือสัญญลักษณนั้นไวในคอมพิวเตอร
           ่




 Samuel F. B. Morse (1791-1872)                               •American Standard Code for Information
                                  Jean-Maurice-Émile Baudot    Interchange
                                   (1845 – 1903),             •1st edition 1963, 1st revision 1967,latest
                                                              revision 1986
ยูนิโคด(UNICODE)

     • รหัสแอสกี้มขนาด 7 บิตจึงสามารถแทนอักษร
                  ี
        และสัญญลักษณไดเพียง 128 ลักษณะหรือ
        แมนจะขยายขึนไปเปน 8 บิตเพื่อใชกับอักษร
                    ้
        และสัญญลักษณภาษาอื่นก็แทนไดเพียง 256
        ลักษณะเทานั้น
     • จึงมีความจําเปนในการพัฒนายูนิโคดเพื่อให
        คอมพิวเตอรสามารถมีรหัสครอบคลุมอักษร
        และสัญญลักษณของภาษาทั่วโลกโดยครั้ง
        แรก (ค.ศ.1988) เสนอใช 16 บิต (2 ไบต)
        ทําใหสามารถแทนไดถึง 65,536 ลักษณะ
     • ปจจุบนยูนิโคดขยายออกไปถึง 32 บิต (4
             ั
        ไบต) ครอบคลุมมากกวา 107,000 อักษรและ
        สัญญลักษณของภาษาทั่วโลก




                                             wikipedia
ฟอนต(Font)(1/2)
• ดั้งเดิมฟอนตจะบงถึงขนาดและรูปแบบของอักษรหรือสัญญลักษโลหะที่ใชในการเรียงพิมพ
  เทานั้น
• ตั้งแตยค ค.ศ.1900 เปนตนมา ฟอนตไดกลายมาเปนดิจิตัลใชในระบบคอมพิวเตอร
           ุ
• ดังนั้นฟอนตในยุคนีมกจะหมายถึงคอมพิวเตอรฟอนตซึ่งก็คือไฟลอิเล็กทรอนิกสที่เก็บชุด
                     ้ ั
  ของอักษรและสัญลักษณ (characters, glyphs, or symbols such as dingbats)

                                                                ตัวอยางฟอนต




  Metal typeset
ฟอนต(Font)(2/2)
• ฟอนตจะบงประเภท (family) ลักษณะ (faces) และขนาด (point)
• การแสดงฟอนตบนจอคอมพิวเตอรที่แพรหลายจะแสดงเปนลักษณะที่เรียกันวาบิต
  แม็ป (bitmap) หรือบางที่ก็เรียกกันวาราสเตอร (raster)
• การแสดงจะมีลักษณะเปนจุดหลายจุดภายในกรอบสี่เหลี่ยม แตละจุดแทนดวย 1
  ไบต (8บิต) หรือ 3 ไบต (24บิต) เพื่อใหไดสีท้ังสามที่ละเอียด
• ความละเอียดในการแสดงจะขึ้นอยูกับจํานวนจุดตอนิ้ว (dpi: dot per inch)


    ตัวอยางฟอนตของไมโครซอฟท                            การแสดงภาพแบบบิตแม็ป
ไฟลเสียง(audio file)
 •   เสียงดิจิทัลเกิดจากการสุม (sample)อยางสม่ําเสมอของเสียงอะนาล็อก
 •   ขอมูลที่ไดจากการสุมจะมีคาเปนดิจิทัลเก็บไวในไฟลของคอมพิวเตอร
 •   เมื่อตองการฟงเสียงเราสามารถแปลงขอมูลที่เก็บไวกลับไปเปนเสียงอะนาล็อกเดิมได
 •   ขอมูลดิจทัลที่เก็บไวอาจมีลักษณะเทาเดิม (uncompressed) หรือลดขนาด (compressed) เพื่อ
               ิ
     ประหยัดพื่นที่ในคอมพิงเตอรได
 •   ดังนั้นไฟลจึงมี 3 ลักษณะ:เทาเดิม (uncompressed) ลดขนาดแบบไมสูญเสีย (lossless
     compression) และลดขนาดแบบสูญเสีย (lossy compression)




                                              ตัวอยางการแปลงจากอนาล็อกเปนดิจิทัล
                                                (แบบ PCM)
                                              • เราจะสังเกตวาสัญญานลักษณะไซน
                                                ไดรับการสุมอยางสม่ําเสมอและ
                                                เปลี่ยนเปนคาดิจิทัลตรงจุดที่สุมดังนี้ 7,
                                                9, 11, 12, 13, 14, 14, 15, 15, 15, 14,
                                                ฯลฯ
                                              • เมื่อแปลงคานี้เปนไบนารีก็จะไดคา
                                                0111, 1001, 1011, 1100, 1101,
                                                1110, 1110, 1111, 1111, 1111,
                                                1110, ฯลฯ                            wikipedia
ประเภทของไฟลเสียง




http://www.fileinfo.com/filetypes/audio
ตัวอยางรายละเอียด
ของไฟลเสียง
กลองดิจิทัล
                CCD: Charge Couple Device




