SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน SyErythematosus Lupusstemic SLE,
เอส แอล อี...ไม่น่ากลัวอย่างที่คุณคิด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. น.ส.ทิพย์วนา นามสูง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 9
2. น.ส.วินัดดา จอยศิริ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
1. น.ส.ทิพย์วนา นามสูง เลขที่ 1 2. น.ส.วินัดดา จอยศิริ เลขที่ 2
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
เอสแอลอี...ไม่น่ากลัวอย่างที่คุณคิด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
SyErythematosus Lupusstemic SLE
ประเภทโครงงาน คอมพิวเตอร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ทิพย์วนา นามสูง
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
SLE หรือโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองเป็นโรคที่ในปัจจุบันพบได้บ่อยในคนทั่วไป โรคนี้เกิดจากมีความผิดปกติของ
ระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ของตนเอง มีผลทา
ให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆทั่วตัว ผู้ป่วยจึงมีอาการได้มากมายหลายอย่างเพราะระบบต่างๆทั่ว
ร่างกายเกิดความผิดปกติได้เกือบหมด ในการเกิดโรคนี้ยังไม่มีข้อมูลแน่ชัด แต่จากการศึกษาพบว่าเกินขึ้นจากปัจจัย
ด้านพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีส่วนและบทบาทร่วมกันในการเกิดโรค ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดความ
ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือโรคเอสแอลอีนี้อย่างแน่ชัด ถือเป็นโรคที่รุนแรงแต่ไม่ได้อันตรายมากท่าไหร่ เพราะใน
ปัจจุบันมียาควบคุมการกาเริบของโรคนี้แล้วจึงไม่ต้องกังวลมากเหมือนเมื่อก่อน คนที่เป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง
(SLE) มักที่จะมีอาการผื่นคันบนใบหน้า โดยเฉพาะที่จมูก คาง และแก้มทั้งสองข้าง จึงทาให้เกิดรอยรอยแผลแดงๆ
ไม่เพียงแต่ผิวหนังแต่เป็นอวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนอื่นๆด้วย SLE เป็นโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง อาการของผู้ป่วยจะ
เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายและเป็นอันตรายถึงชีวิตถ้าไม่รักษาให้ทันเวลาระหว่างที่อาการลุกลามเฉียบพลัน ไม่มีการรักษาโรค
SLE ที่หายขาด อาการพวกนี้ไม่สามารถควบคุมได้โดยไม่ทาให้ลุกลามหากรักษาอย่างถูกต้องและทาให้ผู้ป่วยกลับไป
ทางานและใช้ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อต้องการศึกษาเกี่ยวกับโรค SLE
2.เพื่อต้องการรู้วิธีป้องกันการเกิดโรค SLE
3.เพื่อต้องการให้ผู้อื่นรู้จักโรค SLE และได้รู้ว่าโรค SLE ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. SLE คืออะไร
2.อาการของโรค SLE
3.การรักษาโรค SLE
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
SLE เป็นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย และมักมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะเมื่อมีอาการทางไตร่วมด้วย โรคนี้
มีอาการและอาการแสดง, การดาเนินโรค, การตอบสนองต่อการรักษาและการพยากรณ์โรคได้หลากหลาย โรคนี้เกิด
จากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และส่วนประกอบต่าง ๆ ของ
