SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
                  --------------------------------------------------------------
      ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อ
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่าง
น้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา
หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย

           ความหมายโครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
         โครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน
ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี
และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ
อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่
                                      ้
ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ
                                    ่
สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผเู้ รียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
มีการนาเอามัลติมีเดียไปประยุกต์ใช้งานในหลายๆ ด้าน เช่น

 ด้านการศึกษา - ด้านการศึกษานั้นได้นาเอามัลติมเี ดียไปพัฒนาใช้และขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิด
เครื่องมือช่วยสอนต่างๆ มากมาย และเกิดสื่ออิเล็กทรอนิกส์ช่วยสอนในรูปแบบต่างๆ - สนับสนุนและส่งเสริม
การศึกษา โดยเป็นเครื่องมือช่วยรวบรวม วิเคราะห์ ออกแบบ สร้าง จัดการ ใช้งานและประเมินผล -
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ลักษณะมัลติมเี ดีย - เผยแพร่การเรียนบนเว็บ เช่น e-Learning เป็นต้น - เกิดการเรียนรู้
ทางไกล

 ด้านการฝึกอบรม - มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยสอน เรียกว่า e-Training มีส่วนช่วยให้พัฒนาศักยภาพ
ทางบุคลากรเป็นอย่างมาก - ปัจจุบัน มีการพัฒนาเว็บสาหรับอบรมของสถาบันฝึกอบรมหลายแห่ง เช่น สถาบัน
พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา http://www.guruonline.in.th

 ด้านความบันเทิง - มัลติมีเดียได้รบความแพร่หลายในวงการบันเทิงเป็นอย่างมาก เช่น ภาพยนต์ คาราโอ
                                   ั
เกะ เกมส์ ข่าว ละคร เป็นต้น
- เว็บไซต์ทีวี - เกมส์ออนไลน์
 ด้านธุรกิจ มีความสะดวกเป็นอย่างมาก ในการ - นาเสนองาน นาเสนอสินค้า - ประชุมทางไกล ทาให้การ
ดาเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
 ด้านการประชาสัมพันธ์ มัลติมีเดียได้เป็นปัจจัยหลักสาคัญ ในการ - นาเสนอ และเผยแพร่ข่าวสาร - การ
โฆษณาและการถ่ายทอด - ตูประชาสัมพันธ์
                          ้
 ด้านความเป็นจริงเสมือน - ความจริงเสมือนเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ของวงการเทคโนโลยีมลติมีเดีย สามารถ
                                                                               ั
เลียนแบบการเรียนรู้ และสัมผัสผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ในโลกแห่งความเป็นจริงเสมือน
 ด้านโมบายเทคโนโลยี ได้ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เช่น - เทคโนโลยีมลติมเี ดียในโทรศัพท์เคลื่อนที่
                                                                    ั
รูปแบบการใช้โมบายเทคโนโลยี M-Billing M-Commerce M-Banking M-Entertainment M-Messaging

ที่มา : http://chalad.wordpress.com/subject/20209-2/20209-lesson-3/



โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
         โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน
ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี
และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ
อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึงอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
                      ่
ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่
                                      ้
ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ
                                    ่
สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผเู้ รียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง




ที่มา : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
          สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันอาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะ
มีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์
                                 ่
ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ
ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้
                                              ่
ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โปรแกรม
ระบบงานการกีฬา โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผูเ้ รียน 2001
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7


                 ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ชื่อโครงการ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์(ด้านการศึกษา)

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววาสนา ขุนบุญจันทร์ และ นางสาวสุวดี ทวีสิทธิ์ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธรกิจ
                                                                                               ุ

หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้คนเราจาเป็นต้องเรียนรู้และก้าวให้ทันกับความ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ ของยุคของโลกเทคโนโลยีไม่ว่าจะทาอะไรล้วนมีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอจะ
เห็นได้จากการเรียนการสอนมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของ
โปรแกรม Microsoft Word ,PowerPoint ,Microsoft Excel,Macromedia Authorware และเพื่อให้การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับเทคโนโลยีปจจุบัน การเรียนรู้ในสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                                                ั
ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความ
สะดวกเพือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ ทั้งนี้ ผูสอนและผูเ้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสือการ
           ่                                                 ้                                        ่
เรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ การจัดการเรียนการสอน ได้จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามความเหมาะสมของนักเรียน ดังนั้นคณะผูจัดทาจึงได้จัดทาโครงการ
                                                                                   ้
เรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ขึ้นมา

วัตถุประสงค์

1.เพื่อการพัฒนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้มประสิทธิภาพมากขึ้น
                                         ี

2.เพื่อปรับการเรียนการสอนให้เข้าทันกับเทคโนโลยี
3.เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์

ที่มา : http://samooksasa.blogspot.com/2009/01/blog-post.html




ที่มา : http://www.genedu.msu.ac.th/2553/admin/news/detail.php?id=12

ด้านการฝึ กอบรม
e-Training
                                                                                                          e-Training
คือ กระบวนการฝึ กอบรมผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์เป็ นกระบวนการจัดการฝึ กทักษะเพิ่มพูนสาระความรู ้ ที่เน้นให้ผเู ้ ข้ารับการ
อบรมเรี ยนรู ้ดวยตนเอง ผูเ้ ข้าอบรมมีอิสระในการเข้าศึกษาเพื่อเรี ยนรู ้ตามเวลาและโอกาสที่ผเู ้ ข้าฝึ กอบรมได้ตามต้องการ
                  ้
โดยเนื้อหาขององค์ความรู ้จะถูกออกแบบมาให้ศึกษาเรี ยนรู ้ได้โดยง่ายในรู ปแบบมัลติมีเดีย ซึ่ งประกอบด้วยสื่ อที่เป็ นข้อความ
รู ปภาพหรื ออาจจะมีเสี ยง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวระบบ e-Training นี้ ผูเ้ ข้าฝึ กอบรมจะมีเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์นวัตกรรม
การเรี ยนรู ้เป็ นผูให้คาปรึ กษาในการอบรมตลอดหลักสู ตร นอกจากนี้ผูเ้ ข้าอบรมยังสามารถติดต่อและปรึ กษาแลกเปลี่ยนความ
                    ้
คิดเห็นกับอาจารย์และผูเ้ รี ยนอื่นได้ เช่นเดียวกับการอบรมในห้องอบรม หัวข้อที่จดเป็ น e-Training มีดงนี้
                                                                                 ั                         ั

                - การเรี ยนการสอนแบบ Case Based
                - การเรี ยนการสอนแบบ Child-Centered
                - การเรี ยนการสอนแบบ Problem Based
- การเรี ยนการสอนแบบ Critical Thinking
              - การประเมินตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment)


ที่มา :




http://www.lic.chula.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemid=59
ที่มา : http://ubonsci.nfe.go.th/etraining/
ชื่อเรื่อง     การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์
                  กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ชื่อผู้วิจัย นายชนารัตน์ คาอ่อน
โรงเรียน โรงเรียนระยองวิทยาคม
ปีที่วิจัย พ.ศ.2552
บทคัดย่อ
          การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ (1) เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงาน
คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
            กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัด
ระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 40 คน โดยการสุมตัวอย่างแบบง่าย เครืองมือที่ใช้ในการวิจัย
                                                                      ่                    ่
ประกอบด้วย บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ จานวน 6 หน่วยการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t (t-test )
         ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า
1. บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ ที่พัฒนาขึ้น มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ
87.28/85.79 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทีเ่ รียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทระดับ .01
                                ี่
3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อยู่ในระดับมากที่สุด



