SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน การบาดเจ็บและการรักษาจากการเล่นกีฬา Sport
Injuries and treatment
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นายพชร สุขสาราญ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นายพชร สุขสาราญ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม
หัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การบาดเจ็บและการรักษาจากการเล่นกีฬา
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Sport injuries and treatment
ประเภทโครงงาน การพัฒนาสุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพชร สุขสาราญ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด
และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันปัญหาการบาดเจ็บจากกีฬามีอยู่มากมาย มีทั้งที่อาการหนัก
และเบาเกิดจากสาเหตุต่างๆ เช่น การวอร์มอัพไม่เพียงพอ การใช้อวัยวะส่วน
นั้นเล่นกีฬาหนักจนเกินไป การออกกาลังกายด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น
การบาดเจ็บแต่ละอย่างมักจะมีวิธีรักษาอยู่แล้วแต่ความรุนแรงหรือการ
บาดเจ็บว่าเกิดที่ตรงไหน แต่การรักษาและระยะเวลาที่ผู้ป่วยหายนั้นมี
เวลานาน จึงเกิดแนวคิดที่จะทาแผนการทากายภาพหรือการรักษาให้มี
ประสิทธิภาพให้ได้มากที่สุด เพื่อทาให้การบาดเจ็บหายได้ไวมากยิ่งขึ้น
3
รวมถึงจะหาวิธีการที่จะป้องกันการเกิดอาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาชนิด
ต่างๆ เพื่อที่จะได้ไม่เกิดการบาดเจ็บเวลาเล่นกีฬา การบาดเจ็บตากกีฬานั้น
สามารถเกิดได้ทุกส่วนในร่างกาย เช่น แขน ขา เท้า กีฬาแต่ละประเภทเมื่อ
เกิดการบาดเจ็บมักจะเจ็บบริเวณที่ใช้งานหนัก หรือใช้บ่อย อย่างเช่น กีฬา
ฟุตบอล มักจะมีการบาดเจ็บส่วนใหญ่บริเวณเท้า ข้อเท้า ฝ่าเท้า หรือบางครั้ง
อาจเกิดที่แขน คอ ดวงตา ได้ หรืออย่างเช่นกีฬาบาสเกตบอล ก็มีการ
บาดเจ็บบริเวณเท้า และแขนเป็นส่วนใหญ่เช่นกัน ดังนั้นผมจึงจัดทา
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อศึกษาเรื่องการบาดเจ็บและวิธีการรักษาจากการเล่น
กีฬามาเพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ที่มาอ่าน เพื่อให้นาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ไม่มากก็น้อย เมื่อเวลาเกิดเหตุการณ์มีคนบาดเจ็บจะได้
ช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลหรือรักษาได้อย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อทราบถึงสาเหตุของอาการบาดเจ็บจากกีฬาแต่ละชนิด
2. เพื่อรู้ถึงวิธีการแก้ไขรักษาอาการบาดเจ็บอย่างถูกต้องและปลอดภัย
3. สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
4. เพื่อลดอัตราการบาดเจ็บจากกีฬา
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและ
ข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.สาเหตุของการบาดเจ็บ
2.วิธีการรักษาอาการบาดเจ็บ
3.วิธีป้องกันการเกิดการบาดเจ็บ
4.การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุน
การทาโครงงาน)
ในการออกกาลังกายนั้น หากออกกาลังกายไม่ถูกวิธี ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้เล่น หรือออกกาลังกายใน
สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมก็อาจทาให้เกิดการบาดเจ็บได้ ตั้งแต่เกิดจากบาดเจ็บเล็กน้อยถึงบาดเจ็บที่รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อ
ชีวิต แต่หากการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นความรุนแรงไม่มากนัก ประชาชนก็ควรที่จะสามารถดูแลตนเองได้ ดังนั้นการให้ความรู้ในการ
ดูแลตนเองสาหรับประชาชนเมื่อเกิดการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬาจึงเป็นเรื่องที่สาคัญและจาเป็นที่ประชาชนควร