    Olympus EVOLT E-330
    • 7.5-megapixel NMOS solid state image sensor
    • 2.5-inch color LCD monitor with vertical tilt design and Live View
      capability
    • JPEG, uncompressed TIFF, and RAW file formats
    • Images saved on Compact Flash cards and Micro drives, as well as xD-
      Picture cards
    • USB cable for fast connection to a computer (USB auto-connect for
      driverless connection to Windows Me, 2000, XP, and Vista, and Mac OS
      8.6 or greater)
ประเภทของไฟลภาพนิ่ง




http://www.fileinfo.com/filetypes/image
ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนิด JPEG
  • JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเปนคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานไฟล
    ภาพประเภทนี้
  • ปจจุบันมีชื่อเปนทางการวา ITU – T JTC1/SC2/WG10.
  • ไฟล JPEG รุนแรกเริ่มประกาศเมื่อ ค.ศ.1986 มีวัตถุประสงคที่จะยอบีบอัดภาพถายธรรมชาติทั้งสี
    (24 บิตหรือ 16.7ลานสี) หรือขาวดํา (8 บิตหรือ 256 ระดับ)
  •    การลดขนาด (บีบอัด) เปนลักษณะสูญเสียสารสนเทศ กลาวคือภาพที่ลดขนาดจะเลวกวาภาพ
      เริ่มตน
  • อยางไรก็ดี JPEG ไดอาศัยคุณลักษณะสายตาของมนุษยที่ทนตอการสูยเสียสารสนเทศนั้นได




                                                             • ภาพทั้งสองนี้เปภาพเดียวกัน
                                                               หรือ?
                                                             • ภาพขวาเปนภาพเริ่มตนนําออกมา
                                                               จากกลองโดยตรง
                                                             • ภาพดานซายเปนภาพหลังจากใช
                                                               Photoshop บีบอัดลดสารสนเทศ
                                                               เหลือ 60%



  http://www.photoshopessentials.com/essentials/jpeg-compression/
ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนิด GIF
 •   GIFยอมาจากThe Graphics Interchange Format (GIF)
 •   มีลักษณะของบิตแม็ปเสนอโดยบริษัทCompuServe เมื่อ ค.ศ. 1987 และเปนที่นยมใช ิ
     เนื่องจากการสนับสนุนและการปอนลงเครื่อง(portability)ที่ดี
 •   ลักษณะ 8 บิตตอพิกเซลทําใหเรียกใชสีได 256 สีจากจํานวนสี RGB ทั้งหมด 16.7ลานสี
     (24-บิต)
 •   นอกจากนียังใชในงานแอนนิเมชันโดยแตละเฟรมเลือกสีเปนอิสระจาก 256 สีเปนจากกัน
                ้
 •   ดวยขอจํากัดจํานวนสีจึงทําให GIF เหมาะสําหรับที่งายกลาวคือภาพเสน ภาพกราฟฟก
                                                        
     และโลโกเปนตนแตไมเหมาะสําหรับภาพถายสีจากกลองและภาพวาดที่มีลักษณะสีที่
     ตอเนื่อง
 •   GIF ใชวิธีบีบอัดที่ปราศจากการสูญเสียสารสนเทศ




                                                                      painting
line drawing      textual image             photograph image
ความสิ้นเปลืองหนวยความจําของภาพนิ่ง
    • สมมติเรามีภาพขนาด6x4นิ้วที่150 dpi เราจะคํานวณดังนี้
      (6 inches x 150 dpi) x (4 inches x 150 dpi) = 900x600 pixels = 540,000 pixels
    • เนื้อที่หนวยความจําสําหรับภาพสี (RGB) จึงเปน
      540,000 x 3 = 1.6 ลานไบต
    • สําหรับ “x3” จะหมายถึง 3 ไบตของสี RGB ตอพิกเซล หรือนั่นคือระดับสีไดถึง 24 บิต
      (16.7ลานสี) ตอพิกเซล
    • กรณี 8 บิตตอพิกเซล (ขาวดําหรือ 256 สี) หรือภาพลายเสนจะใช 1 บิตตอพิกเซล (1/8
      ไบต) ก็จะสิ้นเปลืองนอยลง
ภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล
    ตัวอยางการคํานวณปริมาณขอมูลวิดโอ
                                    ี
    • คุณสมบัติ
       – แตละพิกเซลใชสีขนาด 24 บิต
       – ขนาดเฟรม 640x480 พิกเซล
       – จํานวนเฟรม 25 เฟรมตอวินาที
    • ตองการทราบวาใน 1 ชัวโมง (3600 วินาที) ตองสงขอมูล
                           ่
      เทาไร?
       –    จํานวนพิกเซลตอเฟรม = 640 * 480 = 307,200
       –    จํานวนบิตตอเฟรม = 307,200 * 24 = 7,372,800 = 7.37 เมกะบิต
       –    จํานวนบิตตอวินาที (BR) = 7.37 * 25 = 184.25 เมกะบิตตอวินาที
       –    ดังนั้นจํานวนขอมูลใน1ชั่งโมง = 184 * 3600 วินาที= 662,400
            เมกะบิต= 82,800 เมกะไบต= 82.8 กิกะไบต