ที่มา : http://kchanarat.multiply.com/journal?&show_interstitial=1&u=%2Fjournal
WHOLIS : ฐานข้อมูลวัสดุตีพมพ์และไม่ตีพิมพ์ของห้องสมุดองค์การ
                             ิ
อนามัยโลกทั้ง 2 แห่ง คือ ห้องสมุดองค์การอนามัยโลกที่ประเทศ
อินเดีย และทีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ (ซึงเป็นห้องสมุดหลัก Head
              ่                          ่
Quarter) ซึ่งเปิดให้บริการสาธารณะแก่ผสนใจทั่วโลกได้สืบค้น
                                           ู้
จัดทาขึ้น 3 ภาษา ประกอบด้วยภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน และ
ภาษาฝรั่งเศส สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่มีในฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นสิงพิมพ์ที่
                                                          ่
จัดทาโดยองค์การอนามัยโลกประจาภูมิภาคต่างๆ ทีมีการแปลเป็น
                                                  ่
ภาษาต่างๆ มากถึง 19 ภาษา เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี
เยอรมัน รัสเซีย โปรตุเกส เป็นต้น นอกเหนือจากนั้นยังมีหนังสือจาก
สานักพิมพ์ต่างๆ และจากองค์กรต่างประเทศอื่นๆ ทังของรัฐบาล
                                                    ้
(Intergovernmental Agencies) และองค์กรเอกชนที่ไม่หวังผล
กาไร (NGOs) วัสดุตีพิมพ์และไม่ตีพมพ์ของห้องสมุด ประกอบด้วย
                                    ิ
                   รายงานการวิจัย รายงานการประชุม
                   เอกสารวิชาการทีเ่ กี่ยวข้องด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ตั้งแต่ปี 1948 (Technical
Document)
                    บทความจากวารสารทั้งจากวารสารอื่นๆและวารสารทีองค์การอนามัยโลกจัดทาขึ้นมา
                                                                ่
ตั้งแต่ปี 1985 เช่น บทความจากวารสาร
                            Bulletin of the World Health Organization
                            Weekly Epidemiological Record
                            WHO Newsletter
                            Press Release
                   ม้วนวีดีโอ แผ่นซีดีรอม เป็นต้น
       ฐานข้อมูลประกอบด้วยระเบียนบรรณานุกรมพร้อมสาระสังเขป (Abstract) กว่า 70,000 ระเบียน และ
ระเบียนบรรณานุกรมพร้อมเอกสารฉบับเต็ม (Full text) กว่า 13,000 ระเบียน โดยใช้โปรแกรม WEBSIS ใน
การจัดทา รวบรวม และนาเสนอเพื่อเปิดให้สาธารณะเข้าสืบค้นด้วยระบบออนไลน์
        WHOLIS ได้แบ่งประเภทเอกสารตีพิมพ์และไม่ตพิมพ์ไว้ 7 ประเภทในฐานข้อมูลดังนี้
                                                ี
                (1) ANALYTIC: บทความที่อยู่ในวารสารของ WHO
                (2) AV: ม้วนวีดีโอ แผ่นซีดีรอม
                (3) E-FILE: แฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
(4) DOCUMENT: เอกสารวิชาการ
               (5) MONOGRAPH: หนังสือ
               (6) PERIODICAL: บทความจากวารสารอืนๆ
                                                ่
               (7) E-JOURNAL : วารสารอิเล็กทรอนิกส์




ที่มา : http://www.car.chula.ac.th/culib/v21n2y2548/article5.html


รฟท. ก้าวล้า น้าหน้า พัฒนาคุณภาพการบริการ เปิดทดลองระบบจองตั๋วโดยสารผ่านระบบ
Internet (e-STARS) 6 เดือน

