SlideShare a Scribd company logo
1 of 278
Download to read offline
รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะ
                      เทคโนโลยี
          พลังงานสะอาดในประเทศสหรัฐอเมริกา




                          โดย นายธีรวัฒน ปรีชาบุญฤทธิ์
                                ที่ปรึกษาโครงการ
เสนอตอ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร
                       และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี)
                                15 ธันวาคม 2552
รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีดานพลังงานสะอาดในประเทศ
              สหรัฐอเมริกาภายใตโครงการการดําเนินภารกิจ (ทีมประเทศไทย)
                                ประจําปงบประมาณ 2552
                            (ธันวาคม 2551 – ธันวาคม 2552)
        สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.




             ________________________________________________________________________________
รายงานฉบับนี้เปนลิขสิทธิ์ของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี) หากนําไปใชประโยชน โปรดอางอิงชื่อสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี) ดวย
คํานํา

         รายงานการสื บ ค น ข อ มู ล ความก า วหน า และสถานะเทคโนโลยี พ ลั ง งานสะอาดในประเทศ
สหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงคการจัดทําเพื่อสืบเสาะแสวงหาและเขาถึงองคความรูและเทคโนโลยีสําคัญใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และการทํานวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แขงขันของประเทศและเปนการสรางฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเขมแข็งมากขึ้น ซึ่ง
วัตถุประสงคดังกลาวเปนภารกิจสวนหนึ่งของสํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํา
กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี . อั น เป น หน ว ยงานภายใต ก ารสั ง กั ด ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยี
         คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานวิจัยและพัฒนา หนวยงานนโยบาย
และสถาบันการศึกษา ในการพัฒนางานดานสเต็มเซลลของประเทศไทยตอไป ทั้งนี้รายงานฉบับนี้สามารถ
สืบคนไดทางเว็บไซต http://www.ostc.thaiembdc.org อีกทางหนึ่งดวย

                                                             สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
                                                                          ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
                                                                             10 ธันวาคม 2552
สารบัญ
                                                                       หนา
บทสรุปผูบริหาร                                                          1
บทนํา
  1. ความหมายและประเภทของพลังงานทดแทน                                    3
  2. ความเปนมาทางดานการผลิตและการใชพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกา       7
  3. พลังงานทดแทนในประเทศสหรัฐอเมริกา                                   16
  4. นโยบายพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาในรัฐบาลปจจุบัน                 18
  5. บทสรุปเกียวกับบทบาทของพลังงานหมุนเวียนที่มตอประเทศสหรัฐอเมริกา
                ่                              ี                        20

พลังงานแสงอาทิตย (Solar Energy)
    1. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย                           22
    2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยในสหรัฐอเมริกา                         23
    3. หนวยงานที่เกี่ยวของกับโครงการพลังงานแสงอาทิตย                 56
    4. ประโยชนของพลังงานแสงอาทิตย                                     58
    5. งบประมาณพลังงานแสงอาทิตย                                        59

พลังงานลม (Wind Energy)
    1. ประวัติของพลังงานลม                                              63
    2. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานลม                                   64
    3. เทคโนโลยีพลังงานลม                                               70
    4. ประโยชนและโทษของพลังงานลม                                       84
    5. งบประมาณพลังงานลม                                                86

พลังงานความรอนใตพภพ (Geothermal Energy)
                        ิ
    1. ประวัติพลังงานความรอนใตพิภพ                                    92
    2. ขอมูลทัวไปเกี่ยวกับพลังงานความรอนใตพิภพ
               ่                                                        99
    3. เทคโนโลยีพลังงานความรอนใตพภพิ                                 100
    4. ประโยชนของพลังงานความรอนใตพิภพ                               113
    5. งบประมาณ                                                        123
พลังงานชีวมวล (Biomass Energy)
    1. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานชีวมวล                                             125
    2. ประเภทของพลังงานชีวมวล                                                         125
    3. เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล                                                         134
    4. ประโยชนท่ไดจากการใชชวมวล
                   ี              ี                                                   150
    5. นโยบายพลังงานชีวมวลของรัฐบาลกลาง                                               156
    6. งบประมาณพลังงานชีวมวล                                                          162
    7. องคกรรวมดําเนินการ                                                           168

พลังงานน้ํา (Hydropower)
    1. ประวัติของการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา                                          176
    2. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา                               178
    3. เทคโนโลยีพลังงานน้ํา                                                           189
    4. ประโยชนและโทษของการผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังน้ํา                         200
    5. งบประมาณการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา                                            202

การสืบคนขอมูลสิทธิบัตรเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางดานพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียน          204

กฎหมายทั่วไปทางดานพลังงานของรัฐบาลกลาง
  1. กฎหมายที่กาหนดตามนโยบายทางดานการสงวนพลังงานแหงชาติ (National Energy
                     ํ
     Conservation Policy Act)                                                         214
  2. กฎหมายที่กาหนดตามนโยบายในการลดภาวะพึ่งพาและความปลอดภัยทางดานพลังงาน
                   ํ
     (Energy Independence and Security Act of 2007)                                   214
  3. คําสั่งจากผูบริหารชั้นสูงฉบับที่ 13423 (Executive Order 13423)                  223
  4. กฎหมายที่กําหนดตามนโยบายทางดานพลังงานป พ.ศ. 2548 (Energy Policy Act of 2005)   226
  5. คําสั่งจากผูบริหารชั้นสูงฉบับที่ 13221 (Executive Order 13221)                  229
  6. กฎหมายที่กําหนดตามนโยบายทางดานพลังงานป พ.ศ. 2535 (Energy Policy Act of 1992)   230