จะรู้ไว้
4
การดูแลตนเองเมื่อได้รับการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายหรือเล่นกีฬาจะได้ผลดีต้องกระทาอย่างถูกวิธีและถูกเวลา โดยขึ้นกับการ
วินิจฉัยอย่างถูกต้อง ประสบการณ์ และอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย ทั้งจากแพทย์ ผู้ฝึกสอน นักกายภาพบาบัด รวมทั้งตัวผู้เล่น
เอง
การบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬา โดยทั่วไปมักเกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ
1. การกระแทกอย่างรวดเร็วและรุนแรง (contact and acute injury)
2. การใช้งานอวัยวะมากเกินหรือซ้าซาก (overused injury)
สาหรับการดูแลผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาเบื้องต้น จะดูแลในส่วนการบาดเจ็บที่เกิดทันทีในสนามเป็นส่วนใหญ่ ความ
รุนแรงของการบาดเจ็บสามารถแบ่งได้หลายระดับ ดังนี้
1. การบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น การมีแผลถลอก ผิวหนังฉีกขาด มีอาการตะคริว และมีการยืดของเอ็นยึดข้อมากเกินไป (sprains)
2. การบาดเจ็บรุนแรงปานกลาง เช่น เอ็นยึดข้อมีการฉีกขาดบางส่วน (sprain) ส่วนที่ได้รับบาดเจ็บบวม (swelling) และมีอาการ
ปวด (pain) มีอาการบาดเจ็บเมื่อเคลื่อนไหวอวัยวะดังกล่าว รวมทั้งการเคลื่อนไหวทาได้น้อยลง (decrease range of motion)
3. การบาดเจ็บรุนแรงมาก (severe injuries) เช่น มีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน มีการเสียรูปของอวัยวะและมีอาการปวดอย่างมาก
4. การบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life threatening) เช่น มีการบาดเจ็บที่รุนแรงต่อบริเวณลาคอหรือศีรษะ มีอาการหมดสติ มี
อาการแสดงความผิดปกติของการทางานของหัวใจ (heart attact)]
ปัญหาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพหรือการเล่นกีฬาเพื่อการแข่งขันมีสาเหตุหลักจากความไม่พร้อม
ของกล้ามเนื้อก่อนการใช้งาน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดภาวะบาดเจ็บจากการเล่นกีฬามีหลายสาเหตุ ได้แก่
 โครงสร้างที่ผิดปกติของร่างกายของนักกีฬา
 การขาดทักษะการใช้งานที่ถูกต้อง เช่น การใช้งานของกล้ามเนื้อที่ไม่สัมพันธ์กับท่าทางที่เหมาะสมกับกีฬานั้นๆ การขาด
ทักษะในการเคลื่อนไหวที่เฉพาะเจาะจงกับแต่ละประเภทกีฬา ซึ่งต้องอาศัยหลักทางฟิสิกส์ร่วมกับกายวิภาคศาสตร์และ
สรีรวิทยาของร่างกายที่สัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวอย่างถูกหลักวิธี
 ใช้กล้ามเนื้อระหว่างการเล่นกีฬานั้นๆ ไม่ถูกต้อง/ไม่เหมาะสม ใช้งานซ้าๆ อย่างต่อเนื่อง หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมัดใด
มัดหนึ่งมากเกินไป
 ขาดการเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการเล่นกีฬา ไม่ว่าจะเป็น
o ระยะเวลาการฝึกซ้อมไม่เพียงพอ
o รูปแบบการฝึกซ้อมไม่เหมาะสมกับประเภทกีฬานั้นๆ และขาดความต่อเนื่องของการฝึกซ้อม
o ไม่มีการยืดกล้ามเนื้อก่อน/หลัง และระหว่างการเล่นกีฬาอย่างถูกต้องและเพียงพอ
o ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและถูกวิธีเมื่อได้รับการบาดเจ็บ
 การเลือกใช้ชนิดหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่นกีฬาไม่เหมาะสมกับกีฬาแต่ละประเภท เช่น รองเท้า ชุดกีฬา อุปกรณ์กีฬา
อุปกรณ์ออกกาลังกาย
 การฝึกซ้อมไม่เฉพาะเจาะจงกับประเภทกีฬา เนื่องจากผู้ให้คาแนะนาในฝึกซ้อมขาดความรู้ในประเภทกีฬานั้นๆ
 พักผ่อนไม่เพียงพอหลังการออกกาลังกาย
5
อาการบาดเจ็บที่พบบ่อยในกีฬาประเภทต่างๆ
1. ฟุตบอล : บ่อยครั้งที่จะได้ยินข่าวนักฟุตบอลขวัญใจบาดเจ็บจากการปะทะ ซึ่งอาการที่พบมากก็จะเป็นเอ็นเข่าฉีกขาด
หรือ อักเสบ กล้ามเนื้ออักเสบ แขนหัก ไหล่หลุด
