SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
 2010 VRVC  Accounting Basics For Practitioners April 25, 2010 Narumon Arunvaranont
ความสำคัญของรายงานทางบัญชี ผู้บริหาร (เพื่อตัดสินใจ สำหรับธุรกิจ) นักลงทุน ธนาคาร และเจ้าหนี้ (วิเคราะห์เพื่อ การลงทุนและ ให้กู้ยืม) พนักงานบัญชีเก็บรวบรวมเอกสาร เพื่อปิดบัญชีและจัดเตรียมงบการเงิน ภายใน ภายนอก
งบการเงินจัดทำได้บ่อยแค่ไหน เพื่อให้ได้ข้อมูลทางการเงินสำหรับการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจโดยปกติงบการเงินจะถูกจัดทำขึ้นอย่างน้อยปีละครั้งเพื่อนำส่งกระทรวงพาณิชย์และกรมสรรพากร  แต่ก็สามารถจัดทำเป็นรายสัปดาห์  รายเดือน รายไตรมาส หรือ ทุกๆ  6เดือนตามความต้องการของผู้บริหาร 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2010
สมมุติฐานของงบการเงิน ธุรกิจของกิจการแยกต่างหากจากธุรกิจของเจ้าของ ผู้เป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้น 2. มีแนวโน้มที่จะดำเนินธุรกิจต่อไปได้ในอนาคต   โดยไม่อยู่ในภาวะที่เสี่ยงต่อการล้มละลาย  3. หน่วยที่ใช้ในรายงาน  เป็นมูลค่าของเงินตราที่ใช้ในประเทศนั้นๆ
งบการเงินประกอบด้วย ‘ งบกระแสเงินสด Stsงบดุล งบกำไรขาดทุน งบการเงินคือ รายงานที่สรุปฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของธุรกิจ
งบการเงินทั้ง 3 ต้องใช้ร่วมกัน งบดุลจัดทำขึ้นเพื่อแสดงฐานะการการเงินของกิจการ งบกำไรขาดทุนจัดทำขึ้นเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลดำเนินงานของกิจการในรูปกำไร (ขาดทุน) งบกระแสเงินสดจัดทำขึ้นเพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการในรูปกระแสเงินสดเข้าและกระแสเงินสดออก 12
งบดุล ทรัพยากรที่กิจการมีไว้เพื่อก่อให้เกิดผลประโยชน์ในอนาคต คือรายงานที่แสดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ ขณะใดขณะหนึ่ง ตั้งอยู่บนพื้นฐานของสมการ ทรัพย์สิน   =      หนี้สิน+  ส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้น แหล่งเงินทุนของทรัพย์สิน
งบกำไรขาดทุน คือรายงานที่แสดงผลการดำเนินงานของกิจการในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ตั้งอยู่บนพื้นฐานของสมการ กำไร (ขาดทุน) สุทธิ=   รายได้  –  ค่าใช้จ่าย กำไรสะสมปลายงวด=   กำไรสะสมต้นงวด  ± กำไรสุทธิ– เงินปันผล
งบกำไรขาดทุนประกอบด้วย รายได้ เงินที่ได้มาจากการให้บริการหรือขายสินค้า  ค่าใช้จ่าย เงินที่จ่ายไปเป็นต้นทุนเพื่อก่อให้เกิดรายได้  กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนต่างของรายได้ที่มากกว่า (น้อยกว่า) ค่าใช้จ่าย กำไร (ขาดทุน) สะสม กำไรหรือขาดทุนที่สะสมไว้ตั้งแต่ก่อตั้งกิจการ
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการบันทึกบัญชี 1. เกณฑ์เงินสด ค่าใช้จ่ายจะถูกบันทึก เมื่อจ่ายชำระด้วยเงินสด รายได้จะถูกบันทึก เมื่อได้รับเงินสด
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการบันทึกบัญชี 2. เกณฑ์คงค้าง (ตามหลักการบัญชี) โดยไม่จำเป็นว่าจะต้องได้รับหรือจ่ายเงินสดแล้วหรือไม่ ค่าใช้จ่ายจะถูกบันทึก เมื่อเกิดขึ้นหรือตามรายได้ รายได้จะถูกบันทึก เมื่อรายได้เกิดขึ้น
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการบันทึกบัญชี (ต่อ) The Matching Principle ค่าใช้จ่ายที่มีความสัมพันธ์กับรายได้ หรือก่อให้เกิดรายได้นั้นจะต้องถูกบันทึกในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน ไม่ว่าจะมีการจ่ายชำระแล้วหรือไม่
ตัวอย่าง งบกำไรขาดทุนและงบดุล ของ  ห้างหุ้นส่วนจำกัด ผูกเสี่ยวเหมียวตูบ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2551
วิเคราะห์จากประเภทของรายได้
งบกระแสเงินสด กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน  (Cashflow from  Operating) กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน  (Cashflow from  Investing) กำไรสุทธิ จึงไม่จำเป็นที่จะต้องเท่ากับ เงินสดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ในระหว่างงวดบัญชี กระแสเงินสดจากกิจกรรม จัดหาเงิน  (Cashflow from  Financing)