นโยบายทั่วไปทางดานพลังงานของรัฐบาลกลาง                                               235
แนวโนมทางดานพลังงานสหรัฐฯ ในประเด็นตางๆ                                            245
บรรณานุกรม                                                                            257
สารบัญรูป

รูปที่                                                                                   หนา
1.1 แสดงแหลงพลังงานทดแทนประเภทพลังงานหมุนเวียนตางๆ                                        4
1.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานจากแหลงพลังงานตางๆในป พ.ศ. 2178-2543
    (ควอดริลเลียน บีทยู)
                      ี                                                                    8
1.3 การผลิตพลังงานตามแหลงที่มาสําหรับป พ.ศ. 2543                                        10
1.4 ปริมาณการใชพลังงานโดยรวม                                                             10
1.5 แสดงปริมาณการผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543             11
1.6 ปริมาณน้ํามันนําเขาตั้งแตป พ.ศ. 2503-2543                                          12
1.7 การใชพลังงานโดยการจําแนกจากการใชงาน                                                 13
1.8 การใชพลังงานสําหรับที่อยูอาศัยและภาคธุรกิจ                                          13
1.9 การใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม                                                          14
1.10 แสดงการใชพลังงานในการขนสง                                                          15
1.11 แสดงอัตราการใชนํามันของรถยนต
                        ้                                                                 16
1.12 แสดงการใชพลังงานประเภทตางๆตั้งแตป พ.ศ. 2493-2543                                 17
1.13 แสดงปริมาณพลังงานทดแทนที่ใชในสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2550                                  20

2.1 เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย                                                            24
2.2 แสดงขั้นตอนในการรับพลังงานของเซลลแผนรับพลังงานแสงอาทิตย                            26
2.3 แสดงการระบบการดูดรับแสงจากดวงอาทิตย                                                  28
2.4 แสดงอัตราความยาวของคลื่นแสง ความถี่และพลังงานโปรตอนของแสงอาทิตย                      29
2.5 ภาพแผนรับพลังงานแสงอาทิตยแบบเรียบซึ่งเปนการเรียงตอกันเพื่อขยายขนาดใหกวางขึ้น    31
2.6 แสดงประสิทธิภาพของพื้นที่ในการรับพลังงานแสงอาทิตย                                    33
2.7 แสดงขนาดและการตอเซลลในการผลิตแผนรับพลังงานแสงอาทิตย                               35
2.8 แสดงสวนประกอบของเซลลแผนรับพลังงานแสงอาทิตย                                        36
2.9 แสดงสวนประกอบของระบบแผนรับพลังงานแสงอาทิตยชนิดรวมแสง                               37
2.10 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาโดยการใชระบบที่มลักษณะคลายรางน้ําที่เอียงปานในมลรัฐ
                                             ี
     แคลิฟอรเนีย                                                                         42
2.11 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยดวยการใชระบบที่มีลักษณะคลายรางน้ํา
     ที่เอียงปาน (Parabolic Troughs)                                                     44
2.12 แหลงผลิตพลังงานดวยระบบการสะทอนและรวมแสงแบบเฟรสเนล                                 45
2.13 แหลงผลิตพลังงานชนิดจานรับพลังงาน                                               46
2.14 แหลงผลิตกระแสไฟฟาดวยระบบหอคอยศูนยรวมพลังงาน                                 47
2.15 ระบบการจัดเก็บพลังงานระหวางแทงคสองแทงคแบบโดยตรง                              49
2.16 ระบบการจัดเก็บพลังงานระหวางแทงคสองแทงคแบบทางออม                             50
2.17 ระบบการจัดเก็บพลังงานดวยระบบการทําความรอนภายในแทงคเดี่ยว                     51

3.1 ภาพกังหันลมเมื่อตนศตวรรษที่ 20 เพื่อทําการปมน้ําและผลิตกระแสไฟฟา             63
3.2 การทํางานของกังหันลม                                                             65
3.3 ภาพกังหันลมที่ชาวไรใชในการผลิตกระแสไฟฟา                                       65
3.4 โครงสรางภายในของกังหันลม                                                        66
3.5 แสดงศักยภาพของลมในมลรัฐตางๆของสหรัฐฯ                                            69
3.6 แสดงการจัดสรรงบประมาณการคนควาวิจัยทางดานตางๆ สําหรับป พ.ศ. 2552             86
3.7 แสดงปริมาณเงินงบประมาณของปงบประมาณ พ.ศ. 2518-2552                               87

4.1 แสดงขั้นตอนการพัฒนาและการปฏิบติการของระบบพลังงานความรอนใตพิภพ
                                      ั                                              105
4.2 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบไอแหง                                        106
4.3 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบแฟลชสตรีม                                     107
4.4 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบผสม                                           108
4.5 แสดงปริมาณการใชกาซธรรมชาติในปริมาณที่มากขึ้นตั้งแตทศวรรษที่ 70 จนถึงปจจุบัน
                                                                                    114
4.6 แสดงอัตราการใชถานหินแยกโดยลักษณะการใชงานในป พ.ศ. 2541-2550                   115
4.7 แสดงอัตราคาสงถานหิน ป พ.ศ. 2541-2550                                         115
4.8 แสดงปริมาณน้ํามันดิบและผลิตภัณฑปโตรเลียมที่ไดรับจากการนําเขา                 116
4.9 อัตราการเผาไหมกาซคารบอนไดออกไซดในการผลิตพลังงานจากระบบตางๆ
                                                                                    118
4.10 อัตราการใชนําในการผลิตพลังงานของแหลงพลังงานตางๆ
                     ้                                                               119
4.11 แสดงการใชพ้นที่ของแหลงผลิตพลังงานชนิดตางๆ
                       ื                                                             120
4.12 แสดงการเผาไหมของโรงงานถานหินและโรงงานผลิตพลังงานความรอนใตพิภพ
     ที่ทําใหเกิดกาซเสียชนิดตางๆ                                                  121