wikipedia
ประเภทของไฟลวิดิโอ




http://www.fileinfo.com/filetypes/video
วิวัฒนาการของการบีบอัดขอมูลภาพ
             เคลือนไหวดวยมาตรฐาน MPEG
                  ่
                  (MPEG: Moving Picture Experts Group )




http://www.althos.com/tutorial/MPEG-Tutorial-moving-picture-experts-Group-Book-page-19.html
MPEG 1,2,4

  • MPEG-1 เปนมาตรฐานในการบีบอัดขอมูลวิดีโอและเสียงชนิดสูญเสีย
    สารสนเทศ
  • เริ่มใชเมื่อ ค.ศ.1993
  • วัตถุประสงคเพื่อบีบอัดขอมูลดิบของ VHS ดิจิทัลวิดีโอและเสียงในซีดี
    ใหเหลือเพียง 1.5 เมกะบิตตอวินาที (ดวยอัตรา 26:1 และ 6:1
    ตามลําดับ) โดยไมเสียคุณภาพจนเกินไป
  • ดวยเหตุนี้บรรดาวีซดี (VCD: Video Compact Disc)
                         ี
  • MPEG-1 ไดกลายเปนระบบบีบอัดขอมูลที่เขากันได (compatible lossy
    audio/video format) ระหวางผลิตภัณฑตางยี่หอมากที่สุดในโลก
  • ที่รูจักแพรหลายคงจะเปน MPEG-1 ที่ใชเปนมาตรฐานของรูปแบบเสียง
    MP3




  http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
MPEG 1,2,4
   MPEG-2
   • ออกแบบเพื่อใชงานระหวาง 1.5 และ 15 เมกะบิต/วินาที
   • เนนไปที่ดิจิทัลทีวีและดีวีดี (DVD: digital versatile disc)
   • วางอยูบนพื้นฐานของ MPEG-1 แตออกแบบสําหรับการบีบอัดและสงขอมูล
     โทรทัศนดจิทัลบนพื้นดิน การสงผานเคเบิล การสงโทรทัศนโดยตรงทาง
                ิ
     ดาวเทียม
   • MPEG-2 ยังสามารถปรับอัตราบิตตอวินาทีใหขนไปใชในการสงภาพละเอียดของ
                                                    ึ้
     HDTV ไดโดยหลีกเลี่ยงการที่ตองไปใช MPEG-3

    MPEG-4
    • มาตรฐานสําหรับการใชบนเว็บ
    • วางอยูบนพื้นฐานการบีบอัดแบบวัตถุ (object-based compression)
    • แตละวัตถุในภาพจะไดรับการติดตามจากเฟรมหนึงไปยังอีกเฟรมหนึ่ง
                                                       ่
    • สิ่งที่ไดคอความสามารถในการปรับประสิทธิภาพการบีบอัดจากจํานวนบิตตอ
                 ื
      วินาทีที่ต่ําไปสูจํานวนบิตตอวินาทีท่สูงขึ้นได
                                            ี
    • นอกจากนียังสามารถควบคุมแตละวัตถุในภาพไดดวยทําใหไดมาซึ่ง
                   ้
      ปฏิสัมพันธ (interactivity) ระหวางวัตถุในภาพกับผูใชได



 http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
สรุป

• รวมกันทําความเขาใจและกําหนดมาตรฐาน
  สื่อดิจิทัล
• รวมกันรณรงค สงเสริมการใชงานมาตรฐาน
  สื่อดิจิทัล
• รวมกันพัฒนา ปรับปรุงขอกําหนด มาตรฐาน
  กระบวนการที่เกียวของกับสื่อดิจิทัล
                 ่
ขอบคุณ


http://nstda.or.th/pairash

More Related Content

Viewers also liked (8)

Saravit eMagazine 11/2557
Saravit eMagazine 11/2557Saravit eMagazine 11/2557
Saravit eMagazine 11/2557
 
Open Sources @ hic-arts Chula
Open Sources @ hic-arts ChulaOpen Sources @ hic-arts Chula
Open Sources @ hic-arts Chula
 
manual-visit-nstda
manual-visit-nstdamanual-visit-nstda
manual-visit-nstda
 
OSS at Walailak University
OSS at Walailak UniversityOSS at Walailak University
OSS at Walailak University
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
Info Study BUU
 
Saravit eMagazine 1/2556
Saravit eMagazine 1/2556Saravit eMagazine 1/2556
Saravit eMagazine 1/2556
 