2. แบดมินตัน : อาการที่พบบ่อย เช่น กล้ามเนื้อเคล็ดขัดยอก เอ็นข้อเท้าฉีก เจ็บหัวเข่า และ ปวดข้อศอก
3. วิ่ง : จุดที่พบบ่อย คือ บริเวณข้อเท้า หัวเข่า เช่น อาการข้อเท้าแพลง กล้ามเนื้ออักเสบ หรือเอ็นหัวเข่าฉีก
4. บาสเกตบอล : มักพบอาการข้อเท้าเคล็ด เอ็นข้อเท้าฉีก นิ้วหลุดหรือหัก ไหล่หลุด แขนหัก หรือการบาดเจ็บจากการชน
ปะทะกับผู้เล่นรายอื่น
5. เทนนิส : มักพบอาการบาดเจ็บบริเวณข้อมือ ข้อเท้า บ่อยที่สุด เช่น กระดูกข้อมือหัก กล้ามเนื้ออักเสบ หมอนรองกระดูก
ข้อมือฉีก รวมไปถึงอาการปวดสะโพกและโรคข้อเข่า
6. ว่ายน้า : เป็นกีฬาที่อาการบาดเจ็บมักเกิดจากเอ็นไหล่อักเสบ ไหล่หลุด เป็นหูน้าหนวก หรือ กล้ามเนื้อสะโพกอักเสบ
7. กอล์ฟ : ลักษณะการบาดเจ็บมักเกิดบริเวณมือ ข้อมือ และหลัง เช่น ผิวหนังบริเวณมือบวมพอง ข้อมืออักเสบ ปวดหลัง
นิ้วล็อค เอ็นข้อศอกอักเสบ เอ็นข้อมืออักเสบ ปวดคอ และกล้ามเนื้อสะบักอักเสบ
หลักการสาคัญในการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บ ควรปฏิบัติดังนี้
1. อย่าตื่นเต้นหรือตกใจ พยายามตั้งสติให้มั่น เพื่อการติดสินใจที่ถูกต้อง แล้วจึงทาการพยาบาลตามลาดับความสาคัญ
2. รีบให้การปฐมพยาบาลต่อการบาดเจ็บที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตก่อนอื่นโดยเร็ว เช่น หัวใจหยุดเต้น การหายใจขัด การตก
เลือด เป็นต้น
3. ห้ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บนอนราบและเอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง ยกเว้นในกรณีที่มีหลักฐานหรือเกิดการบาดเจ็บบริเวณลาคอ
ให้นอนศีรษะตรง โดยมีหมอนหรือวัสดุอื่นใดที่คล้ายๆ กันประกบศีรษะ เพื่อประคองให้ศีรษะอยู่ในท่าตรงตลอดเวลา
4. ถ้ามีผู้บาดเจ็บหลายๆ รายพร้อมกัน ให้พิจารณาดูความสาคัญว่ารายใดควรได้รับการปฐมพยาบาลก่อน
5. ทาการปฐมพยาบาลอย่างนุ่มนวลและรวดเร็วด้วยเครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาด
6. ปลดเปลื้องเครื่องนุ่งห่มที่ทาให้การปฐมพยาบาลทาได้ไม่สะดวกหรืออาจรัดแน่นเกินไป
7. อย่าให้น้า อาหาร หรือยาแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บที่ช่องท้องหรือหมดสติ เพราะอาจจะทาให้อาเจียน
สาลัก
6
8. ไม่ควรให้ยาแก้ปวดแก่ผู้ที่ได้รับการกระทบกระเทือนที่สมอง เพราะจะทาให้บดบังอาการทางสมอง
9. ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องให้การปฐมพยาบาลเรียบร้อยก่อนทุกครั้ง
10. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องทาให้ถูกต้องตามลักษณะการบาดเจ็บนั้นๆ เช่น อาจใช้การประคอง หาม อุ้ม หรือใช้เปลและควร
ติดตามดูแลในระหว่างทางจนกระทั่งถึงมือแพทย์
หลักการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬา
เริ่มจากการตรวจร่างกายเพื่อประเมินลักษณะความรุนแรงของบาดแผลหรือการบาดเจ็บที่ได้รับ รวมทั้งซักถามอาการจากนักกีฬา
เช่น มีบวมหรือกดเจ็บ มีอาการปวดขณะเคลื่อนหรือขยับส่วนนั้นๆ หรือไม่ หลังจากได้ข้อมูลการบาดเจ็บแล้วให้เริ่มทาการปฐม
พยาบาลโดยปฏิบัติตามอักษรภาษาอังกฤษในคาว่า "RICE" โดยที่
R ใช้แทนคาว่า Rest
I ใช้แทนคาว่า Ice
C ใช้แทนคาว่า Compression
E ใช้แทนคาว่า Elevation
รายละเอียดของการปฏิบัติตามแนวทาง RICE มีดังนี้
1.การพัก (Rest) การหยุดใช้งานส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บทันที นั่นคือให้หยุดการเล่นกีฬา โดยเฉพาะในช่วง 6 ชั่วโมงแรก
ของการบาดเจ็บ ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่สาคัญควรมีการได้พักการใช้งาน อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือ
ออกกาลังกายต้องการเวลาพักประมาณ 48 ชั่วโมง ก่อนที่จะมีการเริ่มเคลื่อนไหว (mobilization) อีกครั้ง