เซลล์ของตนเอง มีผลทาให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ทั่วตัว ผู้ป่วยจึงมีอาการได้มากมายหลาย
อย่างเพราะระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกายเกิดความผิดปกติได้เกือบหมด
กลไกลการเกิดโรค
กลไกการเกิดโรคที่แน่นอนยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่จากการศึกษาพบว่าปัจจัยทั้งด้านพันธุกรรมและ
สิ่งแวดล้อมมีส่วนและบทบาทร่วมกันในการก่อโรค
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน แต่การที่เพศหญิงวัยเจริญพันธุ์เป็น
โรคนี้มากกว่าเพศชายถึง 9-13 เท่า การที่อัตราการเกิดโรคของหญิงต่อชายลดลงก่อนและหลังมีประจาเดือน ช่วงมี
4
ประจาเดือนมีการเปลี่ยนแปลงของความรุนแรงของโรค การที่โรคกาเริบขึ้นในช่วงหลังของการตั้งครรภ์และหลังคลอด
บ่งชี้ว่าฮอร์โมนเพศ น่าจะมีบทบาทต่อการเกิดโรคนี้ จากการศึกษาพบว่าฮอร์โมนเพศหญิงส่งเสริมการเกิดโรคนี้ใน
สัตว์ทดลอง ส่วนฮอร์โมนเพศชายลดการเกิดโรค สาหรับปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดโรค หรือทาให้โรคที่เป็นอยู่
กาเริบ มี แสงอัลตราไวโอเล็ต สารเคมีบางชนิด เช่น น้ายาย้อมผม และยาบางอย่าง นอกจากนั้นเชื้อโรคต่าง ๆ ก็อาจ
กระตุ้นให้โรคกาเริบได้เช่นกัน
อาการ
อาการของโรคมีได้ตั้งแต่ไม่มีอาการหรือมีน้อยมากแค่รู้สึกอ่อนเพลีย จนถึงมีอาการรุนแรงมาก หากไม่ได้รับ
การรักษาอย่างทันท่วงทีจะถึงแก่กรรมได้ อาการอาจเกิดขึ้นทีละอย่าง หรือ หลายอย่างหรือเกิดขึ้นพร้อมกันหมดก็ได้
ระบบที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย คือ ผิวหนัง, ข้อ และไต อาการมีดังต่อไปนี้
อาการทั่วไป
อาการทั่วไป มี อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักตัวลดลง ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ เป็น ๆ หาย ๆ
อาการทางผิวหนัง
อาการทางผิวหนัง มี ผื่นแดงที่หน้าบริเวณโหนกแก้ม แพ้แดด ผมร่วง แผลที่ริมฝีปากและข้างในปาก ลมพิษ
จุดแดงตามผิวหนังโดยเฉพาะที่ปลายนิ้วมือนิ้วเท้า ปวดปลายนิ้วมือเท้าเวลาถูกความเย็น เป็นต้น
อาการทางระบบข้อ กล้ามเนื้อ และกระดูก
อาการทางข้อมักเริ่มด้วยอาการปวดอย่างเดียวก่อน ต่อมาจึงมีบวม แดง และร้อน เป็นได้กับข้อต่าง ๆ ทั่ว
ตัว แล้วตามด้วยอาการข้อแข็งตอนเช้า พบข้อพิการประมาณร้อยละ 10 สาหรับกล้ามเนื้อและกระดูก พบ มีอาการ
ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออักเสบ และกระดูกเสื่อม
อาการทางไต
อาการทางไตพบได้บ่อย มี บวม ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะน้อยลง และอาการที่เกิดจากภาวะไตวาย ซึ่งใน
บางกรณีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเป็นสาเหตุตายได้
อาการทางระบบประสาท
เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการทางระบบประสาท ซึ่งมีได้หลายอย่างตั้งแต่ปวดศีรษะ ชัก ซึม
จนถึงหมดสติได้ นอกจากนั้นก็อาจมีเลือดออกในสมอง อัมพฤกษ์ และอัมพาต
ส่วนทางด้านจิตใจก็มีการเปลี่ยนแปลงด้วย อาจมีอาการซึมเศร้า สับสนจนพูดไม่รู้เรื่อง
อาการทางเลือด
จากการที่มีภูมิต่อต้านเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ทาให้มีการทาลายเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด
ทาให้เกิดอาการซีด ติดเชื้อง่ายเพราะเม็ดเลือดขาวลดลง และเลือดออกง่ายเพราะเกร็ดเลือดลดลง
อาการทางหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด
อาการที่พบมีหอบเหนื่อยนอนราบไม่ได้จากภาวะหัวใจล้มเหลว ชีพจรเต้นผิดจังหวะจากกล้ามเนื้อหัวใจ
อักเสบ และอาจมีอาการเจ็บตื้อที่หน้าอกด้านซ้ายจากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ซึ่งเกิดจากมีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดที่
เลี้ยงหัวใจ นอกจากนั้นอาจพบว่ามีความดันโลหิตสูง
อาการทางระบบทางเดินหายใจ
อาจพบอาการเหนื่อย เจ็บเสียวหน้าอก ไอ อาการของทางระบบทางเดินหายใจนี้ แม้จะพบไม่บ่อยแต่ก็มี
ความสาคัญ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจเป็นสาเหตุตายได้
อาการทางระบบทางเดินอาหาร
มีอาการปวดท้องซึ่งอาจเกิดจากมีการอักเสบของลาไส้หรือตับอ่อนก็ได้ นอกจากอาการต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว
ยังอาจมีอาการตาแห้ง ปากแห้งด้วยอาการต่าง ๆ อาจเกิดทีละอย่าง อย่างไหนก่อนก็ได้หรืออาจเกิดพร้อมกันหลาย
อย่างก็ได้
การวินิจฉัย
5
เอส. แอล. อี เป็นโรคที่วินิจฉัยยาก เพราะมีอาการมากมาย และอาการต่าง ๆ ยังเหมือนกับโรคอื่นๆ ด้วย
โดยเฉพาะในระยะแรกของโรค การวินิจฉัยต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจเลือด ซึ่งอาจต้องทาซ้า
หลายครั้งจึงจะทราบ
การรักษา
ยาที่ใช้ในการรักษามีหลายอย่าง การเลือกใช้ยาทั้งชนิดและขนาดขึ้นกับความรุนแรงของโรค โดยทั่วไป
แพทย์จะเลือกใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน ในขณะที่โรคกาลังรุนแรงต้องใช้ยาขนาดสูงและอาจต้องใช้ยาหลาย
ชนิด บางครั้งอาจเกิดผลข้างเคียงขึ้นได้ แต่ก็ยังคงต้องให้ยาเพราะมิฉะนั้นผู้ป่วยอาจเสียชีวิตจากโรคได้ โรคนี้ถ้ารักษา
เต็มที่จนโรคสงบสามารถลดยาและขนาดยาลงได้ ผู้ป่วยสามารถทางานได้ตามปกติและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
การปฏิบัติตนของผู้ป่วยมีความสาคัญมากต่อผลการรักษา ผู้ป่วยควรต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกแดดเพราะจะทา
ให้โรคกาเริบ และต้องรับประทานยาอย่างสม่าเสมอตามแพทย์สั่ง ไม่ควรขาดยาหรือหยุดยาเองเป็นอันขาด ไม่ควรซื้อ
ยากินเองเพราะจะเกิดอันตรายได้ ควรมาติดต่อรักษาตามแพทย์นัด สาหรับหญิงวัยเจริญพันธุ์หากต้องการมีบุตรควร
ปรึกษาแพทย์ก่อน
นอกจากนั้นสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งคือสภาพจิตใจของผู้ป่วย จิตใจที่สงบจะช่วยให้ความรุนแรงของโรค
ลดลง
ข้อควรทราบเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
ผู้ป่วยโรคนี้มีบุตรได้หรือไม่ ถ้าได้ เมื่อไรจึงจะตั้งครรภ์ได้ และระหว่างตั้งครรภ์ต้องปฏิบัติอย่างไร ปัจจุบัน
การรักษาโรคนี้ได้ผลดีขึ้น อัตราตายลดลงแม้จะมีโรคที่ไตด้วย เมื่อโรคสงบผู้ป่วยสามารถตั้งครรภ์และมีบุตรได้ แต่ควร
รอจนโรคสงบต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหลาย ๆ เดือน หรือ 1-2 ปี และควรทราบว่ายังอาจเกิดอันตรายต่อทั้งแม่และ
ทารกได้ ดังนั้นผู้ป่วยและญาติโดยเฉพาะสามีควรไตร่ตรองให้รอบคอบก่อนตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่ ระหว่าง
ตั้งครรภ์ต้องมาตรวจบ่อย ๆ อย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะในช่วง 3 เดือน หลังจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะ
เป็นช่วงที่โรคมักกาเริบ ถ้าพบว่าโรคกาเริบ หรือมีความดันโลหิตสูง หรือไตทางานลดลง อาจต้องพิจารณาทาแท้ง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