5.1 แสดงการเก็บเกี่ยววัสดุชีวมวลเพื่อใชในการผลิตพลังงานหรือเชื้อเพลิง               125
5.2 แสดงกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงไบโอดีเซล                                             129
5.3 Gas Turbine หรือกังหันที่หมุนดวยกาซเพื่อใชในการผลิตพลังงาน                    131
5.4 การเปรียบเทียบผลิตภัณฑชีวมวลที่ไดหลังจากผานกระบวนการผลิต                      133
5.5 แสดงการจัดแยกวัตถุดิบธรรมชาติตามการใชงาน                                             136
5.6 แสดงหวงโชอุปทานของเชื้อเพลิงชีวภาพ                                                  137
5.7 แสดงการเก็บเกี่ยววัตถุดิบชีวมวลพรอมดวยการคัดเลือกและแยกเมล็ดพันธุและฟาง            138
5.8 แสดงการจัดเตรียมวัตถุดบประเภทฟาง ซึ่งอยูภายใตการพัฒนาปรับปรุงเพื่อลดตนทุน
                            ิ
    ในการดําเนินการ                                                                       139
5.9 แสดงการจัดเก็บวัตถุดิบดวยการกองสุม การมัดเปนกลุมกอนและการเกลี่ยกระจาย
     ซึ่งบนกองวัตถุดบตางๆนั้นจะมีการแตมสีเอาไวเพื่อใชในการตรวจสอบ
                    ิ
     ระดับความชื้นจากการดูดซึม                                                            140
5.10 แสดงกระบวนการขนสงวัตถุดบเพื่อใชในการสกัดหรือการจัดเก็บเพื่อนํามาใชสกัดในภายหลัง
                                  ิ                                                       141
5.11 แสดงขั้นตอนและปจจัยที่ผลตอการพัฒนาระบบการสกัด                                      146
5.12 แสดงปริมาณการผลิตน้ํามันภายในประเทศและอัตราการนําเขาน้ํามันดิบของสหรัฐฯ             151
5.13 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเผาไหมกาซเรือนกระจกของเชื้อเพลิงที่ใชในการขนสง
                                                                                         153
5.14 แสดงอัตราการเผาไหมที่เพิ่มขึ้นของกาซชนิดตางๆ
     เนื่องจากการผสมเชื้อเพลิงไบโอดีเซลที่เพิ่มขึ้น                                       155
5.15 แสดงปริมาณเงินสนับสนุนตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2545-2551                               163
5.16 แสดงรายชื่อองคการที่เขารวมดําเนินการโครงการตางๆเกี่ยวกับชีวมวล                   168

6.1 แสดงภาพทัศนียภาพทั่วไปของเขื่อนฮูเวอรแดม และกังหันน้ําที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟา      179
6.2 การผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังงานน้ํา                                              179
6.3 แสดงลําดับการผลิตพลังงานไฟฟาในมลรัฐตางๆ                                             180
6.4 แสดงวัฎจักรของน้ําและการเกิดพลังงานจากน้ํา                                            181
6.5 แหลงผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ําขนาดใหญที่กกเก็บน้ําเอาไวในบอกักเก็บ
                                              ั                                           182
6.6 ตัวอยางแหลงผลิตพลังงานไฟฟาชนิด Diversion โครงการ Tazimina มลรัฐอลาสกา             183
6.7 แสดงแหลงผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ําขนาดจิ๋ว                                             184
6.8 กังหันน้ําเพลตัน                                                                      185
6.9 กังหันน้ําโพเพลเลอร                                                                  186
6.10 กังหันน้ําที่มีลักษณะคลายหลอดไฟ (Bulb Turbine)                                      186
6.11 กังหันน้ําเคแพลน (Kaplan Turbine)                                                    187
6.12 กังหันน้ําแฟรนซิส                                                                    187
6.13 ภาพกังหันน้ํารุนใหมที่ผานการทดสอบทางดานตางๆแลว                                 192
6.14 แสดงภาพรั้วกั้นคลื่น                                                                 198
6.15 ภาพกังหันคลื่น                                                                       198
6.16 แสดงการจัดสรรงบประมาณการคนควาวิจัยทางดานตางๆ ของพลังงานน้ําสําหรับป พ.ศ. 2551 202
6.17 แสดงปริมาณเงินงบประมาณของปงบประมาณตางๆที่ผานมา
                                                                                       202

7.1 แสดงหนาจอรายการเพื่อใชเลือกสืบคนขอมูลสิทธิบัตร                                  206
7.2 แสดงหนาจอจากเว็บไซดสานักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาฯ
                             ํ                                                          206
7.3 แสดงการใสคาเฉพาะเขาไปในชองตางๆเพื่อสืบคนขอมูลสิทธิบัตร
                 ํ                                                                      208
7.4 แสดงรายการขอมูลสิทธิบัตรที่เกี่ยวของตามคําเฉพาะที่ผูสืบคนไดใสเขาไป           209
7.5 ตัวอยางสิทธิบัตร                                                               210-212
7.6 แสดงตัวเลือกเพิ่มเติมตางๆ                                                          213