Emerging Summary Book
Emerging Summary BookEmerging Summary Book
Emerging Summary Book
 
Walailak Information Management Paper
Walailak Information Management PaperWalailak Information Management Paper
Walailak Information Management Paper
 

Similar to Digital Standard for Knowledge Society

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ajpeerawich
 
Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationKindaiproject
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษbskkru
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
นิตยสาร
นิตยสารนิตยสาร
นิตยสารWorapon Masee
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์phonon701
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์nutty_npk
 

Similar to Digital Standard for Knowledge Society (20)

Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
 
Libcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local informationLibcampubon2 collection development for local information
Libcampubon2 collection development for local information
 
Personal Digital Archive Development
Personal Digital Archive DevelopmentPersonal Digital Archive Development
Personal Digital Archive Development
 
Multimedia2
Multimedia2Multimedia2
Multimedia2
 
เรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษเรื่อง การพับกระดาษ
เรื่อง การพับกระดาษ
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Archives and Digital Archives
Archives and Digital ArchivesArchives and Digital Archives
Archives and Digital Archives
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
Social Networking
Social NetworkingSocial Networking
Social Networking
 
นิตยสาร
นิตยสารนิตยสาร
นิตยสาร
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

More from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 

Digital Standard for Knowledge Society

  • 1. มาตรฐานสื่อดิจิทัล เพื่อการบริการยุคสังคมฐานความรู ศาสตราจารย ดร.ไพรัช ธัชยพงษ เนคเทค/สวทช 27 กรกฎาคม 25523
  • 3. สังคมความรู • สังคมความรู หมายถึง สังคมซึ่งใชความรูเปน ทรัพยากรหลักในการผลิต แทนการใชทรัพยากรเงิน และแรงงานอยางในอดีต • สังคมความรู “สราง แบงปนและใชความรูเพื่อ ความเจริญรุงเรืองและ  ความเปนอยูที่ดีของ  ประชาชน” wikipedia
  • 4. สื่อดิจทัล ิ • สื่อ (media) หมายถึงหนวยเก็บ (storage) และชองรับสงขอมูล (transmission channels) หรือเครื่องมือที่ใชในการเก็บและสงขอมูล • สื่อดิจิทัล หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกสที่ทํางานกับขอมูลดิจิทัล (หมายเหตุ: คําวาสื่อคําเดียวกันนี้ บางครั้งก็ใชในความหมายของสื่อมวลชนหรือ สื่อขาว) สื่อผสม (multimedia) • หมายถึง สือและสาระทีมี ่ ่ หลายรูปแบบรวมกัน • สือผสมจะรวมอักษร เสียง ่ ภาพนิ่ง แอนนิเมชัน วิดีโอ และสาระที่สามารถ ปฏิสมพันธได ั wikipedia
  • 5. ยุคเริ่มตนของการเขียน • อักขระปรากฏบนแผนอิฐเปนสูตรในการหมักเบียร ชิ้นสวนกระดาษปาปรสในคริส ั • หลักฐานที่แสดงวาชนชาติสุมาเรียนที่อาศัยใน ประเทศเมโซโปเตเมีย (ปจจุบันเปนสวนหนึงของ ่ ศตวรรษที่ 4 ซึ่งมีขอความ อิรก) เมื่อ 3200 ปกอนคริสตกาล เปน ั อักขระยิวเปนบทสวดที่ 89: 4-7 ชนชาติแรกที่รูจกการเขียน ั ในคัมภีรไบเบิลฉบับเกา Source:Who Began Writing? Many Theories, Few Answers By JOHN NOBLE WILFORD,The New York Times -- April 6, 1999 http://www.virtual-egypt.com