2.การใช้ความเย็น (Ice) โดยการประคบเย็นซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการมีเลือดออกบริเวณเนื้อเยื่อ ลดบวม และอาการปวดได้
ระยะเวลาการประคบเย็นต้องกระทาให้เหมาะสมกับบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ โดยทั่วไปการประคบเย็นให้ประคบนานครั้งละ 10
ถึง 20 นาที หยุดประคบ 5 นาที ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งไม่บวม หรือทาวันละ 2 ถึง 3 ครั้ง วิธีที่นิยมใช้ในการประคบเย็น ได้แก่
3.การใช้เป็นถุงเย็น (ice pack) ซึ่งจะคงความเย็นได้ประมาณ 45-60 นาที และต้องมีผ้าห่อไว้ไม่ให้ถุงเย็นสัมผัสโดยตรงกับผิวหนัง
การใช้ถุงใส่น้าแข็ง ผ้าชุบน้าเย็น ในกรณีที่ไม่มีถุงเย็นหรือบริเวณของการบาดเจ็บกว้างเกินขนาดของถุงเย็น
7
การพ่นด้วยสเปรย์เย็น (cooling spray) อาจใช้ลดปวดเฉพาะที่ได้ชั่วคราว สามารถใช้ได้กับบริเวณที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังไม่หนา เช่น
คาง สันหมัด ข้อเท้า
4.การพันผ้ายืด (Compression) เพื่อกดไม่ให้มีเลือดออกในเนื้อเยื่อมาก มักใช้ร่วมกับการประคบเย็น เพื่อให้ได้ประโยชน์จากทั้ง
สองด้านร่วมกัน การพันผ้ายืดควรพันให้กระชับส่วนที่บาดเจ็บ และควรใช้ผ้าสาลีผืนใหญ่รองไว้ให้หนาๆ โดยรอบก่อนพันด้วยผ้า
ยืด ควรพันผ้ายืดคลุมเหนือและใต้ต่อส่วนที่บาดเจ็บ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- คิดหัวข้อโครงงาน
- ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล
- จัดทาโครงร่าง
- ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
- ทดสอบและทาการปรับปรุง
- ทาเอกสารรายงาน
- ประเมิณผลงาน
- นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- คอมพิวเตอร์
- เครื่องช่วยเตือนและแนะนาการเล่นกีฬา
- เครื่องปฐมพยาบาล
- เครื่องช่วยการรักษาการบาดเจ็บของกีฬาแต่ละประเภท
งบประมาณ
- 1.55 ล้านบาท
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1 คิดหัวข้อโครงงาน ⁄ ⁄ พชร
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
⁄ พชร
3 จัดทาโครงร่างงาน ⁄ ⁄ พชร
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
⁄ ⁄ พชร
5 ปรับปรุงทดสอบ ⁄ พชร
6 การทา
เอกสารรายงาน
⁄ พชร
7 ประเมินผลงาน ⁄ พชร
8 นาเสนอโครงงาน ⁄ พชร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุด
การทาโครงงาน)
1.ได้ทราบถึงการออกกาลังกายอย่างถูกต้อง
2.ได้รู้วิธีรักษาการบาดเจ็บเหล่านั้น
3. ได้ลดปัญหาการบาดเจ็บจากกีฬาเรื้อรัง
4. คาดว่าผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานนี้จะสามารถนาความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
สถานที่ดาเนินการ
- สนามกีฬาเทศบาลเชียงใหม่
- ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- สุขศึกษา
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- คอมพิวเตอร์
9
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การ
ทาโครงงาน)
1. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Saijai_P.pdf
2. http://www.mission-hospital.org/th/excellent-center/116-
articles/823
3. http://thonburihospital.com/2015_new
4. http://www.natui.com.au/articles/item/view

More Related Content

Similar to 2561 project -2 (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Kingg 16
Kingg 16Kingg 16
Kingg 16
 
King 16
King 16King 16
King 16
 
2560 project 1
2560 project 12560 project 1
2560 project 1
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
Thipwana
 
101245
101245101245
101245
 
2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้
 
101245
101245101245
101245
 
บอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 projectบอลลูนหัวใจ2560 project
บอลลูนหัวใจ2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Activity6 612 09
Activity6 612 09Activity6 612 09
Activity6 612 09
 
โครงงานวอลเลย์บอล
โครงงานวอลเลย์บอลโครงงานวอลเลย์บอล
โครงงานวอลเลย์บอล
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Kasidech
KasidechKasidech
Kasidech
 

2561 project -2

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การบาดเจ็บและการรักษาจากการเล่นกีฬา Sport Injuries and treatment ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นายพชร สุขสาราญ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นายพชร สุขสาราญ เลขที่ 28 ชั้น ม.6 ห้อง 10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม หัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การบาดเจ็บและการรักษาจากการเล่นกีฬา ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Sport injuries and treatment ประเภทโครงงาน การพัฒนาสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นายพชร สุขสาราญ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันปัญหาการบาดเจ็บจากกีฬามีอยู่มากมาย มีทั้งที่อาการหนัก และเบาเกิดจากสาเหตุต่างๆ เช่น การวอร์มอัพไม่เพียงพอ การใช้อวัยวะส่วน นั้นเล่นกีฬาหนักจนเกินไป การออกกาลังกายด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น การบาดเจ็บแต่ละอย่างมักจะมีวิธีรักษาอยู่แล้วแต่ความรุนแรงหรือการ บาดเจ็บว่าเกิดที่ตรงไหน แต่การรักษาและระยะเวลาที่ผู้ป่วยหายนั้นมี เวลานาน จึงเกิดแนวคิดที่จะทาแผนการทากายภาพหรือการรักษาให้มี ประสิทธิภาพให้ได้มากที่สุด เพื่อทาให้การบาดเจ็บหายได้ไวมากยิ่งขึ้น
  • 3. 3 รวมถึงจะหาวิธีการที่จะป้องกันการเกิดอาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาชนิด ต่างๆ เพื่อที่จะได้ไม่เกิดการบาดเจ็บเวลาเล่นกีฬา การบาดเจ็บตากกีฬานั้น สามารถเกิดได้ทุกส่วนในร่างกาย เช่น แขน ขา เท้า กีฬาแต่ละประเภทเมื่อ เกิดการบาดเจ็บมักจะเจ็บบริเวณที่ใช้งานหนัก หรือใช้บ่อย อย่างเช่น กีฬา ฟุตบอล มักจะมีการบาดเจ็บส่วนใหญ่บริเวณเท้า ข้อเท้า ฝ่าเท้า หรือบางครั้ง อาจเกิดที่แขน คอ ดวงตา ได้ หรืออย่างเช่นกีฬาบาสเกตบอล ก็มีการ บาดเจ็บบริเวณเท้า และแขนเป็นส่วนใหญ่เช่นกัน ดังนั้นผมจึงจัดทา โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อศึกษาเรื่องการบาดเจ็บและวิธีการรักษาจากการเล่น กีฬามาเพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ที่มาอ่าน เพื่อให้นาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ไม่มากก็น้อย เมื่อเวลาเกิดเหตุการณ์มีคนบาดเจ็บจะได้ ช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลหรือรักษาได้อย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อทราบถึงสาเหตุของอาการบาดเจ็บจากกีฬาแต่ละชนิด 2. เพื่อรู้ถึงวิธีการแก้ไขรักษาอาการบาดเจ็บอย่างถูกต้องและปลอดภัย 3. สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4. เพื่อลดอัตราการบาดเจ็บจากกีฬา ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและ ข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.สาเหตุของการบาดเจ็บ 2.วิธีการรักษาอาการบาดเจ็บ 3.วิธีป้องกันการเกิดการบาดเจ็บ 4.การปฐมพยาบาลการบาดเจ็บ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุน การทาโครงงาน) ในการออกกาลังกายนั้น หากออกกาลังกายไม่ถูกวิธี ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้เล่น หรือออกกาลังกายใน สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมก็อาจทาให้เกิดการบาดเจ็บได้ ตั้งแต่เกิดจากบาดเจ็บเล็กน้อยถึงบาดเจ็บที่รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อ ชีวิต แต่หากการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นความรุนแรงไม่มากนัก ประชาชนก็ควรที่จะสามารถดูแลตนเองได้ ดังนั้นการให้ความรู้ในการ ดูแลตนเองสาหรับประชาชนเมื่อเกิดการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬาจึงเป็นเรื่องที่สาคัญและจาเป็นที่ประชาชนควร จะรู้ไว้