นางสาวมณฑกาญจน์ ศรีวิลาศ หัวหน้ากองประชาสัมพันธ์ แจ้งว่า เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้กับ
ผู้โดยสารทีเ่ ลือกใช้บริการรถไฟเป็นยานพาหนะในการเดินทาง รฟท. จึงเพิมช่องทางการจัดจาหน่ายตั๋วเพื่อให้
                                                                     ่
เข้าถึงประชาชนโดยการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยมามาพัฒนาใช้ในการจองตั๋วล่วงหน้าก่อนวัน
เดินทาง 60 วัน โดยผู้โดยสารสามารถจองตั๋วหรือสารองที่นงผ่านระบบ Internet และชาระค่าโดยสารด้วย
                                                     ั่
วิธีการหักบัญชีบัตรเครดิตทุกธนาคาร ในระบบ Visa และ Master Card ในการพัฒนาระบบครั้งนี้นบว่าเป็นอีก
                                                                                              ั
หนึ่งนวัตกรรมใหม่ทสามารถเปลี่ยนภาพลักษณ์ด้านการบริการของการรถไฟฯ ให้ก้าวล้า ทันสมัย ไปตาม
                      ี่
กาลเวลาและเทคโนโลยีทเี่ ปลี่ยนแปลง โดย บริษท ปรีดาปราโมทย์ จากัด ให้ความร่วมมือในการพัฒนาระบบ
                                            ั
ดังกล่าว อนึ่ง การรถไฟฯ เริมทดลองใช้ระบบ e – STARS ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม
                             ่
2552 รวม 6 เดือน เฉพาะรถนอนปรับอากาศชั้น 2 ขบวนรถด่วน/ด่วนพิเศษ รวม 16 ขบวน ดังนี้

- ขบวนที่ 1/2 (กรุงเทพ – เชียงใหม่ - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 13/14 (กรุงเทพ – เชียงใหม่ – กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 67/68 (กรุงเทพ – อุบลราชธานี - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 69/70 (กรุงเทพ – หนองคาย - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 35/36 (กรุงเทพ – บัตเตอร์เวอร์ธ - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 37/38 (กรุงเทพ – สุไหงโกลก - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 83/84 (กรุงเทพ – ตรัง - กรุงเทพ)
- ขบวนที่ 85/86 (กรุงเทพ – นครศรีธรรมราช - กรุงเทพ)

ทั้งนี้ เพื่อนาข้อมูลจากช่วงทดลองมาปรับปรุงให้ระบบมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพสมบูรณ์ รายละเอียด
เพิ่มเติมติดต่อได้ที่ โทรศัพท์สายด่วน 1690 ตลอด 24 ชั่วโมง

http://www.railway.co.th/seatcheck/guest/news1/viewshownew.asp?id=393 ข่าวประชาสัมพันธ์
การรถไฟแห่งประเทศไทย

More Related Content

What's hot

6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
Augusts Programmer
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Somsak Kaeosijan
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
sa_jaimun
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
Winwin Nim
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
Nuchy Geez
 

What's hot (11)

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 

Viewers also liked

佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
jsai_research
 
Bartenders brawl sponsor deck
Bartenders brawl sponsor deckBartenders brawl sponsor deck
Bartenders brawl sponsor deck
robbiegarrison
 
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ) 公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
jsai_research
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
Soldic Kalayanee
 
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
jsai_research
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
Soldic Kalayanee
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
Soldic Kalayanee
 
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
jsai_research
 
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
Soldic Kalayanee
 
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
jsai_research
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
Soldic Kalayanee
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 

Viewers also liked (18)

佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(最終版)
 
Bartenders brawl sponsor deck
Bartenders brawl sponsor deckBartenders brawl sponsor deck
Bartenders brawl sponsor deck
 
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ) 公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
公文書館機能普及セミナー In 佐賀(早川先生レジュメ)
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
 
0711 presentation
0711 presentation0711 presentation
0711 presentation
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
公文書館機能普及セミナー佐賀県資料
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
ใบงานที่ 5 โครงงานประเภทการพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
佐賀県内市町の公文書館機能に関する調査結果(配布用)
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
ขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานขั้นตอนการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
 
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
公文書館機能普及セミナー In 佐賀 レジュメと講師プロフィール
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 

Similar to ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน

เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
Noot Ting Tong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
Natnicha Nuanlaong
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
Pompao
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
Poom Jotikasthira
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
Angsuthorn
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Rattana Wongphu-nga
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
สุชาติ องค์มิ้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
Thank Chiro
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
Noot Ting Tong
 