10.1 แสดงปริมาณการใชพลังงานทดแทนของสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2551                              245
10.2 ปริมาณความตองการเชื้อเพลิงเหลวของภาคอุตสาหกรรมตางๆ                              247
10.3 แสดงอัตราการใชพลังงานตอคนตั้งแตป พ.ศ. 2523 ถึงป พ.ศ. 2573                    250
10.4 แสดงปริมาณการใชพลังงานตอคนในกรณีศึกษาตางๆ                                      252
10.5 แสดงประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณในกรณีตางๆ ที่มีผลตอปริมาณความตองการ
    พลังงานไฟฟา                                                                       253
10.6 แสดงการเปรียบเทียบการติดตั้งเครื่องผลิตความรอนจากเครื่องปมพลังงานความรอน
    ชนิดติดตั้งบนพื้นและแผนรับพลังงานแสงอาทิตยในป พ.ศ. 2550 ป พ.ศ. 2558
    และป พ.ศ. 2573 ตามลําดับ                                                          255
10.7 แสดงอัตราการใชพลังงานตอคนในกรณีตางๆ ในชวงป พ.ศ. 2514 จนถึงป พ.ศ. 2573       256
สารบัญตาราง
ตารางที่                                                           หนา

2.1 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมพลังงานแสงอาทิตยตามสัดสวน
    ของโครงการตางๆประจําปปงบประมาณ พ.ศ. 2551                     59
2.2 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมพลังงานแสงอาทิตยตามสัดสวน
    ของโครงการตางๆประจําปปงบประมาณ พ.ศ. 2552                     60

4.1 แสดงวัตถุประสงคในชวงระยะเวลาตางๆของพลังงานความรอนใตพิภพ    113
4.2 แสดงงบประมาณระบบกระตุนพลังงานความรอนใตพิภพ                   124

5.1 แสดงคุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิงไบโอดีเซล                    127
5.2 แสดงการใชเชื้อเพลิงทดแทนและเชือเพลิงชีวมวลชนิดตางๆ
                                   ้                                157
5.3 แสดงงบประมาณพลังงานชีวมวลประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552             165

8.1 ตารางเปรียบเทียบอัตราการลดปริมาณการใชพลังงาน                   215
8.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานที่ไดจากเชื้อเพลิงชีวภาพที่ลดลง         218
8.3 แสดงปริมาณการใชนําที่ลดลงตามลําดับ
                       ้                                            225
บทสรุปผูบริหาร

         พลังงานเปนสิ่งจําเปนสําหรับมนุษยมาเปนระยะเวลายาวนาน โดยที่มนุษยไดคิดคนและนําเอา
พลังงานที่ไดจากธรรมชาติ ทั้งจากสัตวหรือพืชบางชนิด รวมถึงการนําเอาเชื้อเพลิงที่ไดจากสิ่งมีชีวิตมาใช
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือเสริมสรางความสามารถในการผลิต แตเนื่องจากขอจํากัดตางๆ เชน ปริมาณ
ทรัพยากรที่มีอยูตามธรรมชาติที่ลดนอยลง ปริมาณกาซที่มีผลกอใหเกิดสภาวะเรือนกระจก ไดผลักดันให
มนุษยเริ่มหันมาใหความสนใจที่จะนําเอาพลังงานสะอาดที่มีอยูในธรรมชาติมาใช ซึ่งพลังงานเหลานั้นไดแก
พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชีวมวล และพลังงานน้ํา
         รายงานฉบับนี้มุงเนนการสืบคนขอมูลความกาวหนาในการวิจัยและพัฒนาดานพลังงานทดแทนใน
ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจะกลาวถึงประเภทของพลังงานทดแทน ประวัติความเปนมาดานพลังงานและ
พลังงานทดแทนของสหรัฐอเมริกา นโยบายดานพลังงานทดแทน จากนั้นไดแสดงผลการสืบคนขอมูลดาน
พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชีวมวลและพลังงานน้ํา ในชวงทายได
แสดงผลการสืบคนขอมูลสิทธิบัตรที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีดานพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียน กฎหมาย
ดานพลังงานและนโยบายดานพลังงานของรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา
         จากขอมูลที่ สื บ คนได พ บว าประเทศสหรัฐอเมริกาไดใ ห ความสํ าคัญในการคนคว าวิจัย เกี่ย วกับ
เทคโนโลยี ท างด า นพลั ง งานสะอาดมาเป น ระยะเวลานานอย า งต อ เนื่ อ ง และในสมั ย การปกครองของ
ประธานาธิ บ ดี โ อบามาก็ ยั ง คงให ง บประมาณสนั บ สนุ น การค น คว า วิ จั ย ต า งๆ เช น การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง
ประสิ ท ธิ ภ าพเทคโนโลยี พ ลั ง งานแสงอาทิต ย ห ลายประเภท เพื่ อ ลดต นทุ น การผลิ ต และเป น การดึ ง ดู ด
ผูบริโภคใหใชพลังงานสะอาดมากยิ่งขึ้น สวนในพื้นที่ทองถิ่นบางแหงนั้นไดมีการสงเสริมผูบริโภคใหหันมา
ใชพลังงานลมในการผลิตพลังงานไฟฟามากกวาที่เคยเปนมา และรัฐบาลไดใหการสนับสนุนการใชพลังงาน
ความรอนใตพิภพดวยการจัดตั้งแผนงานและโครงการตางๆใหสอดคลองกับความตองการของทั้งผูผลิตและ
ผูบริโภค นอกจากนั้นยังไดมีการสงเสริมการใชพลังงานชีวมวลอยางตอเนื่องเพื่อลดปริมาณความตองการ
เชื้อเพลิงนําเขาจากตางประเทศที่ใชสําหรับเครื่องยนตชนิดตางๆ ตลอดจนการผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจาก
พลังน้ําในหลายๆมลรัฐในบริเวณตะวันตกทางตอนเหนือของประเทศ
         เพื่อเปนการสานตอการพัฒนาพลังงานสะอาดและสนับสนุนการสรางเครื่องมือผลิตภัณฑตางๆ
ตลอดจนการสงเสริมการใชพลังงานอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปจจุบันยังคง
ดําเนินการตามแนวทางกฎหมาย นโยบายหรือแผนงานโครงการที่มีมาแตเดิมตามความเหมาะสม ซึ่งผลที่
ตามมานั้นไมเพียงแตจะใหประโยชนแกประชากรชาวสหรัฐฯเทานั้น แตยังสงผลตอประเทศตางๆทั่วโลก
ดวยการนําเอาเทคโนโลยีประเภทตางๆไปปรับใชเพื่อทําใหเกิดการพัฒนาความเปนอยูที่ดีขึ้น อยางไรก็ตาม
การเลือกใชเทคโนโลยีแตละประเภทนั้นจะตองคํานึงถึงความสอดคลองของสภาวะทั่วไปของพื้นที่นั้นๆ
ตลอดจนความรูและความเขาใจของประชากรทองถิ่นที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นดวยเชนกัน



