SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ตอนที่ 1 ประวัติการค้นพบเซลล์

1

การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิตต่างๆ ได้เริ่ มศึกษาเป็ นเวลานานมาแล้ว แต่ยงไม่มีใครทราบเลยว่าหน่วย
ั
ของสิ่ งมีชีวิตนั้นประกอบด้วยอะไร จนกระทังมีกล้องสาหรับส่ องและขยายให้เห็นภาพได้ใหญ่ข้ ึนกล้อง
่
นั้นคือ กล้องจุลทรรศน์
จนกระทังปี ค.ศ. 1665 โรเบิร์ต ฮุค ( Robert Hooke ) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์
่
ั
กล้องจุลทรรศน์ที่มีคุณภาพดีและมีกาลังขยายสู งกล่าที่มีใช้กนอยูเ่ ป็ นผลสาเร็ จ จึงได้นาไม้คอร์ กที่เฉื อน
ให้เป็ นแผ่นบางๆ ไปตรวจดูดวยกล้องจุลทรรศน์น้ ี พบว่า ชิ้นไม้คอร์ กประกอบด้วยช่องเล็กๆ จานวน
้
มากมายเรี ยงติดต่อกัน ช่องเหล่านี้มีลกษณะเป็ นสี่ เหลี่ยม หรื อเกือบกลมจึงเรี ยกแต่ละช่องนี้ว่า “เซลล์ ” แต่
ั
่
เป็ นเซลล์ที่ตายแล้วการคงที่รูปร่ างอยูได้เนื่องจากมีผนังเซลล์นนเอง
ั่
ค.ศ. 1673 ลีเวนฮุค ( Leewenhoek ) ชาวฮอลันดาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์เม็ดเลือด อสุ จิ
ตลอดจนน้ าจากแหล่งต่างๆได้พบสิ่ งมีชีวิตเล็กๆมากมาย ทั้งแบคทีเรี ย โปรโตซัว และสัตว์น้ าขนาดเล็ก
ทาให้ได้รับชื่อเสี ยงมากในฐานนะที่เป็ นบุคคลแรกที่พบจุลินทรี ย ์
ค.ศ. 1824 ดิวโทรเชท์ ( Dutrochet) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาเนื้อเยือชองพืช พบว่า
่
ประกอบด้วยเซลล์เช่นเดียวกัน และต่อมาศึกษาเนื้อเยือสัตว์ก็พบว่าประกอบด้วยเซลล์แต่มีลกษณะ
่
ั
แตกต่างจากเซลล์พืช
ค.ศ. 1831 โรเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาเซลล์ขนและ
้
่
เซลล์อื่นๆ ของพวกกล้วยไม้ พบว่า มีกอนกลมขนาดเล็กอยูภายใน จึงเรี ยกก้อนกลมนี้ว่านิวเคลียส
ค.ศ. 1835 เฟลิกซ์ ดิวจาแดง (Felix Dujardin) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ได้ศึกษาโครงสร้าง
ของจุลินทรี ยและสิ่ งมีชีวิต พบว่าประกอบไปด้วยของเหลวใสๆคล้ายวุน
์
้
ค.ศ. 1838 มัตทิอส เจ. ชไลเดน ( Matthias J.Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ศึกษา
ั
เนื้อเยือของพืชต่างๆ แล้วสรุ ปว่าเนื้อเยือพืชทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์
่
่
ค.ศ. 1839 เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) นักสัตวศาสตร์ ชาวเยอรมันได้ศึกษาเนื้อเยือของ
่
สัตว์ต่างๆ แล้วสรุ ปว่าเนื้อเยือทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ดังนั้นในปี เดียวกันนี้เอง ทั้งชวันน์และชไลเดน
่
จึงได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ขึ้นมา มีใจความสาคัญคือ

“สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์ คอหน่ วยพืนฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด”
ื
้
2
ค.ศ. 1839 เจ. ปัวคินเจ ( Johannes Purkinje) นักสัตวศาสตร์ ชาวโบฮีเมีย ได้ศึกษาไข่และตัว
อ่อนของสัตว์ชนิดต่างๆพบว่า ภายในมีของเหลวใสเหนียว และอ่อนนุ่มคล้ายวุน เรี ยกของเหลวใสนี้ว่า
้
โปรโตพลาซึ ม (protoplasm)
ค.ศ. 1868 โธมัส เอช. ฮักซ์ เลย์ ( Thomas H.Huxley) นายแพทย์ชาวเยอรมันได้ศึกษานิวเคลียส
ของเซลล์ต่างๆพบว่า ประกอบด้วยโครโมโซม
ค.ศ. 1880 วอลเธอร์ เฟลมมิง (