Similar to ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (20)

เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
K3
K3K3
K3
 
K2
K2K2
K2
 
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับโครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
โครงงานคอมพิวเตอร์เด้อคับ
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (2)
 

More from Soldic Kalayanee

ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
Soldic Kalayanee
 
สุขศึกษาฯ
สุขศึกษาฯสุขศึกษาฯ
สุขศึกษาฯ
Soldic Kalayanee
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
Soldic Kalayanee
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
Soldic Kalayanee
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
Soldic Kalayanee
 

More from Soldic Kalayanee (9)

ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงานใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
ใบงานที่ 16 เรื่อง ปฏิทินการปฏิบัติงาน
 
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงานใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การวิเคราะห์โครงงานและเลือกโครงงาน
 
สุขศึกษาฯ
สุขศึกษาฯสุขศึกษาฯ
สุขศึกษาฯ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงานใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง ปัญหาและความจำเป็นในการทำโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 

ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน

  • 1. ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” -------------------------------------------------------------- ให้นักเรียนเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วค้นหาความหมายและตัวอย่างหัวข้อ โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน จากแหล่งข้อมูล (ห้องสมุด / อินเทอร์เน็ต) อย่าง น้อย 5 โครงงาน แล้วบันทึกลงกระดาษขนาด A4 ที่เตรียมมาพร้อมเขียน แหล่งที่มา หรือ Address ของ website ที่นักเรียนค้นหาข้อมูลเหล่านั้นด้วย ความหมายโครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน” โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ ้ ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ ่ สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผเู้ รียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการนาเอามัลติมีเดียไปประยุกต์ใช้งานในหลายๆ ด้าน เช่น  ด้านการศึกษา - ด้านการศึกษานั้นได้นาเอามัลติมเี ดียไปพัฒนาใช้และขยายตัวอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิด เครื่องมือช่วยสอนต่างๆ มากมาย และเกิดสื่ออิเล็กทรอนิกส์ช่วยสอนในรูปแบบต่างๆ - สนับสนุนและส่งเสริม การศึกษา โดยเป็นเครื่องมือช่วยรวบรวม วิเคราะห์ ออกแบบ สร้าง จัดการ ใช้งานและประเมินผล - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ลักษณะมัลติมเี ดีย - เผยแพร่การเรียนบนเว็บ เช่น e-Learning เป็นต้น - เกิดการเรียนรู้ ทางไกล  ด้านการฝึกอบรม - มีการใช้คอมพิวเตอร์ในการช่วยสอน เรียกว่า e-Training มีส่วนช่วยให้พัฒนาศักยภาพ ทางบุคลากรเป็นอย่างมาก - ปัจจุบัน มีการพัฒนาเว็บสาหรับอบรมของสถาบันฝึกอบรมหลายแห่ง เช่น สถาบัน พัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา http://www.guruonline.in.th  ด้านความบันเทิง - มัลติมีเดียได้รบความแพร่หลายในวงการบันเทิงเป็นอย่างมาก เช่น ภาพยนต์ คาราโอ ั เกะ เกมส์ ข่าว ละคร เป็นต้น - เว็บไซต์ทีวี - เกมส์ออนไลน์