                                                                                                                1
ทั้งนี้หากการพัฒนาเทคโนโลยีทางดานพลังงานสะอาดมีความกาวหนามากขึ้น เทคโนโลยีเหลานี้ยัง
สามารถนํามาใชเพื่อเปนประโยชนไดอีก เชน การนําเอาเทคโนโลยีประยุกตที่ไดมาเปนสินคาในเชิงพาณิชย
จึงสามารถกลาวไดวาการคนควาวิจัยและพัฒนาพลังงานสะอาดนั้นมีความสําคัญตอประเทศตางๆ ทั่วโลก
เพราะไมใชเพียงแตเปนการสงวนทรัพยากรธรรมชาติของโลกเอาไวเทานั้น แตพลังงานตางๆที่ไดยังชวย
สนับสนุนใหมนุษยไดทําการพัฒนาตอยอดทางดานอื่นๆตอไป นอกเหนือจากนั้นยังเปนการสรางงานใน
หลายๆ ระดับชั้น เชน การสรางงานจํานวนมากมายในระดับทองถิ่น การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน
สะอาดกับเทคโนโลยีการผลิตเครื่องยนต หรือการสร างแผนงานการพัฒนาเพื่อรักษาไวซึ่งความเปนผู
บุกเบิกและผูนําทางดานเทคโนโลยีของประเทศสหรัฐอเมริกาตอไป




                                                                                                   2
บทนํา

                             พลังงานสะอาด (Clean Energy)
1. ความหมายและประเภทของพลังงาน
         มนุษยตองอาศัยพลังงานเพื่อใชในการดํารงชีพ โดยเริ่มตนมาจากการใชพลังงานจากธรรมชาติ อัน
ไดแกพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งเปนพลังงานที่มีปริมาณมากมายมหาศาลและใหประโยชนตางๆ เชนการใช
พลังงานแสงอาทิตยในการถนอมอาหารโดยการทําอาหารแหง หรือการใชพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย
เพื่อใหความอบอุนแกรายกาย แตดวยขอจํากัดบางประการของพลังงานแสงอาทิตยเปนตนวา แสงอาทิตย
นั้นใหพลังงานไดในชวงระยะเวลาที่จํากัด จึงเปนสาเหตุที่ผลักดันใหมนุษยเริ่มนําเอาพลังงานจากซากพืช
ซากสัตวมาใช เพื่ ออํ านวยความสะดวกในเวลาตอมา และเมื่อพลังงานจากซากพืชซากสัต วที่มนุ ษยได
นํามาใชนั้นเริ่มลดลง และมีผลเสียบางประการ เชน เปนพลังงานที่ใชแลวหมดไป รวมทั้งพลังงานดังกลาว
ยังกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศ ซึ่งมีผลรายตอสุขภาพของมนุษย จากเหตุผลตางๆที่กลาวมาแลวขางตนจึง
ทําใหมนุษยพยายามทําการทดลองคิดคนหาพลังงานมาใชทดแทน ซึ่งพลังงานทดแทนดังกลาวที่จะนํามาใช
นั้นจะตองเปนพลังงานที่มีประโยชน ไม กอใหเกิ ดมลภาวะอันเปนผลรายต อสุขภาพของมนุษ ย และยัง
สามารถนําเอาพลังงานเหลานั้นกลับมาใชใหมได
         พลังงานสะอาด (Clean Energy) หมายถึงพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่เกิดจากธรรมชาติ
สามารถนํามาใชสรางหรือผลิตพลังงานไฟฟาไดโดยไมสิ้นเปลืองและไมกอใหเกิดมลภาวะตอมนุษยหรือ
สิ่งแวดลอม พลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียนนั้นสามารถจําแนกออกไดเปน 5 ประเภท ไดแก พลังงานชีว
มวล (Biomass) พลังงานน้ํา (Hydropower) พลังงานความรอนใตพิภพ (Geothermal) พลังงานลม (Wind)
และพลังงานแสงแดด (Solar) ดังแสดงในรูปที่ 1.1 ซึ่งพลังงานสะอาดนั้นจะแตกตางจากพลังงานที่ใชแลว
หมดไป (Depleted Energy) ไดแก พลังงานถานหิน พลังงานกาซธรรมชาติ พลังงานนิวเคลียรและพลังงาน
ทรายน้ํามัน (Sand Oil)




                                                                                                   3
รูปที่ 1.1 แสดงแหลงพลังงานทดแทนประเภทพลังงานหมุนเวียนตางๆ
                                  (ที่มา : EIA: Renewable Energy, 2008)