Walther Flemming) นักชีววิทยา ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาว่า

นิวเคลียสของเซลล์ประกอบด้วยไปด้วยโครโมโซม

ภาพที1-1 มัตทิอส เจ ชไลเดน
่
ั

ภาพที1-2 เทโอดอร์ ชวันน์
่

(Matthias J.Schleiden)

(Theodor Schwann)
ภาพที่ 1-1 และ 1-2

ทีมา : http://school.obec.go.th/sawatee/elerning/sakdaE_Learning/theory.htm
่

More Related Content

Viewers also liked

Taller 3er trimestre 2013 detalle
Taller 3er trimestre 2013 detalleTaller 3er trimestre 2013 detalle
Taller 3er trimestre 2013 detalleRodolfo baksys
 
Brett finlay resume
Brett finlay resume Brett finlay resume
Brett finlay resume Brett Finlay
 
Why dogs bite by jeff loy
Why dogs bite by jeff loyWhy dogs bite by jeff loy
Why dogs bite by jeff loyJeff Loy
 
Energías Renovables: Energía y Sistema Eléctrico
Energías Renovables: Energía y Sistema EléctricoEnergías Renovables: Energía y Sistema Eléctrico
Energías Renovables: Energía y Sistema EléctricoIMF Business School
 
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)Roselia Rodriguez
 
jmsresumeymcanoref
jmsresumeymcanorefjmsresumeymcanoref
jmsresumeymcanorefJan Szyndler
 
Velocidad de desplazamiento
Velocidad de desplazamientoVelocidad de desplazamiento
Velocidad de desplazamientoschool
 

Viewers also liked (7)

Taller 3er trimestre 2013 detalle
Taller 3er trimestre 2013 detalleTaller 3er trimestre 2013 detalle
Taller 3er trimestre 2013 detalle
 
Brett finlay resume
Brett finlay resume Brett finlay resume
Brett finlay resume
 
Why dogs bite by jeff loy
Why dogs bite by jeff loyWhy dogs bite by jeff loy
Why dogs bite by jeff loy
 
Energías Renovables: Energía y Sistema Eléctrico
Energías Renovables: Energía y Sistema EléctricoEnergías Renovables: Energía y Sistema Eléctrico
Energías Renovables: Energía y Sistema Eléctrico
 
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)
La esencia del liderazgo (Resumen de La Paradoja)
 
jmsresumeymcanoref
jmsresumeymcanorefjmsresumeymcanoref
jmsresumeymcanoref
 
Velocidad de desplazamiento
Velocidad de desplazamientoVelocidad de desplazamiento
Velocidad de desplazamiento
 

Similar to 01 1

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfmatdavitmatseng1
 

Similar to 01 1 (8)