  • 2.  ด้านธุรกิจ มีความสะดวกเป็นอย่างมาก ในการ - นาเสนองาน นาเสนอสินค้า - ประชุมทางไกล ทาให้การ ดาเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น  ด้านการประชาสัมพันธ์ มัลติมีเดียได้เป็นปัจจัยหลักสาคัญ ในการ - นาเสนอ และเผยแพร่ข่าวสาร - การ โฆษณาและการถ่ายทอด - ตูประชาสัมพันธ์ ้  ด้านความเป็นจริงเสมือน - ความจริงเสมือนเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ของวงการเทคโนโลยีมลติมีเดีย สามารถ ั เลียนแบบการเรียนรู้ และสัมผัสผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ในโลกแห่งความเป็นจริงเสมือน  ด้านโมบายเทคโนโลยี ได้ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เช่น - เทคโนโลยีมลติมเี ดียในโทรศัพท์เคลื่อนที่ ั รูปแบบการใช้โมบายเทคโนโลยี M-Billing M-Commerce M-Banking M-Entertainment M-Messaging ที่มา : http://chalad.wordpress.com/subject/20209-2/20209-lesson-3/ โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน ชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึงอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ่ ประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนีจะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ ้ ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิงของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของ ่ สิ่งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผเู้ รียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ที่มา : http://kruoong.blogspot.com/2011/07/blog-post_25.html
  • 3. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันอาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะ มีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมทีมีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ ่ ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการ ทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิงประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ ่ ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โปรแกรม ระบบงานการกีฬา โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผูเ้ รียน 2001 ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7 ตัวอย่างโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน ชื่อโครงการ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์(ด้านการศึกษา) ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววาสนา ขุนบุญจันทร์ และ นางสาวสุวดี ทวีสิทธิ์ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ธรกิจ ุ หลักการและเหตุผล ปัจจุบันด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ทาให้คนเราจาเป็นต้องเรียนรู้และก้าวให้ทันกับความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ของยุคของโลกเทคโนโลยีไม่ว่าจะทาอะไรล้วนมีการนาเอาเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอจะ เห็นได้จากการเรียนการสอนมีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของ โปรแกรม Microsoft Word ,PowerPoint ,Microsoft Excel,Macromedia Authorware และเพื่อให้การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับเทคโนโลยีปจจุบัน การเรียนรู้ในสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ั ดาเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความ สะดวกเพือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ ทั้งนี้ ผูสอนและผูเ้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสือการ ่ ้ ่ เรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ การจัดการเรียนการสอน ได้จัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการ เรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามความเหมาะสมของนักเรียน ดังนั้นคณะผูจัดทาจึงได้จัดทาโครงการ ้ เรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ขึ้นมา วัตถุประสงค์ 1.เพื่อการพัฒนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้มประสิทธิภาพมากขึ้น ี 2.เพื่อปรับการเรียนการสอนให้เข้าทันกับเทคโนโลยี