         พลังงานมีความสําคัญตอการดํารงชีพของมนุษยเปนอยางมาก สิ่งมีชีวิตพึ่งพาพลังงานที่ไดจาก
สิ่ ง แวดล อ ม และทํ า การเปลี่ ย นพลั ง งานเหล า นั้น ใหอ ยู ใ นรู ป แบบตา งๆที่ส ามารถนํ า ไปใช ป ระโยชนไ ด
พลังงานที่สิ่งมีชีวิตใชเปนพื้นฐานในการดํารงชีพซึ่งเห็นไดอยางชัดเจน ไดแก พลังงานแสงแดด ที่ทั้งพืชที่
อาศัยอยูบนบกและใตทะเลสามารถใชพลังงานแสงอาทิตยเปนองคประกอบหลักอยางหนึ่งในการเปลี่ยนสาร
ชีวมวลในกระบวนการสังเคราะหแสง ในชวงระยะเวลากอนเขาสูยุคอุตสาหกรรม มนุษยมีพลังงานมากเพียง
พอที่จะใชในการดํารงชีวิต เชน พลังงานแสงอาทิตยใหความรอนแกมนุษยในเวลากลางวัน สวนในเวลา
กลางคืนหรือเวลาที่ไมมีแสงอาทิตย มนุษยไดรับพลังงานความรอนจากการเผาไหมของไม ฟางและมูลสัตว
แหง และเมื่อใดที่ ตองการพลังงานเพื่อใชในการเดินทางมนุษ ยก็สามารถใช พลังงานจากมาหรือการใช
พลังงานลมในการเดินเรือไปยังที่ตางๆ รวมถึงการใชพลังงานน้ําและพลังงานลมในการขับเคลื่อนเครื่องกล
บางประเภทเพื่อใชในการสีขาวหรือสูบน้ําที่ใชในการเพาะปลูก
          เปนเวลานับพันปมาแลวที่มนุษยพยายามคนหาวิธีการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของพลังงาน โดย
เริ่มตนจากการใชพลังงานจากสัตว ตลอดจนประดิษฐคิดคนเครื่องมือเครื่องจักรตางๆเพื่อกักเก็บพลังงานที่
ไดจากลมและน้ํา สวนในชวงระบบอุตสาหกรรมที่ถือวาเปนจุดเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปสูโลกยุคใหมนั้น ได
มีการใชเชื้อเพลิงจากซากพืชซากสัตวกันอยางแพรหลาย ซึ่งการพัฒนาดังกลาวยังเปนการเปดโลกทัศนของ


                                                                                                                   4
การใชพลังงานที่ไดจากธรรมชาติซึ่งไดแก ถานหิน น้ํามันและกาซธรรมชาติมากขึ้นอีกดวย นอกจากนี้การ
เปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้นยังเปนตัวบงชี้ใหเห็นวาพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียนเปนพลังงานที่ชวย
สงเสริมความเปนอยูที่ดีขึ้นของมนุษยชาติ
           ผลลัพธที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมจากอดีตจนถึงปจจุบันทําใหระบบการผลิตและ
การใชพลังงานตางๆเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน และเปนการเปลี่ยนแปลงที่มี
ประสิทธิภาพที่ทําใหเกิดการสรางงานจํานวนมาก เชน การนําพลังงานสัตวมาใชรวมแทนการใชพลังงาน
มนุษยเพียงอยางเดียว และตอมาก็มีการใชพลังงานจากใบพัดและกังหันน้ํา ซึ่งระบบอุตสาหกรรมตางๆที่
เกิดขึ้นนั้นมีความสัมพันธโดยตรงกับระบบเศรษฐศาสตรและสังคม อีกทั้งยังสงผลตอความเปนอยูและการ
พัฒนาของมนุษยในแตละยุคสมัย
           เครื่องกลแตละประเภทมีความสามารถในการทํางานที่แตกตางกันโดยขึ้นอยูกับพลังงานที่ไดรับ
ทั้งนี้ไดมีการบันทึกเกี่ยวกับการผลิตพลังงานมาตั้งแตสมัยอเล็กซานเดอร เชน การปฏิรูปพลังงานเครื่องกล
ดวยไอน้ําไดเกิดขึ้นในชวงศตวรรษที่ 17 และ 18 และมีการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญอีกครั้งในสมัยของโทมัส
นิวโคเมน (Thomas Newcomen) และเจมส วัตต (James Watt) เมื่อประมาณชวงป พ.ศ. 2243 ซึ่งนับไดวา
เปนตนกําเนิดของเครื่องจักรพลังงานไอน้ําและเปนการเปดโลกทัศนของการผลิตพลังงานครั้งสําคัญ
           ในป พ.ศ. 2423 โรงงานของนายโทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ที่ตั้งอยูที่เมืองนิวยอรกไดผลิต
พลังงานไฟฟาใหแกสถาบันการเงินวอลลสตรีท (Wall Street) และอาคารของหนังสือพิมพนิวยอรกไทม
(New York Times) โดยใชถานหินซึ่งใหพลังงานแกเครื่องจักรไอน้ําที่ติดกับเครื่องผลิตกระแสไฟฟาเครื่อง
แรกของโลกที่เขาผลิตขึ้น อีกหนึ่งปตอมาไดมีการผลิตเครื่องผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังน้ําขึ้นที่เมืองแอป
เพิลตัน มลรัฐวิสคอนซิน ดวยหลักการเดียวกันกับการใชกระแสน้ําที่ทําใหเครื่องสีขาวหมุนเพื่อชวยให
เกษตรกรไดรับความสะดวกในการทํางาน และในชวงระยะเวลาเพียงไมกี่ปหลังจากนั้นนายเฮนรี่ ฟอรด
(Henry Ford) ไดวาจางนายโทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ใหสรางเครื่องผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังน้ํา
ขนาดเล็กเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาใหกับบานของตนที่มลรัฐมิชิแกนดวย
           ในชวงปลายศตวรรษที่ 18 (ประมาณป พ.ศ. 2342) ไดมีการนําเอาเชื้อเพลิงชนิดใหมที่เรียกกันวา
ปโตรเลียม (Petroleum) มาใช แตเชื้อเพลิงปโตรเลียมนี้กลับกลายเปนผลิตภัณฑใหมที่ทําใหผูคนไดรับ
ความเดือดรอนเนื่องจากทําใหน้ําดื่มสกปรก ทั้งนี้ในชวงศตวรรษตอมาน้ํามันปโตรเลียมไดถูกพัฒนาและ
นํามาใชในกระบวนการสันดาบภายในเครื่องยนตจึงทําใหมีการผลิตน้ํามันปโตรเลียมขึ้นอีกครั้ง ซึ่งในเวลา
นั้นเชื้อเพลิงปโตรเลียมมีราคาสูงมากรวมทั้งมีการนํามาจําหนายโดยกลุมพอคาขายปลีกที่ขายสินคาจําพวก
ยาและน้ํามันบางกลุมเทานั้น นอกจากนี้น้ํามันปโตรเลียมยังใชเปนวัตถุดิบที่ใชในการจุดไฟแทนน้ํามันที่ได
จากปลาวาฬ หลังจากที่โรงผลิตพลังงานจากน้ํามันที่ไดจากปลาวาฬไดเริ่มปดตัวลง
           ในชว งนี้ เ องยานพาหนะต า งๆที่ ทํา งานโดยไม ใ ชแ รงงานสั ต ว ไ ดรั บ ความนิ ย มในหมู ค นมี ฐ านะ
จนกระทั่งนายเฮนรี่ ฟอรดไดออกแบบและผลิตรถยนตที่ใชน้ํามันในระดับอุตสาหกรรมขึ้นตามโมเดลรูปตัวที
(T-model) ที่เขาไดคิดคนขึ้น ซึ่งรถยนตประเภทนี้นับไดวาเปนรถยนตที่ประหยัดน้ํามันมากที่สุดในเวลานั้น