  • 4. 4 การดูแลตนเองเมื่อได้รับการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายหรือเล่นกีฬาจะได้ผลดีต้องกระทาอย่างถูกวิธีและถูกเวลา โดยขึ้นกับการ วินิจฉัยอย่างถูกต้อง ประสบการณ์ และอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย ทั้งจากแพทย์ ผู้ฝึกสอน นักกายภาพบาบัด รวมทั้งตัวผู้เล่น เอง การบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬา โดยทั่วไปมักเกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ 1. การกระแทกอย่างรวดเร็วและรุนแรง (contact and acute injury) 2. การใช้งานอวัยวะมากเกินหรือซ้าซาก (overused injury) สาหรับการดูแลผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาเบื้องต้น จะดูแลในส่วนการบาดเจ็บที่เกิดทันทีในสนามเป็นส่วนใหญ่ ความ รุนแรงของการบาดเจ็บสามารถแบ่งได้หลายระดับ ดังนี้ 1. การบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น การมีแผลถลอก ผิวหนังฉีกขาด มีอาการตะคริว และมีการยืดของเอ็นยึดข้อมากเกินไป (sprains) 2. การบาดเจ็บรุนแรงปานกลาง เช่น เอ็นยึดข้อมีการฉีกขาดบางส่วน (sprain) ส่วนที่ได้รับบาดเจ็บบวม (swelling) และมีอาการ ปวด (pain) มีอาการบาดเจ็บเมื่อเคลื่อนไหวอวัยวะดังกล่าว รวมทั้งการเคลื่อนไหวทาได้น้อยลง (decrease range of motion) 3. การบาดเจ็บรุนแรงมาก (severe injuries) เช่น มีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน มีการเสียรูปของอวัยวะและมีอาการปวดอย่างมาก 4. การบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life threatening) เช่น มีการบาดเจ็บที่รุนแรงต่อบริเวณลาคอหรือศีรษะ มีอาการหมดสติ มี อาการแสดงความผิดปกติของการทางานของหัวใจ (heart attact)] ปัญหาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพหรือการเล่นกีฬาเพื่อการแข่งขันมีสาเหตุหลักจากความไม่พร้อม ของกล้ามเนื้อก่อนการใช้งาน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดภาวะบาดเจ็บจากการเล่นกีฬามีหลายสาเหตุ ได้แก่  โครงสร้างที่ผิดปกติของร่างกายของนักกีฬา  การขาดทักษะการใช้งานที่ถูกต้อง เช่น การใช้งานของกล้ามเนื้อที่ไม่สัมพันธ์กับท่าทางที่เหมาะสมกับกีฬานั้นๆ การขาด ทักษะในการเคลื่อนไหวที่เฉพาะเจาะจงกับแต่ละประเภทกีฬา ซึ่งต้องอาศัยหลักทางฟิสิกส์ร่วมกับกายวิภาคศาสตร์และ สรีรวิทยาของร่างกายที่สัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวอย่างถูกหลักวิธี  ใช้กล้ามเนื้อระหว่างการเล่นกีฬานั้นๆ ไม่ถูกต้อง/ไม่เหมาะสม ใช้งานซ้าๆ อย่างต่อเนื่อง หรือมีการใช้งานกล้ามเนื้อมัดใด มัดหนึ่งมากเกินไป  ขาดการเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการเล่นกีฬา ไม่ว่าจะเป็น o ระยะเวลาการฝึกซ้อมไม่เพียงพอ o รูปแบบการฝึกซ้อมไม่เหมาะสมกับประเภทกีฬานั้นๆ และขาดความต่อเนื่องของการฝึกซ้อม o ไม่มีการยืดกล้ามเนื้อก่อน/หลัง และระหว่างการเล่นกีฬาอย่างถูกต้องและเพียงพอ o ไม่ได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องและถูกวิธีเมื่อได้รับการบาดเจ็บ  การเลือกใช้ชนิดหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่นกีฬาไม่เหมาะสมกับกีฬาแต่ละประเภท เช่น รองเท้า ชุดกีฬา อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์ออกกาลังกาย  การฝึกซ้อมไม่เฉพาะเจาะจงกับประเภทกีฬา เนื่องจากผู้ให้คาแนะนาในฝึกซ้อมขาดความรู้ในประเภทกีฬานั้นๆ  พักผ่อนไม่เพียงพอหลังการออกกาลังกาย