  • 4. 3.เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ที่มา : http://samooksasa.blogspot.com/2009/01/blog-post.html ที่มา : http://www.genedu.msu.ac.th/2553/admin/news/detail.php?id=12 ด้านการฝึ กอบรม e-Training e-Training คือ กระบวนการฝึ กอบรมผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์เป็ นกระบวนการจัดการฝึ กทักษะเพิ่มพูนสาระความรู ้ ที่เน้นให้ผเู ้ ข้ารับการ อบรมเรี ยนรู ้ดวยตนเอง ผูเ้ ข้าอบรมมีอิสระในการเข้าศึกษาเพื่อเรี ยนรู ้ตามเวลาและโอกาสที่ผเู ้ ข้าฝึ กอบรมได้ตามต้องการ ้ โดยเนื้อหาขององค์ความรู ้จะถูกออกแบบมาให้ศึกษาเรี ยนรู ้ได้โดยง่ายในรู ปแบบมัลติมีเดีย ซึ่ งประกอบด้วยสื่ อที่เป็ นข้อความ รู ปภาพหรื ออาจจะมีเสี ยง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวระบบ e-Training นี้ ผูเ้ ข้าฝึ กอบรมจะมีเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์นวัตกรรม การเรี ยนรู ้เป็ นผูให้คาปรึ กษาในการอบรมตลอดหลักสู ตร นอกจากนี้ผูเ้ ข้าอบรมยังสามารถติดต่อและปรึ กษาแลกเปลี่ยนความ ้ คิดเห็นกับอาจารย์และผูเ้ รี ยนอื่นได้ เช่นเดียวกับการอบรมในห้องอบรม หัวข้อที่จดเป็ น e-Training มีดงนี้ ั ั - การเรี ยนการสอนแบบ Case Based - การเรี ยนการสอนแบบ Child-Centered - การเรี ยนการสอนแบบ Problem Based
  • 5. - การเรี ยนการสอนแบบ Critical Thinking - การประเมินตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment) ที่มา : http://www.lic.chula.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=48&Itemid=59 ที่มา : http://ubonsci.nfe.go.th/etraining/
  • 6. ชื่อเรื่อง การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชื่อผู้วิจัย นายชนารัตน์ คาอ่อน โรงเรียน โรงเรียนระยองวิทยาคม ปีที่วิจัย พ.ศ.2552 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายดังนี้ (1) เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงาน คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนระยองวิทยาคม จังหวัด ระยอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จานวน 40 คน โดยการสุมตัวอย่างแบบง่าย เครืองมือที่ใช้ในการวิจัย ่ ่ ประกอบด้วย บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ จานวน 6 หน่วยการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t (t-test ) ผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า 1. บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรื่องโครงงานคอมพิวเตอร์ ที่พัฒนาขึ้น มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 87.28/85.79 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนทีเ่ รียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทระดับ .01 ี่ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อยู่ในระดับมากที่สุด ที่มา : http://kchanarat.multiply.com/journal?&show_interstitial=1&u=%2Fjournal