6
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้จัดทามีความรู้ความเข้าในในเรื่องโรค SLE มากยิ่งขึ้น
2.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้คนทั่วไปหรือเพื่อนนักเรียนได้
3.คนทั่วไปหรือเพื่อนนักเรียนรู้จักโรค SLE มากขึ้น
4.ผู้จัดทารู้จักการทางานแบบเป็นระบบ
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
3.บ้านของผู้จัดทา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
โรค SLE (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=326 (วันที่ค้นข้อมูล : 25 ตุลาคม 2561)
โรค SLE (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.printo.it/pediatric-
rheumatology/TH/info/3/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8
%AA%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A3%
E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%AA (วันที่
สืบค้นข้อมูล : 25 ตุลาคม 2561)

More Related Content

Similar to Thipwana1

Project com
Project comProject com
Project comWuLizhu
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5kanyaluk dornsanoi
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์tangkwakamonwan
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project naleenaleesaetor
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนPloy Pony
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39ssuser5d7fc5
 

Similar to Thipwana1 (20)

King 16
King 16King 16
King 16
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 52560 project กิจกรรที่ 5
2560 project กิจกรรที่ 5
 
At1
At1At1
At1
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Achi
AchiAchi
Achi
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558 project nalee
2558 project  nalee2558 project  nalee
2558 project nalee
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝนโครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
โครงงาน ปัญหาที่มากับฝน
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
At22
At22At22
At22
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 

Thipwana1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน SyErythematosus Lupusstemic SLE, เอส แอล อี...ไม่น่ากลัวอย่างที่คุณคิด ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. น.ส.ทิพย์วนา นามสูง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 9 2. น.ส.วินัดดา จอยศิริ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 1. น.ส.ทิพย์วนา นามสูง เลขที่ 1 2. น.ส.วินัดดา จอยศิริ เลขที่ 2 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) เอสแอลอี...