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 

01 1

  • 1. ตอนที่ 1 ประวัติการค้นพบเซลล์ 1 การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งมีชีวิตต่างๆ ได้เริ่ มศึกษาเป็ นเวลานานมาแล้ว แต่ยงไม่มีใครทราบเลยว่าหน่วย ั ของสิ่ งมีชีวิตนั้นประกอบด้วยอะไร จนกระทังมีกล้องสาหรับส่ องและขยายให้เห็นภาพได้ใหญ่ข้ ึนกล้อง ่ นั้นคือ กล้องจุลทรรศน์ จนกระทังปี ค.ศ. 1665 โรเบิร์ต ฮุค ( Robert Hooke ) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ ่ ั กล้องจุลทรรศน์ที่มีคุณภาพดีและมีกาลังขยายสู งกล่าที่มีใช้กนอยูเ่ ป็ นผลสาเร็ จ จึงได้นาไม้คอร์ กที่เฉื อน ให้เป็ นแผ่นบางๆ ไปตรวจดูดวยกล้องจุลทรรศน์น้ ี พบว่า ชิ้นไม้คอร์ กประกอบด้วยช่องเล็กๆ จานวน ้ มากมายเรี ยงติดต่อกัน ช่องเหล่านี้มีลกษณะเป็ นสี่ เหลี่ยม หรื อเกือบกลมจึงเรี ยกแต่ละช่องนี้ว่า “เซลล์ ” แต่ ั ่ เป็ นเซลล์ที่ตายแล้วการคงที่รูปร่ างอยูได้เนื่องจากมีผนังเซลล์นนเอง ั่ ค.ศ. 1673 ลีเวนฮุค ( Leewenhoek ) ชาวฮอลันดาได้ใช้กล้องจุลทรรศน์ศึกษาเซลล์เม็ดเลือด อสุ จิ ตลอดจนน้ าจากแหล่งต่างๆได้พบสิ่ งมีชีวิตเล็กๆมากมาย ทั้งแบคทีเรี ย โปรโตซัว และสัตว์น้ าขนาดเล็ก ทาให้ได้รับชื่อเสี ยงมากในฐานนะที่เป็ นบุคคลแรกที่พบจุลินทรี ย ์ ค.ศ. 1824 ดิวโทรเชท์ ( Dutrochet) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรั่งเศสได้ศึกษาเนื้อเยือชองพืช พบว่า ่ ประกอบด้วยเซลล์เช่นเดียวกัน และต่อมาศึกษาเนื้อเยือสัตว์ก็พบว่าประกอบด้วยเซลล์แต่มีลกษณะ ่ ั แตกต่างจากเซลล์พืช ค.ศ. 1831 โรเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown) นักพฤกษศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาเซลล์ขนและ ้ ่ เซลล์อื่นๆ ของพวกกล้วยไม้ พบว่า มีกอนกลมขนาดเล็กอยูภายใน จึงเรี ยกก้อนกลมนี้ว่านิวเคลียส ค.ศ. 1835 เฟลิกซ์ ดิวจาแดง (Felix Dujardin) นักพฤกษศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ได้ศึกษาโครงสร้าง ของจุลินทรี ยและสิ่ งมีชีวิต พบว่าประกอบไปด้วยของเหลวใสๆคล้ายวุน ์ ้ ค.ศ. 1838 มัตทิอส เจ. ชไลเดน ( Matthias J.Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ศึกษา ั เนื้อเยือของพืชต่างๆ แล้วสรุ ปว่าเนื้อเยือพืชทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ่ ่ ค.ศ. 1839 เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwann) นักสัตวศาสตร์ ชาวเยอรมันได้ศึกษาเนื้อเยือของ ่ สัตว์ต่างๆ แล้วสรุ ปว่าเนื้อเยือทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ดังนั้นในปี เดียวกันนี้เอง ทั้งชวันน์และชไลเดน ่ จึงได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ขึ้นมา มีใจความสาคัญคือ “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบด้วยเซลล์ และเซลล์ คอหน่ วยพืนฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด” ื ้
  • 2. 2 ค.ศ. 1839 เจ. ปัวคินเจ ( Johannes Purkinje) นักสัตวศาสตร์ ชาวโบฮีเมีย ได้ศึกษาไข่และตัว อ่อนของสัตว์ชนิดต่างๆพบว่า ภายในมีของเหลวใสเหนียว และอ่อนนุ่มคล้ายวุน เรี ยกของเหลวใสนี้ว่า ้ โปรโตพลาซึ ม (protoplasm) ค.ศ. 1868 โธมัส เอช. ฮักซ์ เลย์ ( Thomas H.Huxley) นายแพทย์ชาวเยอรมันได้ศึกษานิวเคลียส ของเซลล์ต่างๆพบว่า ประกอบด้วยโครโมโซม ค.ศ. 1880 วอลเธอร์ เฟลมมิง ( Walther Flemming) นักชีววิทยา ชาวเยอรมัน ได้ศึกษาว่า นิวเคลียสของเซลล์ประกอบด้วยไปด้วยโครโมโซม ภาพที1-1 มัตทิอส เจ ชไลเดน ่ ั ภาพที1-2 เทโอดอร์ ชวันน์ ่ (Matthias J.Schleiden) (Theodor Schwann) ภาพที่ 1-1 และ 1-2 ทีมา : http://school.obec.go.th/sawatee/elerning/sakdaE_Learning/theory.htm ่