  • 7. WHOLIS : ฐานข้อมูลวัสดุตีพมพ์และไม่ตีพิมพ์ของห้องสมุดองค์การ ิ อนามัยโลกทั้ง 2 แห่ง คือ ห้องสมุดองค์การอนามัยโลกที่ประเทศ อินเดีย และทีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ (ซึงเป็นห้องสมุดหลัก Head ่ ่ Quarter) ซึ่งเปิดให้บริการสาธารณะแก่ผสนใจทั่วโลกได้สืบค้น ู้ จัดทาขึ้น 3 ภาษา ประกอบด้วยภาษาอังกฤษ ภาษาสเปน และ ภาษาฝรั่งเศส สิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่มีในฐานข้อมูลส่วนใหญ่เป็นสิงพิมพ์ที่ ่ จัดทาโดยองค์การอนามัยโลกประจาภูมิภาคต่างๆ ทีมีการแปลเป็น ่ ภาษาต่างๆ มากถึง 19 ภาษา เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี เยอรมัน รัสเซีย โปรตุเกส เป็นต้น นอกเหนือจากนั้นยังมีหนังสือจาก สานักพิมพ์ต่างๆ และจากองค์กรต่างประเทศอื่นๆ ทังของรัฐบาล ้ (Intergovernmental Agencies) และองค์กรเอกชนที่ไม่หวังผล กาไร (NGOs) วัสดุตีพิมพ์และไม่ตีพมพ์ของห้องสมุด ประกอบด้วย ิ รายงานการวิจัย รายงานการประชุม เอกสารวิชาการทีเ่ กี่ยวข้องด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ตั้งแต่ปี 1948 (Technical Document) บทความจากวารสารทั้งจากวารสารอื่นๆและวารสารทีองค์การอนามัยโลกจัดทาขึ้นมา ่ ตั้งแต่ปี 1985 เช่น บทความจากวารสาร Bulletin of the World Health Organization Weekly Epidemiological Record WHO Newsletter Press Release ม้วนวีดีโอ แผ่นซีดีรอม เป็นต้น ฐานข้อมูลประกอบด้วยระเบียนบรรณานุกรมพร้อมสาระสังเขป (Abstract) กว่า 70,000 ระเบียน และ ระเบียนบรรณานุกรมพร้อมเอกสารฉบับเต็ม (Full text) กว่า 13,000 ระเบียน โดยใช้โปรแกรม WEBSIS ใน การจัดทา รวบรวม และนาเสนอเพื่อเปิดให้สาธารณะเข้าสืบค้นด้วยระบบออนไลน์ WHOLIS ได้แบ่งประเภทเอกสารตีพิมพ์และไม่ตพิมพ์ไว้ 7 ประเภทในฐานข้อมูลดังนี้ ี (1) ANALYTIC: บทความที่อยู่ในวารสารของ WHO (2) AV: ม้วนวีดีโอ แผ่นซีดีรอม (3) E-FILE: แฟ้มข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
  • 8. (4) DOCUMENT: เอกสารวิชาการ (5) MONOGRAPH: หนังสือ (6) PERIODICAL: บทความจากวารสารอืนๆ ่ (7) E-JOURNAL : วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่มา : http://www.car.chula.ac.th/culib/v21n2y2548/article5.html รฟท. ก้าวล้า น้าหน้า พัฒนาคุณภาพการบริการ เปิดทดลองระบบจองตั๋วโดยสารผ่านระบบ Internet (e-STARS) 6 เดือน นางสาวมณฑกาญจน์ ศรีวิลาศ หัวหน้ากองประชาสัมพันธ์ แจ้งว่า เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้กับ ผู้โดยสารทีเ่ ลือกใช้บริการรถไฟเป็นยานพาหนะในการเดินทาง รฟท. จึงเพิมช่องทางการจัดจาหน่ายตั๋วเพื่อให้ ่ เข้าถึงประชาชนโดยการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยมามาพัฒนาใช้ในการจองตั๋วล่วงหน้าก่อนวัน เดินทาง 60 วัน โดยผู้โดยสารสามารถจองตั๋วหรือสารองที่นงผ่านระบบ Internet และชาระค่าโดยสารด้วย ั่ วิธีการหักบัญชีบัตรเครดิตทุกธนาคาร ในระบบ Visa และ Master Card ในการพัฒนาระบบครั้งนี้นบว่าเป็นอีก ั หนึ่งนวัตกรรมใหม่ทสามารถเปลี่ยนภาพลักษณ์ด้านการบริการของการรถไฟฯ ให้ก้าวล้า ทันสมัย ไปตาม ี่ กาลเวลาและเทคโนโลยีทเี่ ปลี่ยนแปลง โดย บริษท ปรีดาปราโมทย์ จากัด ให้ความร่วมมือในการพัฒนาระบบ ั ดังกล่าว อนึ่ง การรถไฟฯ เริมทดลองใช้ระบบ e – STARS ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2552 ถึงวันที่ 1 สิงหาคม ่ 2552 รวม 6 เดือน เฉพาะรถนอนปรับอากาศชั้น 2 ขบวนรถด่วน/ด่วนพิเศษ รวม 16 ขบวน ดังนี้ - ขบวนที่ 1/2 (กรุงเทพ – เชียงใหม่ - กรุงเทพ)
  • 9. - ขบวนที่ 13/14 (กรุงเทพ – เชียงใหม่ – กรุงเทพ) - ขบวนที่ 67/68 (กรุงเทพ – อุบลราชธานี - กรุงเทพ) - ขบวนที่ 69/70 (กรุงเทพ – หนองคาย - กรุงเทพ) - ขบวนที่ 35/36 (กรุงเทพ – บัตเตอร์เวอร์ธ - กรุงเทพ) - ขบวนที่ 37/38 (กรุงเทพ – สุไหงโกลก - กรุงเทพ) - ขบวนที่ 83/84 (กรุงเทพ – ตรัง - กรุงเทพ) - ขบวนที่ 85/86 (กรุงเทพ – นครศรีธรรมราช - กรุงเทพ) ทั้งนี้ เพื่อนาข้อมูลจากช่วงทดลองมาปรับปรุงให้ระบบมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพสมบูรณ์ รายละเอียด เพิ่มเติมติดต่อได้ที่ โทรศัพท์สายด่วน 1690 ตลอด 24 ชั่วโมง http://www.railway.co.th/seatcheck/guest/news1/viewshownew.asp?id=393 ข่าวประชาสัมพันธ์ การรถไฟแห่งประเทศไทย