                                                                                                                 5
คือสามารถวิ่งไดระยะทาง 13 ถึง 21 ไมลตอแกลลอน หรือประมาณ 5-9 กิโลเมตรตอลิตร และรถยนตที่
สรางขึ้นตามโมเดลรูปตัวทีนั้นยังสามารถวิ่งไดดวยการใชน้ํามันกาดคีโรซีน (Kerosine) หรือน้ํามันอีเทอร
นอล (Ethanol)
         ในเวลาตอมาเนื่องดวยราคาของรถยนตที่ต่ําลง รวมถึงมีการขยายการใชพลังงานไฟฟาเปนวงกวาง
ออกไปและเพิ่มมากขึ้น จึงทําใหการใชพลังงานของมนุษยเกิดการเปลี่ยนแปลงมาจนถึงปจจุบัน และเปน
สาเหตุหลักทําใหเกิดโรงงานผลิตพลังงานประเภทตางๆ เชน โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากถานหิน
และแหลงผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังน้ํา ตลอดจนแหลงผลิตสายไฟฟาที่ใชในการสงพลังงานไฟฟาที่มี
ความยาวหลายรอยไมลเพื่อใชสงพลังงานไฟฟาระหวางแหลงผลิตพลังงานกับเมืองตางๆ ตลอดจนการสง
พลังงานไฟฟาไปยังเขตที่ไฟฟาเขาไมถึงในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ (Great Depression) ในป พ.ศ. 2473
         อัตราการใชพลังงานเติบโตอยางรวดเร็วและมีปริมาณเพิ่มขึ้นเปนเทาตัวในระยะเวลาทุกๆ 10 ป
ถึงแมวาอัตราคาใชจายในการผลิตพลังงานไฟฟานั้นมีแนวโนมที่ต่ําลงอยางคงที่ แตประเด็นเกี่ยวกับการใช
พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) นั้นก็ยังคงเปนเรื่องที่ผูบริโภคยังไมคอยใหความสําคัญ
และสนใจมากเทาที่ควร
        หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเปนชวงที่รัฐบาลสหรัฐฯ พยายามสํารวจหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อใช
ในการคนควาวิจัยเกี่ยวกับอะตอมที่สามารถนํามาใชในการผลิตกระแสไฟฟาได จึงทําใหมีการวางแผนที่จะ
กอตั้งโรงงานพลังงานนิวเคลียรขึ้นเปนจํานวนมากกวา 200 แหงทั่วประเทศ และบานเรือนที่ปลูกสรางขึ้น
ใหมนั้นก็ไดมีการติดตั้งระบบการทําความรอนที่เกิดจากพลังงานไฟฟา ในขณะเดียวกันปริมาณการใชน้ํามัน
เชื้อเพลิงนั้นก็ไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตลอดจนปริมาณรถยนตที่เพิ่มขึ้นอยางมากมายในชวงป พ.ศ. 2493 -
2512 โดยในป พ.ศ. 2513 อัตราเฉลี่ยการใชน้ํามันเชื้อเพลิงของรถยนตในประเทศสหรัฐฯอยูที่ 13.5 ไมลตอ
แกลลอน โดยที่น้ํามันเชื้อเพลิงหนึ่งแกลลอนนั้นมีราคาต่ํากวา 25 เซนต
        จนกระทั่งเมื่อป พ.ศ. 2516 สหรัฐฯ ไดใหการสนับสนุนประเทศอิสราเอลในสงครามระหวางประเทศ
อาหรับ ซึ่งเปนผลทําใหกลุมประเทศอาหรับที่ผลิตน้ํามันหยุดการจัดสงน้ํามันใหกับสหรัฐฯ และประเทศ
ตางๆที่อยูในแถบตะวันตก มีผลใหราคาน้ํามันสูงขึ้นเปน 3 เทาในชวงขามคืน หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2522
เมื่อโมฮาหมัด รีซา ชา พาวาลิ (Mohammad Reza Shah Pahlavi) หรือที่รูจักกันในนามวาชารออฟอิหราน
(Shah of Iran) ไดถูกขับไลโดยนายอยาตุเลาะห โคไมนี (Ayatollah Khomeini) ซึ่งเปนผูนําทางศาสนาและ
นักการเมืองที่เขามาทําการเปลี่ยนระบอบการปกครอง ทําใหราคาน้ํามันสูงขึ้นถึง 150 เปอรเซ็นตภายใน
ชวงระยะเวลาไมกี่สัปดาห ดังนั้นจึงสงผลใหประธานาธิบดีคารเตอรของสหรัฐฯ ตองออกมาแถลงการณ
ฉุกเฉินผานสื่อตางๆเพื่อกระตุนการประหยัดน้ํามัน โดยในชวงป พ.ศ. 2523 ราคาน้ํามันเฉลี่ยตอบารเรลอยู
ที่ 45 เหรียญสหรัฐฯ หลังจากเหตุการณลมลางกษัตริยของอิหรานสิ้นสุดลงไมนานนัก บริษัทผลิตพลังงาน
นิวเคลียรที่มีชื่อวาทรี ไมล ไอซแลนด (Three Miles Island) ก็ไดรับผลกระทบอันเนื่องจากความผิดพลาด
และลมเหลวทางดานเครื่องกลและการปฏิบัติการเปนจํานวนหลายครั้ง เหตุการณดังกลาวที่เกิดขึ้นกับ
บริษัททรีไมลไอซแลนดนับไดวาเปนเหตุการณสุดทายที่กอใหเกิดปญหากับอุตสาหกรรมการผลิตพลังงาน