  • 6. ภาพวาดฝาผนัง กอนประวัติศาสตร • ถ้ํา Lascaux อยูทางตะวันตกเฉียงใตของฝรั่งเศส • ภาพบนฝาถ้ํายุคหิน(15,000-10,000 กอน • ถ้ํา Magura อยูทางตะวันตกเฉียง  คริสตกาล) กวา 2,000 ภาพซึ่งสามารถแบงออกเปน เหนือของบุลกาเรียหางจากเมือง 3กลุมไดแก - ภาพสัตว ภาพมนุษยและสัญลักษณ จิตนาการ (abstract signs) หลวงโซเฟย 180 กม. • ภาพวาดแสดงผูหญิงและชาย สัตว ตนไม เครื่องมือ ดวงดาวและดวง อาทิตย กอนยุคบรอนซ(3,000 ป กอนคริสตกาล) http://www.oddee.com/item_93915.aspx
  • 7. ยุคแหงการพิมพหนังสือ โยฮัน กูเต็นเบิร (ค.ศ.1400 -1468), แทนพิมพเปลี่ยนตัวอักษรได ชาวเยอรมันผูประดิษฐ ของกูเต็นเบิรก คัมภีรไบเบิลพิมพดวยเครื่องพิมพกูเต็นเบิรก เครื่องพิมพ • คัมภีรไบเบิลทีพิมพดวยเครื่องพิมพกเต็นเบิรก ระหวาง ่ ู  ค.ศ. 1454-1455 เปนสัญลักษณทบงถึงการเริมตน “ยุค ่ี ่ แหงการพิมพหนังสือ” (ตนฉบับยังเก็บไวทLibrary of ี่ Congress, US)
  • 9. หนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook): Kindle DX (6 May 2009) Amazon today unveiled a new, larger version of its Kindle ebook reader, which is aimed at students – and heralded as a potential saviour by some parts of the newspaper industry. (guardian.co.uk, Wednesday 6 May 2009 ) ปริมาณการขายAmazon e-book สูงกวา หนังสือธรรมดาเปนครั้งแรกเมื่อปลายป ค.ศ.2009 (guardian.co.uk, 28 Dec 2009) วางขายราว • วางตลาดฤดูรอนของสหรัฐอเมริกาใน • ผูซ้อสามารถเขาถึง 60% ของตําราเรียน ื ราคา $489 ของสํานักพิมพ Pearson, Wiley และ • ใชแสดงตําราและขาวหนังสือพิมพ Cangage • จอขนาด 9.7 นิ้วใหญกวารุนเดิม (ซึ่ง • ตอนเปดตัวบริษัทอเมซอนจะลดราคาผู แสดงนวนิยาย paperback) ราว 2 เทา ประสงคสมัครเปนสมาชิกระยะยาวของ • สามารถบรรจุหนังสือ 3,500 เลม New York Times, Washington Post • แสดงไฟลและสารคดีท่เคยแสดงบน ี และBoston Globe (ซึ่งกําลังมีปญหาดาน PCไดดวย ธุรกิจที่ใชกระดาษ)
  • 10. LG Display unveils newspaper-size flexible e-paper (15 January 2010) • LG Display has announced its development of a newspaper-size flexible e-paper. • The 19-inch wide (250x400mm) flexible e-paper is almost as big as a page of A3 sized newspaper. • The product is able to convey the feeling of reading an actual newspaper. • 0.3 millimeters thin, the e-paper weighs just 130 grams. • LG Display arranged TFT on metal foil rather than glass substrate, http://www.digitimes.com/news/a20100115PR201.html
  • 12. Internet client/server world wide web (web 1.0)
  • 13. Web 2.0 เว็บ 1.0 • เจาของเว็บสรางเว็บขึ้นมา • การเพิ่มสาระใหมลงไปบน เว็บไซตของตนตองกระทําโดย ตนเองเพื่อเชื่อมโยงกับเว็บผูอื่น • ผูอื่นสามารถเชื่อมโยงเขามาได เชนกัน เว็บ 2.0 • Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรม ออนไลนเกิดจากสมมติฐานที่ไม นาเชื่อวาการเติมสาระลงไปใน สารานุกรมนั้นสามารถกระทําได โดยผูใชเว็บคนใดก็ได • เว็บสังคม (social web) ผูใช เติมสาระดวยผูใชเองเชน Hi5, MySpace, Facebook, Friendster, Twitter, etc.