ไม่น่ากลัวอย่างที่คุณคิด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) SyErythematosus Lupusstemic SLE ประเภทโครงงาน คอมพิวเตอร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ทิพย์วนา นามสูง ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) SLE หรือโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเองเป็นโรคที่ในปัจจุบันพบได้บ่อยในคนทั่วไป โรคนี้เกิดจากมีความผิดปกติของ ระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ของตนเอง มีผลทา ให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆทั่วตัว ผู้ป่วยจึงมีอาการได้มากมายหลายอย่างเพราะระบบต่างๆทั่ว ร่างกายเกิดความผิดปกติได้เกือบหมด ในการเกิดโรคนี้ยังไม่มีข้อมูลแน่ชัด แต่จากการศึกษาพบว่าเกินขึ้นจากปัจจัย ด้านพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีส่วนและบทบาทร่วมกันในการเกิดโรค ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดความ ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันหรือโรคเอสแอลอีนี้อย่างแน่ชัด ถือเป็นโรคที่รุนแรงแต่ไม่ได้อันตรายมากท่าไหร่ เพราะใน ปัจจุบันมียาควบคุมการกาเริบของโรคนี้แล้วจึงไม่ต้องกังวลมากเหมือนเมื่อก่อน คนที่เป็นโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง (SLE) มักที่จะมีอาการผื่นคันบนใบหน้า โดยเฉพาะที่จมูก คาง และแก้มทั้งสองข้าง จึงทาให้เกิดรอยรอยแผลแดงๆ ไม่เพียงแต่ผิวหนังแต่เป็นอวัยวะและเนื้อเยื่อส่วนอื่นๆด้วย SLE เป็นโรคภูมิคุ้มกันทาลายตนเอง อาการของผู้ป่วยจะ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้ายและเป็นอันตรายถึงชีวิตถ้าไม่รักษาให้ทันเวลาระหว่างที่อาการลุกลามเฉียบพลัน ไม่มีการรักษาโรค SLE ที่หายขาด อาการพวกนี้ไม่สามารถควบคุมได้โดยไม่ทาให้ลุกลามหากรักษาอย่างถูกต้องและทาให้ผู้ป่วยกลับไป ทางานและใช้ชีวิตประจาวันได้ตามปกติ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อต้องการศึกษาเกี่ยวกับโรค SLE 2.เพื่อต้องการรู้วิธีป้องกันการเกิดโรค SLE 3.เพื่อต้องการให้ผู้อื่นรู้จักโรค SLE และได้รู้ว่าโรค SLE ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. SLE คืออะไร 2.อาการของโรค SLE 3.การรักษาโรค SLE หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) SLE เป็นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย และมักมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะเมื่อมีอาการทางไตร่วมด้วย โรคนี้ มีอาการและอาการแสดง, การดาเนินโรค, การตอบสนองต่อการรักษาและการพยากรณ์โรคได้หลากหลาย โรคนี้เกิด จากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการสร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และส่วนประกอบต่าง ๆ ของ เซลล์ของตนเอง มีผลทาให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ทั่วตัว ผู้ป่วยจึงมีอาการได้มากมายหลาย อย่างเพราะระบบต่าง ๆ ทั่วร่างกายเกิดความผิดปกติได้เกือบหมด กลไกลการเกิดโรค กลไกการเกิดโรคที่แน่นอนยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด แต่จากการศึกษาพบว่าปัจจัยทั้งด้านพันธุกรรมและ สิ่งแวดล้อมมีส่วนและบทบาทร่วมกันในการก่อโรค ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ทาให้เกิดความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน แต่การที่เพศหญิงวัยเจริญพันธุ์เป็น โรคนี้มากกว่าเพศชายถึง 9-13 เท่า การที่อัตราการเกิดโรคของหญิงต่อชายลดลงก่อนและหลังมีประจาเดือน ช่วงมี