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ผูกเสี่ยวเหมียวตูบ งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุด วันที่  31 ธันวาคม 2551
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ผูกเสี่ยวเหมียวตูบ งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551
ห้างหุ้นส่วนจำกัด ผูกเสี่ยวเหมียวตูบ งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551
การวิเคราะห์งบการเงิน 39
การวิเคราะห์งบการเงิน ประเมินผลการดำเนินงานในอดีตและในปัจจุบันและประเมินความยั่งยืนของผลการดำเนินงานในอดีตและในปัจจุบัน โดยใช้ % การเปลี่ยนแปลง (วิเคราะห์แนวโน้ม) อัตราส่วนด้านการเงิน และ งบการเงินขนาดร่วม (Common Sized P/L) 35
วิเคราะห์แนวโน้ม ศึกษาว่าการเปลี่ยนแปลงของรายได้และค่าใช้จ่ายเป็นไปในทิศทางใด ค้นหาสาเหตุที่ทำให้รายได้และค่าใช้จ่ายเปลี่ยนแปลงไป 38
อัตราส่วนด้านการเงิน 39
1. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์สุทธิหรือเงินลงทุน(Return on Investment or ROI) หหส. เหมียวตูบปี 51 164,078          (1,013,185+849,107)/2  =>  17.62% ROI=	 	   กำไรสุทธิ สินทรัพย์สุทธิ (เฉลี่ย) 254925502551 ROI(%)           37.39%	           33.41%		17.62% อัตราส่วนนี้บอกอะไร? หมายเหตุ:สินทรัพย์สุทธิ (Net Assets)=ทรัพย์สิน – หนี้สิน หรือ ส่วนของผู้เป็นเจ้าของ (เงินลงทุนของเจ้าของ) 40
2. อัตราผลตอบแทนต่อรายได้ (Return on Sales or ROS) ROS =	        กำไรสุทธิ รายได้จากการขายหรือให้บริการ 254925502551 	ROS (%)	19.5%		18.1%		9.7% อัตราส่วนนี้บอกอะไร? หหส. เหมียวตูบปี 51 164,078                  1,691,246          =>9.7% 44
ROI and ROS 254925502551 ROI(%)	37.39%		33.41%		17.62% ROS (%)19.5%		 18.1%		  9.7% เพื่อระบุสาเหตุที่ทำให้ ROS เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละรอบเวลาควรจัดทำ Common-sized P/L เปรียบเทียบโดยแปลงทุกรายการที่รวมอยู่ในการคำนวณกำไรสุทธิให้เป็นร้อยละของรายได้รวม 45
วิเคราะห์อัตราผลตอบแทนต่อรายได้ (ROS)โดยใช้ Common-sized P/L  254925502551 รายได้รวม			100%            	100%          	100% หักต้นทุนขาย/บริการ59.0%		60.8%		72.3% กำไรขั้นต้น			41.0%		39.2%		27.7% หักค่าใช้จ่ายในการบริหาร15.0%12.9%		13.0% หัก  ดอกเบี้ยและภาษี12.0%		  8.2%		  5.0% กำไรจากการดำเนินงาน		14.0%		18.1%		   9.7% บวกรายได้อื่น 5.5%		     0%		    0%  กำไรสุทธิ			 19.5%		 18.1%		  9.7%	 46
3. อัตราการหมุนเวียนของสินค้า (Inventory Turnover) Inventory Turnover=ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือ (ถัวเฉลี่ย) (หน่วย: รอบ) 254925502551 Inventory Turnover	 3.98          2.59	1.97 อัตราส่วนนี้บอกอะไร? หหส. เหมียวตูบปี 51710,896 (498,745+222,140)/2  =>  1.97 รอบ 49
4. ระยะเวลาในการขายถัวเฉลี่ย ระยะเวลาการขาย	=          365 วัน 		   Inventory Turnover (หน่วย: วัน) 254925502551 Inventory Turnover	 3.98	     2.59		1.97 ระยะเวลาในการขายถัวเฉลี่ย (วัน) 91	      140	  	 185 หหส. เหมียวตูบปี 51 365 1.97          =>185วัน 50
5. อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้การค้า (Accounts Receivable Turnover) A/R Turnover=    รายได้จากการขายหรือให้บริการ ลูกหนี้การค้า(ถัวเฉลี่ย) 	(หน่วย: รอบ) อัตราส่วนนี้บอกอะไร? 254925502551 A/R Turnover		15.6	       13.5  	12.9 หหส. เหมียวตูบปี51 1,691,246 (101,742+161,099)/2  =>  12.9 รอบ 55
6. ระยะเวลาเก็บหนี้ ระยะเวลาเก็บหนี้ 	=	        365 วัน A/R Turnover 	(หน่วย: วัน) 254925502551 A/R Turnover		15.6	     13.5	 	12.9  ระยะเวลา (วัน) 	23  	       27               28		    หหส. เหมียวตูบปี51 365 12.9          => 28วัน 56
7. อัตราการหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้า(Accounts Payable Turnover) Accounts Payable Turnover=ซื้อ เจ้าหนี้การค้า (เฉลี่ย)  (หน่วย: รอบ)  อัตราส่วนนี้บอกอะไร? 254925502551 A/P Turnover	   4.51		3.94		3.53 หหส. เหมียวตูบปี 51 987,501 (326,000+234,000)/2  =>  3.53 รอบ 57
8. ระยะเวลาจ่ายหนี้ ระยะเวลาจ่ายหนี้	=	     365 วัน                                    A/P Turnover (หน่วย: วัน) 254925502551 A/P Turnover		4.51	     3.94		3.53 ระยะเวลา (วัน)		81	      93		 103 หหส. เหมียวตูบปี51 365 3.53          => 103วัน 58
วงจรเงินสด ระยะเวลาในการหมุนเวียนของเงินสดของกิจการจากระยะเวลาที่จ่ายเงินสดไปจนกว่าจะได้รับเงินสด เป็นการบอกถึงจำนวนวันที่กิจการต้องรอเพื่อจะได้รับเงินสดที่จ่ายลงทุนไปหมุนเวียนกลับมา ซึ่งก็คือ จำนวนเงินสดที่กิจการต้องลงทุนในลูกหนี้และสินค้าคงคลัง 59
วงจรเงินสด - ธุรกิจซื้อมาขายไป ระยะเวลาการขาย ระยะเวลาเก็บหนี้ 185 วัน 28 วัน ระยะเวลาแปรสภาพ เป็นเงินสด 103 วัน ระยะเวลาจ่ายหนี้ 110 วัน วัน ชำระค่าสินค้า ซื้อสินค้า รับเงินจากลูกหนี้ กิจการที่ดี  ต้องพยายามลดระยะเวลาแปรสภาพให้น้อยที่สุดเพื่อรักษาสภาพคล่องของกิจการ 60
วงจรเงินสด (Cash Cycle) 254925502551 ระยะเวลาขายสินค้า (วัน)	91		 140		 185 บวก ระยะเวลาเก็บหนี้ (วัน)	23		  27		  28 หัก  ระยะเวลาจ่ายหนี้ (วัน)	(81)(93)	(103) Cash Cycle (วัน)33		  74		  110 จากการวิเคราะห์ข้างต้น สรุปว่ากิจการกำลังจะมีปัญหาในเรื่องสภาพคล่องในอนาคตอันใกล้   ซึ่งจะต้องรีบดำเนินการหาสาเหตุและแก้ไขปัญหาก่อนที่จะสายเกินไป 62
เป้าหมายทางการเงิน - กำไรและสภาพคล่อง เครื่องมือที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์โครงสร้างทางการเงิน การวิเคราะห์ เงินทุนหมุนเวียน การวิเคราะห์การลงทุน (การตัดสินใจลงทุน) การวิเคราะห์ ผลการดำเนินงาน การวางแผนและตัดสินใจทางการเงิน ทำให้มูลค่าของกิจการเพิ่มสูงขึ้น
ภาคผนวกการจดทะเบียนและวางแผนภาษี
จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดา หรือคณะบุคคลอย่างไหนดีกว่า? จำเป็นต้องอาศัยความเชื่อถือที่ลูกค้ามีต่อธุรกิจของคุณหรือไม่? ,[object Object]
ไม่จำเป็น => บุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลจำนวนหุ้นส่วน การระดมเงินทุน การแบ่งจ่ายผลกำไรขาดทุน การบันทึกบัญชีและตรวจสอบบัญชี การหักภาษีพนักงานและลูกจ้าง ภาระภาษีตามประมาณการรายได้ในแต่ละปี
ภาระภาษีระหว่างนิติบุคคล บุคคลธรรมดา หรือคณะบุคคล นิติบุคคล  เสียจากกำไรสุทธิตามจริง และเป็นแบบอัตราก้าวหน้า กำไร 1 ล้านบาทแรก เสียภาษี 15 % กำไรล้านที่ 2 ถึง 3 ล้านบาท เสียภาษี 25 % กำไรตั้งแต่ 3 ล้านบาทขึ้นไป เสียภาษี 30 % (กรณีเข้าเงื่อนไข SME) บุคคลธรรมดา เป็นแบบอัตราก้าวหน้า เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน 3 หมื่นบาท และค่าใช้จ่าย (เหมาหรือตามจริง)  1 แสนบาทแรก ยกเว้นภาษี เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 1 แสน-5แสนบาทเสียภาษี 10% เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 5แสน-1 ล้านบาทเสียภาษี 20% เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 1 ล้าน-4 ล้านบาทเสียภาษี 30% เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 4 ล้านบาทขึ้นไปเสียภาษี 37% คณะบุคคล  เสียภาษีในอัตราเดียวกับบุคคลธรรมดาแต่หักค่าลดหย่อนได้ 6 หมื่นบาท
การวางแผนภาษี สำหรับสถานประกอบการขนาดกลางถึงเล็ก เสียภาษีแบบบุคคลธรรมดา ยื่นปีละ 2 ครั้ง  มกราคมถึงมีนาคม และกรกฎาคมถึงกันยายน (ครึ่งปี) รายได้จากการเปิดสถานพยาบาล หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ 75%  รายได้จากการขายสินค้าที่ตนเองมิได้เป็นผู้ผลิต (pet shop) หักค่าใช้จ่ายเหมาได้ 80%  กรณีมีแหล่งรายได้มากกว่า 1 แห่ง ควรจดตั้งคณะบุคคลเพื่อลดภาระภาษี ชื่อคณะบุคคลต้องไม่ซ้ำกัน มิฉะนั้น สรรพากรจะประเมินเป็นคณะเดียวกันและจัดเก็บภาษีรวมได้
Email: narumonar@gmail.com Download Presentation File: http://www.slideshare.net/narumonar File name: Accounting Basics for Practitioners – VRVC 2010
Q & A