  • 5. 5 อาการบาดเจ็บที่พบบ่อยในกีฬาประเภทต่างๆ 1. ฟุตบอล : บ่อยครั้งที่จะได้ยินข่าวนักฟุตบอลขวัญใจบาดเจ็บจากการปะทะ ซึ่งอาการที่พบมากก็จะเป็นเอ็นเข่าฉีกขาด หรือ อักเสบ กล้ามเนื้ออักเสบ แขนหัก ไหล่หลุด 2. แบดมินตัน : อาการที่พบบ่อย เช่น กล้ามเนื้อเคล็ดขัดยอก เอ็นข้อเท้าฉีก เจ็บหัวเข่า และ ปวดข้อศอก 3. วิ่ง : จุดที่พบบ่อย คือ บริเวณข้อเท้า หัวเข่า เช่น อาการข้อเท้าแพลง กล้ามเนื้ออักเสบ หรือเอ็นหัวเข่าฉีก 4. บาสเกตบอล : มักพบอาการข้อเท้าเคล็ด เอ็นข้อเท้าฉีก นิ้วหลุดหรือหัก ไหล่หลุด แขนหัก หรือการบาดเจ็บจากการชน ปะทะกับผู้เล่นรายอื่น 5. เทนนิส : มักพบอาการบาดเจ็บบริเวณข้อมือ ข้อเท้า บ่อยที่สุด เช่น กระดูกข้อมือหัก กล้ามเนื้ออักเสบ หมอนรองกระดูก ข้อมือฉีก รวมไปถึงอาการปวดสะโพกและโรคข้อเข่า 6. ว่ายน้า : เป็นกีฬาที่อาการบาดเจ็บมักเกิดจากเอ็นไหล่อักเสบ ไหล่หลุด เป็นหูน้าหนวก หรือ กล้ามเนื้อสะโพกอักเสบ 7. กอล์ฟ : ลักษณะการบาดเจ็บมักเกิดบริเวณมือ ข้อมือ และหลัง เช่น ผิวหนังบริเวณมือบวมพอง ข้อมืออักเสบ ปวดหลัง นิ้วล็อค เอ็นข้อศอกอักเสบ เอ็นข้อมืออักเสบ ปวดคอ และกล้ามเนื้อสะบักอักเสบ หลักการสาคัญในการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บ ควรปฏิบัติดังนี้ 1. อย่าตื่นเต้นหรือตกใจ พยายามตั้งสติให้มั่น เพื่อการติดสินใจที่ถูกต้อง แล้วจึงทาการพยาบาลตามลาดับความสาคัญ 2. รีบให้การปฐมพยาบาลต่อการบาดเจ็บที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิตก่อนอื่นโดยเร็ว เช่น หัวใจหยุดเต้น การหายใจขัด การตก เลือด เป็นต้น 3. ห้ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บนอนราบและเอียงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง ยกเว้นในกรณีที่มีหลักฐานหรือเกิดการบาดเจ็บบริเวณลาคอ ให้นอนศีรษะตรง โดยมีหมอนหรือวัสดุอื่นใดที่คล้ายๆ กันประกบศีรษะ เพื่อประคองให้ศีรษะอยู่ในท่าตรงตลอดเวลา 4. ถ้ามีผู้บาดเจ็บหลายๆ รายพร้อมกัน ให้พิจารณาดูความสาคัญว่ารายใดควรได้รับการปฐมพยาบาลก่อน 5. ทาการปฐมพยาบาลอย่างนุ่มนวลและรวดเร็วด้วยเครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาด 6. ปลดเปลื้องเครื่องนุ่งห่มที่ทาให้การปฐมพยาบาลทาได้ไม่สะดวกหรืออาจรัดแน่นเกินไป 7. อย่าให้น้า อาหาร หรือยาแก่ผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บที่ช่องท้องหรือหมดสติ เพราะอาจจะทาให้อาเจียน สาลัก
  • 6. 6 8. ไม่ควรให้ยาแก้ปวดแก่ผู้ที่ได้รับการกระทบกระเทือนที่สมอง เพราะจะทาให้บดบังอาการทางสมอง 9. ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องให้การปฐมพยาบาลเรียบร้อยก่อนทุกครั้ง 10. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยต้องทาให้ถูกต้องตามลักษณะการบาดเจ็บนั้นๆ เช่น อาจใช้การประคอง หาม อุ้ม หรือใช้เปลและควร ติดตามดูแลในระหว่างทางจนกระทั่งถึงมือแพทย์ หลักการปฐมพยาบาลการบาดเจ็บจากการออกกาลังกายและเล่นกีฬา เริ่มจากการตรวจร่างกายเพื่อประเมินลักษณะความรุนแรงของบาดแผลหรือการบาดเจ็บที่ได้รับ รวมทั้งซักถามอาการจากนักกีฬา เช่น มีบวมหรือกดเจ็บ มีอาการปวดขณะเคลื่อนหรือขยับส่วนนั้นๆ หรือไม่ หลังจากได้ข้อมูลการบาดเจ็บแล้วให้เริ่มทาการปฐม พยาบาลโดยปฏิบัติตามอักษรภาษาอังกฤษในคาว่า "RICE" โดยที่ R ใช้แทนคาว่า Rest I ใช้แทนคาว่า Ice C ใช้แทนคาว่า Compression E ใช้แทนคาว่า Elevation รายละเอียดของการปฏิบัติตามแนวทาง RICE มีดังนี้ 1.