  • 15. สถิติการใชอินเทอรเน็ตโลก •ประชากรโลก: ~6,700 ลานคน •ผูใชอินเทอรเน็ต: ~1,700 ลานคน (ณ กันยายน พ.ศ.2552) http://www.internetworldstats.com/stats.htm
  • 18. ปญหาสื่อดิจิทัล ฟอนต Error เสียเวลาปรับแตง โห!! สรางสารบัญ เสียเวลาจัง เปดแลว จําไมไดแลวใช เปดไมไดนะ ฟอรแมตเสีย ขนาดอักษรเทาไร คนละ version
  • 19. การจัดการสื่อดิจิทัล • มีการถายทอดและจัดเก็บอยางเปนระบบ • การเขาถึงไดอยางทั่วถึง • มีมาตรฐานเพื่อการนํามาใชใหมไดหลายๆ ครั้ง • มีการไหลเวียนผานกระบวนที่สรางคุณคา อันจะ สงผลถึงประสิทธิภาพโดยรวมที่สูงขึ้นของ องคกร/หนวยงาน • มีการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือ เพื่อชวยแปลง ความซ้ําซอนในการทํางานเปนความรวมมือ ทวีศักดิ์ กออนันตกูล. วัฒนธรรมการจัดการความรู สวทช.
  • 20. มาตรฐานสื่อดิจิทัล • มาตรฐานการตั้งชื่อโฟลเดอรและแฟมเอกสาร • มาตรฐานการสรางเอกสารงานพิมพ • มาตรฐานเอกสารเว็บ • มาตรฐานการสรางสื่อนําเสนอ • มาตรฐานเสียงดิจิทัล • มาตรฐานภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล • มาตรฐานสื่อมัลติมีเดีย • ฯลฯ
  • 21. มารตฐานและการกําหนดมาตรฐาน • การกําหนดมาตรฐาน (standardization) คือกระบวนการพัฒนาและตกลง มาตรฐาน • มาตรฐานจะปรากฎเปนเอกสารที่บงรูปแบบเดียวกันของคุณสมบัติ เงื่อนไข วิธีการ กระบวนการหรือการปฏิบัติ • มาตรฐานอาจเกิดอยางไมเปนทางการแตเกิดจากคนสวนใหญรวมกันใช (de facto) อยางกวางขวางจนเปนที่นิยม • บางมาตรฐานเกิดอยางเปนทางการ (de jure) ตามความตองการของ กฏหมาย ตัวอยางเชนมาตรฐานที่กําหนดโดย International Organization for Standardization (ISO) หรือ American National Standards Institute (ANSI) เปนตน มาตรฐานนี้จะกําหนดอยางเปนอิสระ จากผูผลิตสินคา • วัตถุประสงคของการกําหนดมาตรฐานก็เพือชวยใหสินคา ่ – อิสระจากผูผลิตรายใดรายหนึ่ง – ความเขากันได (compatibility) – ทํางานรวมกันได (interoperability) – ความปลอดภัย (safety) – ผลิตซ้ําได (repeatability) – มีคุณภาพ (quality) wikipedia
  • 22. ระบบรหัสอักษรและสัญลักษณ(character encoding system) • หมายถึง รหัสที่ทําใหเกิดการจับคูระหวางอักษรหรือสัญญลักษณหนึ่งๆเขากับ สัญญาณไฟฟาเพื่อใหเกิดการสงอักษรหรือสัญญลักษณนั้นทางโทรคมนาคม หรือเพือการเก็บรักษาอักษรหรือสัญญลักษณนั้นไวในคอมพิวเตอร ่ Samuel F. B. Morse (1791-1872) •American Standard Code for Information Jean-Maurice-Émile Baudot Interchange (1845 – 1903), •1st edition 1963, 1st revision 1967,latest revision 1986
  • 23. ยูนิโคด(UNICODE) • รหัสแอสกี้มขนาด 7 บิตจึงสามารถแทนอักษร ี และสัญญลักษณไดเพียง 128 ลักษณะหรือ แมนจะขยายขึนไปเปน 8 บิตเพื่อใชกับอักษร ้ และสัญญลักษณภาษาอื่นก็แทนไดเพียง 256 ลักษณะเทานั้น • จึงมีความจําเปนในการพัฒนายูนิโคดเพื่อให คอมพิวเตอรสามารถมีรหัสครอบคลุมอักษร และสัญญลักษณของภาษาทั่วโลกโดยครั้ง แรก (ค.ศ.1988) เสนอใช 16 บิต (2 ไบต) ทําใหสามารถแทนไดถึง 65,536 ลักษณะ • ปจจุบนยูนิโคดขยายออกไปถึง 32 บิต (4 ั ไบต) ครอบคลุมมากกวา 107,000 อักษรและ สัญญลักษณของภาษาทั่วโลก wikipedia
  • 24. ฟอนต(Font)(1/2) • ดั้งเดิมฟอนตจะบงถึงขนาดและรูปแบบของอักษรหรือสัญญลักษโลหะที่ใชในการเรียงพิมพ เทานั้น • ตั้งแตยค ค.ศ.1900 เปนตนมา ฟอนตไดกลายมาเปนดิจิตัลใชในระบบคอมพิวเตอร ุ • ดังนั้นฟอนตในยุคนีมกจะหมายถึงคอมพิวเตอรฟอนตซึ่งก็คือไฟลอิเล็กทรอนิกสที่เก็บชุด ้ ั ของอักษรและสัญลักษณ (characters, glyphs, or symbols such as dingbats) ตัวอยางฟอนต Metal typeset