  • 4. 4 ประจาเดือนมีการเปลี่ยนแปลงของความรุนแรงของโรค การที่โรคกาเริบขึ้นในช่วงหลังของการตั้งครรภ์และหลังคลอด บ่งชี้ว่าฮอร์โมนเพศ น่าจะมีบทบาทต่อการเกิดโรคนี้ จากการศึกษาพบว่าฮอร์โมนเพศหญิงส่งเสริมการเกิดโรคนี้ใน สัตว์ทดลอง ส่วนฮอร์โมนเพศชายลดการเกิดโรค สาหรับปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดโรค หรือทาให้โรคที่เป็นอยู่ กาเริบ มี แสงอัลตราไวโอเล็ต สารเคมีบางชนิด เช่น น้ายาย้อมผม และยาบางอย่าง นอกจากนั้นเชื้อโรคต่าง ๆ ก็อาจ กระตุ้นให้โรคกาเริบได้เช่นกัน อาการ อาการของโรคมีได้ตั้งแต่ไม่มีอาการหรือมีน้อยมากแค่รู้สึกอ่อนเพลีย จนถึงมีอาการรุนแรงมาก หากไม่ได้รับ การรักษาอย่างทันท่วงทีจะถึงแก่กรรมได้ อาการอาจเกิดขึ้นทีละอย่าง หรือ หลายอย่างหรือเกิดขึ้นพร้อมกันหมดก็ได้ ระบบที่มีความผิดปกติที่พบบ่อย คือ ผิวหนัง, ข้อ และไต อาการมีดังต่อไปนี้ อาการทั่วไป อาการทั่วไป มี อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักตัวลดลง ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ เป็น ๆ หาย ๆ อาการทางผิวหนัง อาการทางผิวหนัง มี ผื่นแดงที่หน้าบริเวณโหนกแก้ม แพ้แดด ผมร่วง แผลที่ริมฝีปากและข้างในปาก ลมพิษ จุดแดงตามผิวหนังโดยเฉพาะที่ปลายนิ้วมือนิ้วเท้า ปวดปลายนิ้วมือเท้าเวลาถูกความเย็น เป็นต้น อาการทางระบบข้อ กล้ามเนื้อ และกระดูก อาการทางข้อมักเริ่มด้วยอาการปวดอย่างเดียวก่อน ต่อมาจึงมีบวม แดง และร้อน เป็นได้กับข้อต่าง ๆ ทั่ว ตัว แล้วตามด้วยอาการข้อแข็งตอนเช้า พบข้อพิการประมาณร้อยละ 10 สาหรับกล้ามเนื้อและกระดูก พบ มีอาการ ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออักเสบ และกระดูกเสื่อม อาการทางไต อาการทางไตพบได้บ่อย มี บวม ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะน้อยลง และอาการที่เกิดจากภาวะไตวาย ซึ่งใน บางกรณีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนเป็นสาเหตุตายได้ อาการทางระบบประสาท เป็นที่ทราบกันดีว่าผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการทางระบบประสาท ซึ่งมีได้หลายอย่างตั้งแต่ปวดศีรษะ ชัก ซึม จนถึงหมดสติได้ นอกจากนั้นก็อาจมีเลือดออกในสมอง อัมพฤกษ์ และอัมพาต ส่วนทางด้านจิตใจก็มีการเปลี่ยนแปลงด้วย อาจมีอาการซึมเศร้า สับสนจนพูดไม่รู้เรื่อง อาการทางเลือด จากการที่มีภูมิต่อต้านเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ทาให้มีการทาลายเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ดเลือด ทาให้เกิดอาการซีด ติดเชื้อง่ายเพราะเม็ดเลือดขาวลดลง และเลือดออกง่ายเพราะเกร็ดเลือดลดลง อาการทางหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด อาการที่พบมีหอบเหนื่อยนอนราบไม่ได้จากภาวะหัวใจล้มเหลว ชีพจรเต้นผิดจังหวะจากกล้ามเนื้อหัวใจ อักเสบ และอาจมีอาการเจ็บตื้อที่หน้าอกด้านซ้ายจากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ซึ่งเกิดจากมีพยาธิสภาพที่หลอดเลือดที่ เลี้ยงหัวใจ นอกจากนั้นอาจพบว่ามีความดันโลหิตสูง อาการทางระบบทางเดินหายใจ อาจพบอาการเหนื่อย เจ็บเสียวหน้าอก ไอ อาการของทางระบบทางเดินหายใจนี้ แม้จะพบไม่บ่อยแต่ก็มี ความสาคัญ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจเป็นสาเหตุตายได้ อาการทางระบบทางเดินอาหาร มีอาการปวดท้องซึ่งอาจเกิดจากมีการอักเสบของลาไส้หรือตับอ่อนก็ได้ นอกจากอาการต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว ยังอาจมีอาการตาแห้ง ปากแห้งด้วยอาการต่าง ๆ อาจเกิดทีละอย่าง อย่างไหนก่อนก็ได้หรืออาจเกิดพร้อมกันหลาย อย่างก็ได้ การวินิจฉัย