การพัก (Rest) การหยุดใช้งานส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บทันที นั่นคือให้หยุดการเล่นกีฬา โดยเฉพาะในช่วง 6 ชั่วโมงแรก ของการบาดเจ็บ ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่สาคัญควรมีการได้พักการใช้งาน อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่แล้วการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือ ออกกาลังกายต้องการเวลาพักประมาณ 48 ชั่วโมง ก่อนที่จะมีการเริ่มเคลื่อนไหว (mobilization) อีกครั้ง 2.การใช้ความเย็น (Ice) โดยการประคบเย็นซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดการมีเลือดออกบริเวณเนื้อเยื่อ ลดบวม และอาการปวดได้ ระยะเวลาการประคบเย็นต้องกระทาให้เหมาะสมกับบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ โดยทั่วไปการประคบเย็นให้ประคบนานครั้งละ 10 ถึง 20 นาที หยุดประคบ 5 นาที ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งไม่บวม หรือทาวันละ 2 ถึง 3 ครั้ง วิธีที่นิยมใช้ในการประคบเย็น ได้แก่ 3.การใช้เป็นถุงเย็น (ice pack) ซึ่งจะคงความเย็นได้ประมาณ 45-60 นาที และต้องมีผ้าห่อไว้ไม่ให้ถุงเย็นสัมผัสโดยตรงกับผิวหนัง การใช้ถุงใส่น้าแข็ง ผ้าชุบน้าเย็น ในกรณีที่ไม่มีถุงเย็นหรือบริเวณของการบาดเจ็บกว้างเกินขนาดของถุงเย็น
  • 7. 7 การพ่นด้วยสเปรย์เย็น (cooling spray) อาจใช้ลดปวดเฉพาะที่ได้ชั่วคราว สามารถใช้ได้กับบริเวณที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังไม่หนา เช่น คาง สันหมัด ข้อเท้า 4.การพันผ้ายืด (Compression) เพื่อกดไม่ให้มีเลือดออกในเนื้อเยื่อมาก มักใช้ร่วมกับการประคบเย็น เพื่อให้ได้ประโยชน์จากทั้ง สองด้านร่วมกัน การพันผ้ายืดควรพันให้กระชับส่วนที่บาดเจ็บ และควรใช้ผ้าสาลีผืนใหญ่รองไว้ให้หนาๆ โดยรอบก่อนพันด้วยผ้า ยืด ควรพันผ้ายืดคลุมเหนือและใต้ต่อส่วนที่บาดเจ็บ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - คิดหัวข้อโครงงาน - ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูล - จัดทาโครงร่าง - ปฏิบัติการสร้างโครงงาน - ทดสอบและทาการปรับปรุง - ทาเอกสารรายงาน - ประเมิณผลงาน - นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - คอมพิวเตอร์ - เครื่องช่วยเตือนและแนะนาการเล่นกีฬา - เครื่องปฐมพยาบาล - เครื่องช่วยการรักษาการบาดเจ็บของกีฬาแต่ละประเภท งบประมาณ - 1.55 ล้านบาท
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 คิดหัวข้อโครงงาน ⁄ ⁄ พชร 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล ⁄ พชร 3 จัดทาโครงร่างงาน ⁄ ⁄ พชร 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ⁄ ⁄ พชร 5 ปรับปรุงทดสอบ ⁄ พชร 6 การทา เอกสารรายงาน ⁄ พชร 7 ประเมินผลงาน ⁄ พชร 8 นาเสนอโครงงาน ⁄ พชร ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุด การทาโครงงาน) 1.ได้ทราบถึงการออกกาลังกายอย่างถูกต้อง 2.ได้รู้วิธีรักษาการบาดเจ็บเหล่านั้น 3. ได้ลดปัญหาการบาดเจ็บจากกีฬาเรื้อรัง 4. คาดว่าผู้ที่ได้ศึกษาโครงงานนี้จะสามารถนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ สถานที่ดาเนินการ - สนามกีฬาเทศบาลเชียงใหม่ - ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - สุขศึกษา - วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ - คอมพิวเตอร์
  • 9. 9 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การ ทาโครงงาน) 1. http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Saijai_P.pdf 2. http://www.mission-hospital.org/th/excellent-center/116- articles/823 3. http://thonburihospital.com/2015_new 4. http://www.natui.com.au/articles/item/view