  • 25. ฟอนต(Font)(2/2) • ฟอนตจะบงประเภท (family) ลักษณะ (faces) และขนาด (point) • การแสดงฟอนตบนจอคอมพิวเตอรที่แพรหลายจะแสดงเปนลักษณะที่เรียกันวาบิต แม็ป (bitmap) หรือบางที่ก็เรียกกันวาราสเตอร (raster) • การแสดงจะมีลักษณะเปนจุดหลายจุดภายในกรอบสี่เหลี่ยม แตละจุดแทนดวย 1 ไบต (8บิต) หรือ 3 ไบต (24บิต) เพื่อใหไดสีท้ังสามที่ละเอียด • ความละเอียดในการแสดงจะขึ้นอยูกับจํานวนจุดตอนิ้ว (dpi: dot per inch) ตัวอยางฟอนตของไมโครซอฟท การแสดงภาพแบบบิตแม็ป
  • 26. ไฟลเสียง(audio file) • เสียงดิจิทัลเกิดจากการสุม (sample)อยางสม่ําเสมอของเสียงอะนาล็อก • ขอมูลที่ไดจากการสุมจะมีคาเปนดิจิทัลเก็บไวในไฟลของคอมพิวเตอร • เมื่อตองการฟงเสียงเราสามารถแปลงขอมูลที่เก็บไวกลับไปเปนเสียงอะนาล็อกเดิมได • ขอมูลดิจทัลที่เก็บไวอาจมีลักษณะเทาเดิม (uncompressed) หรือลดขนาด (compressed) เพื่อ ิ ประหยัดพื่นที่ในคอมพิงเตอรได • ดังนั้นไฟลจึงมี 3 ลักษณะ:เทาเดิม (uncompressed) ลดขนาดแบบไมสูญเสีย (lossless compression) และลดขนาดแบบสูญเสีย (lossy compression) ตัวอยางการแปลงจากอนาล็อกเปนดิจิทัล (แบบ PCM) • เราจะสังเกตวาสัญญานลักษณะไซน ไดรับการสุมอยางสม่ําเสมอและ เปลี่ยนเปนคาดิจิทัลตรงจุดที่สุมดังนี้ 7, 9, 11, 12, 13, 14, 14, 15, 15, 15, 14, ฯลฯ • เมื่อแปลงคานี้เปนไบนารีก็จะไดคา 0111, 1001, 1011, 1100, 1101, 1110, 1110, 1111, 1111, 1111, 1110, ฯลฯ wikipedia
  • 29. กลองดิจิทัล CCD: Charge Couple Device Olympus EVOLT E-330 • 7.5-megapixel NMOS solid state image sensor • 2.5-inch color LCD monitor with vertical tilt design and Live View capability • JPEG, uncompressed TIFF, and RAW file formats • Images saved on Compact Flash cards and Micro drives, as well as xD- Picture cards • USB cable for fast connection to a computer (USB auto-connect for driverless connection to Windows Me, 2000, XP, and Vista, and Mac OS 8.6 or greater)
  • 31. ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนิด JPEG • JPEG ยอมาจาก Joint Photographic Experts Group ซึ่งเปนคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานไฟล ภาพประเภทนี้ • ปจจุบันมีชื่อเปนทางการวา ITU – T JTC1/SC2/WG10. • ไฟล JPEG รุนแรกเริ่มประกาศเมื่อ ค.ศ.1986 มีวัตถุประสงคที่จะยอบีบอัดภาพถายธรรมชาติทั้งสี (24 บิตหรือ 16.7ลานสี) หรือขาวดํา (8 บิตหรือ 256 ระดับ) • การลดขนาด (บีบอัด) เปนลักษณะสูญเสียสารสนเทศ กลาวคือภาพที่ลดขนาดจะเลวกวาภาพ เริ่มตน • อยางไรก็ดี JPEG ไดอาศัยคุณลักษณะสายตาของมนุษยที่ทนตอการสูยเสียสารสนเทศนั้นได • ภาพทั้งสองนี้เปภาพเดียวกัน หรือ? • ภาพขวาเปนภาพเริ่มตนนําออกมา จากกลองโดยตรง • ภาพดานซายเปนภาพหลังจากใช Photoshop บีบอัดลดสารสนเทศ เหลือ 60% http://www.photoshopessentials.com/essentials/jpeg-compression/
  • 32. ตัวอยางไฟลภาพนิ่งชนิด GIF • GIFยอมาจากThe Graphics Interchange Format (GIF) • มีลักษณะของบิตแม็ปเสนอโดยบริษัทCompuServe เมื่อ ค.ศ. 1987 และเปนที่นยมใช ิ เนื่องจากการสนับสนุนและการปอนลงเครื่อง(portability)ที่ดี • ลักษณะ 8 บิตตอพิกเซลทําใหเรียกใชสีได 256 สีจากจํานวนสี RGB ทั้งหมด 16.7ลานสี (24-บิต) • นอกจากนียังใชในงานแอนนิเมชันโดยแตละเฟรมเลือกสีเปนอิสระจาก 256 สีเปนจากกัน ้ • ดวยขอจํากัดจํานวนสีจึงทําให GIF เหมาะสําหรับที่งายกลาวคือภาพเสน ภาพกราฟฟก  และโลโกเปนตนแตไมเหมาะสําหรับภาพถายสีจากกลองและภาพวาดที่มีลักษณะสีที่ ตอเนื่อง • GIF ใชวิธีบีบอัดที่ปราศจากการสูญเสียสารสนเทศ painting line drawing textual image photograph image