More Related Content

Similar to Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)

Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1Aonkung Hawhan
 
Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Jajew
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
20140609 sena
20140609 sena20140609 sena
20140609 senaShaen PD
 
แบบฝึกหัด บทที่ 8
แบบฝึกหัด บทที่  8แบบฝึกหัด บทที่  8
แบบฝึกหัด บทที่ 8PümPüy Ża
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Erp budget (1)
Erp budget (1)Erp budget (1)
Erp budget (1)sakpob
 
Erp budget (1)
Erp budget (1)Erp budget (1)
Erp budget (1)sakpob
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 

Similar to Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai) (20)

อัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงินอัตราส่วนทางการเงิน
อัตราส่วนทางการเงิน
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1The little book of valuation edit1
The little book of valuation edit1
 
Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07Seminar 8 1 07
Seminar 8 1 07
 
Ossf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdfOssf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdf
 
บัญชี
บัญชีบัญชี
บัญชี
 
04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
LPN Newsletter Q2 / 2014
LPN Newsletter Q2 / 2014LPN Newsletter Q2 / 2014
LPN Newsletter Q2 / 2014
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
20140609 sena
20140609 sena20140609 sena
20140609 sena
 
แบบฝึกหัด บทที่ 8
แบบฝึกหัด บทที่  8แบบฝึกหัด บทที่  8
แบบฝึกหัด บทที่ 8
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Erp budget (1)
Erp budget (1)Erp budget (1)
Erp budget (1)
 
Erp budget (1)
Erp budget (1)Erp budget (1)
Erp budget (1)
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7
 
FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 

Accounting basics for practitioners VRVC 2010 (Thai)