  • 5. 5 เอส. แอล. อี เป็นโรคที่วินิจฉัยยาก เพราะมีอาการมากมาย และอาการต่าง ๆ ยังเหมือนกับโรคอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะในระยะแรกของโรค การวินิจฉัยต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจเลือด ซึ่งอาจต้องทาซ้า หลายครั้งจึงจะทราบ การรักษา ยาที่ใช้ในการรักษามีหลายอย่าง การเลือกใช้ยาทั้งชนิดและขนาดขึ้นกับความรุนแรงของโรค โดยทั่วไป แพทย์จะเลือกใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละคน ในขณะที่โรคกาลังรุนแรงต้องใช้ยาขนาดสูงและอาจต้องใช้ยาหลาย ชนิด บางครั้งอาจเกิดผลข้างเคียงขึ้นได้ แต่ก็ยังคงต้องให้ยาเพราะมิฉะนั้นผู้ป่วยอาจเสียชีวิตจากโรคได้ โรคนี้ถ้ารักษา เต็มที่จนโรคสงบสามารถลดยาและขนาดยาลงได้ ผู้ป่วยสามารถทางานได้ตามปกติและมีคุณภาพชีวิตที่ดี การปฏิบัติตนของผู้ป่วยมีความสาคัญมากต่อผลการรักษา ผู้ป่วยควรต้องหลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกแดดเพราะจะทา ให้โรคกาเริบ และต้องรับประทานยาอย่างสม่าเสมอตามแพทย์สั่ง ไม่ควรขาดยาหรือหยุดยาเองเป็นอันขาด ไม่ควรซื้อ ยากินเองเพราะจะเกิดอันตรายได้ ควรมาติดต่อรักษาตามแพทย์นัด สาหรับหญิงวัยเจริญพันธุ์หากต้องการมีบุตรควร ปรึกษาแพทย์ก่อน นอกจากนั้นสิ่งสาคัญอีกประการหนึ่งคือสภาพจิตใจของผู้ป่วย จิตใจที่สงบจะช่วยให้ความรุนแรงของโรค ลดลง ข้อควรทราบเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคนี้มีบุตรได้หรือไม่ ถ้าได้ เมื่อไรจึงจะตั้งครรภ์ได้ และระหว่างตั้งครรภ์ต้องปฏิบัติอย่างไร ปัจจุบัน การรักษาโรคนี้ได้ผลดีขึ้น อัตราตายลดลงแม้จะมีโรคที่ไตด้วย เมื่อโรคสงบผู้ป่วยสามารถตั้งครรภ์และมีบุตรได้ แต่ควร รอจนโรคสงบต่อเนื่องกันเป็นเวลานานหลาย ๆ เดือน หรือ 1-2 ปี และควรทราบว่ายังอาจเกิดอันตรายต่อทั้งแม่และ ทารกได้ ดังนั้นผู้ป่วยและญาติโดยเฉพาะสามีควรไตร่ตรองให้รอบคอบก่อนตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่ ระหว่าง ตั้งครรภ์ต้องมาตรวจบ่อย ๆ อย่างสม่าเสมอโดยเฉพาะในช่วง 3 เดือน หลังจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะ เป็นช่วงที่โรคมักกาเริบ ถ้าพบว่าโรคกาเริบ หรือมีความดันโลหิตสูง หรือไตทางานลดลง อาจต้องพิจารณาทาแท้ง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์
  • 6. 6 งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้จัดทามีความรู้ความเข้าในในเรื่องโรค SLE มากยิ่งขึ้น 2.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้คนทั่วไปหรือเพื่อนนักเรียนได้ 3.คนทั่วไปหรือเพื่อนนักเรียนรู้จักโรค SLE มากขึ้น 4.ผู้จัดทารู้จักการทางานแบบเป็นระบบ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 3.บ้านของผู้จัดทา กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) โรค SLE (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=326 (วันที่ค้นข้อมูล : 25 ตุลาคม 2561) โรค SLE (2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.printo.it/pediatric- rheumatology/TH/info/3/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8 %AA%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A3% E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%AA (วันที่ สืบค้นข้อมูล : 25 ตุลาคม 2561)