  • 33. ความสิ้นเปลืองหนวยความจําของภาพนิ่ง • สมมติเรามีภาพขนาด6x4นิ้วที่150 dpi เราจะคํานวณดังนี้ (6 inches x 150 dpi) x (4 inches x 150 dpi) = 900x600 pixels = 540,000 pixels • เนื้อที่หนวยความจําสําหรับภาพสี (RGB) จึงเปน 540,000 x 3 = 1.6 ลานไบต • สําหรับ “x3” จะหมายถึง 3 ไบตของสี RGB ตอพิกเซล หรือนั่นคือระดับสีไดถึง 24 บิต (16.7ลานสี) ตอพิกเซล • กรณี 8 บิตตอพิกเซล (ขาวดําหรือ 256 สี) หรือภาพลายเสนจะใช 1 บิตตอพิกเซล (1/8 ไบต) ก็จะสิ้นเปลืองนอยลง
  • 34. ภาพเคลื่อนไหวดิจิทัล ตัวอยางการคํานวณปริมาณขอมูลวิดโอ ี • คุณสมบัติ – แตละพิกเซลใชสีขนาด 24 บิต – ขนาดเฟรม 640x480 พิกเซล – จํานวนเฟรม 25 เฟรมตอวินาที • ตองการทราบวาใน 1 ชัวโมง (3600 วินาที) ตองสงขอมูล ่ เทาไร? – จํานวนพิกเซลตอเฟรม = 640 * 480 = 307,200 – จํานวนบิตตอเฟรม = 307,200 * 24 = 7,372,800 = 7.37 เมกะบิต – จํานวนบิตตอวินาที (BR) = 7.37 * 25 = 184.25 เมกะบิตตอวินาที – ดังนั้นจํานวนขอมูลใน1ชั่งโมง = 184 * 3600 วินาที= 662,400 เมกะบิต= 82,800 เมกะไบต= 82.8 กิกะไบต wikipedia
  • 36. วิวัฒนาการของการบีบอัดขอมูลภาพ เคลือนไหวดวยมาตรฐาน MPEG ่ (MPEG: Moving Picture Experts Group ) http://www.althos.com/tutorial/MPEG-Tutorial-moving-picture-experts-Group-Book-page-19.html
  • 37. MPEG 1,2,4 • MPEG-1 เปนมาตรฐานในการบีบอัดขอมูลวิดีโอและเสียงชนิดสูญเสีย สารสนเทศ • เริ่มใชเมื่อ ค.ศ.1993 • วัตถุประสงคเพื่อบีบอัดขอมูลดิบของ VHS ดิจิทัลวิดีโอและเสียงในซีดี ใหเหลือเพียง 1.5 เมกะบิตตอวินาที (ดวยอัตรา 26:1 และ 6:1 ตามลําดับ) โดยไมเสียคุณภาพจนเกินไป • ดวยเหตุนี้บรรดาวีซดี (VCD: Video Compact Disc) ี • MPEG-1 ไดกลายเปนระบบบีบอัดขอมูลที่เขากันได (compatible lossy audio/video format) ระหวางผลิตภัณฑตางยี่หอมากที่สุดในโลก • ที่รูจักแพรหลายคงจะเปน MPEG-1 ที่ใชเปนมาตรฐานของรูปแบบเสียง MP3 http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
  • 38. MPEG 1,2,4 MPEG-2 • ออกแบบเพื่อใชงานระหวาง 1.5 และ 15 เมกะบิต/วินาที • เนนไปที่ดิจิทัลทีวีและดีวีดี (DVD: digital versatile disc) • วางอยูบนพื้นฐานของ MPEG-1 แตออกแบบสําหรับการบีบอัดและสงขอมูล โทรทัศนดจิทัลบนพื้นดิน การสงผานเคเบิล การสงโทรทัศนโดยตรงทาง ิ ดาวเทียม • MPEG-2 ยังสามารถปรับอัตราบิตตอวินาทีใหขนไปใชในการสงภาพละเอียดของ ึ้ HDTV ไดโดยหลีกเลี่ยงการที่ตองไปใช MPEG-3 MPEG-4 • มาตรฐานสําหรับการใชบนเว็บ • วางอยูบนพื้นฐานการบีบอัดแบบวัตถุ (object-based compression) • แตละวัตถุในภาพจะไดรับการติดตามจากเฟรมหนึงไปยังอีกเฟรมหนึ่ง ่ • สิ่งที่ไดคอความสามารถในการปรับประสิทธิภาพการบีบอัดจากจํานวนบิตตอ ื วินาทีที่ต่ําไปสูจํานวนบิตตอวินาทีท่สูงขึ้นได ี • นอกจากนียังสามารถควบคุมแตละวัตถุในภาพไดดวยทําใหไดมาซึ่ง ้ ปฏิสัมพันธ (interactivity) ระหวางวัตถุในภาพกับผูใชได http://www.wave-report.com/tutorials/VC.htm
  • 39. สรุป • รวมกันทําความเขาใจและกําหนดมาตรฐาน สื่อดิจิทัล • รวมกันรณรงค สงเสริมการใชงานมาตรฐาน สื่อดิจิทัล • รวมกันพัฒนา ปรับปรุงขอกําหนด มาตรฐาน กระบวนการที่เกียวของกับสื่อดิจิทัล ่