                                                                                                     6
ไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียร จึงไดมีการสั่งหยุดโครงการกอตั้งโรงงานผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังงาน
นิวเคลียรตั้งแตนั้นเปนตนมา ทั้งนี้เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เชน ตองการเงินลงทุนเปนจํานวนหลาย
พันลานเหรียญสหรัฐฯ ภาวะเงินเฟอและความตองการพลังงานไฟฟาที่ลดลง เนื่องจากสหรัฐฯ ไดมีการ
นําเอานโยบายการอนุรักษพลังงานแหงชาติมาใช นอกจากนั้นรัฐบาลสหรัฐฯ ไมอนุญาตใหสรางโรงงานผลิต
พลังงานไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรหลังจากป พ.ศ. 2521              รวมถึงการทําการระงับคําสั่งใหสราง
โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรที่มีมากอนหนาป พ.ศ. 2516 (Union of Concerned
Scientists, n.d.)

2. ความเปนมาทางดานการผลิตและการใชพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกา
          การใชพลังงานในสหรัฐอเมริกาสะทอนใหเห็นถึงหลักการทางวิทยาศาสตรในดานตางๆ ตั้งแตสมัย
อาณานิคม (Colonial Time) เชน พลังงานที่ไดจากไมเปนพลังงานหลักที่ใชผสมผสานกับพลังงานชนิดอื่น
และไมยังคงเปนเชื้อเพลิงหลักอยางตอเนื่อง ซึ่งการพัฒนาในยุคตอมาแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงใน
การผลิตพลังงานชนิดตางๆอยางชัดเจน โดยถานหินเปนวัตถุดิบชนิดใหมที่เขามาแทนที่ไมเพื่อใชในการ
ผลิตพลังงานของสหรัฐฯ ในชวงป พ.ศ. 2428 จนกระทั่งเมื่อป พ.ศ. 2494 เชื้อเพลิงปโตรเลียมไดเริ่มเขามา
มีบทบาทในการใหพลังงานความรอนแทนที่ถานหิน แตหลังจากนั้นเพียงอีกไมกี่ปเชื้อเพลิงปโตรเลียมก็ถูก
แทนที่ดวยกาซธรรมชาติ สวนพลังงานที่ไดจากน้ําและพลังงานนิวเคลียรนั้นมีขึ้นเมื่อประมาณป พ.ศ. 2433
และ พ.ศ. 2500 ตามลําดับ นอกจากนี้ยังมีการใชพลังงานที่ผลิตไดจากแผนรับพลังงานแสงอาทิตยดวย
ทั้งนี้พลังงานความรอนจากดวงอาทิตยและพลังงานความรอนใตพิภพเปนแหลงพลังงานที่ไดรับการพัฒนา
เทคโนโลยีอยางตอเนื่องเพื่อใชเปนพลังงานในอนาคต ในขณะที่ปโตรเลียมและกาซธรรมชาติก็ยังคงเปน
พลังงานที่มีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงทางดานการพัฒนาการผลิตและการใชพลังงานทดแทน (EIA:
Introduction, n.d.)
          ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นจัดไดวาเปนประเทศหนึ่งในโลกที่มีความอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ
ซึ่งในป พ.ศ. 2319 นั้นเปนปที่สหรัฐฯไดประกาศอิสระภาพจากอังกฤษและพลังงานเกือบทั้งหมดที่ใชใน
ประเทศไดมาจากพลังงานสัตวและการใชไมเปนเชื้อเพลิง ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการคนพบและนําถานหิน
และปโตรเลียมมาใชใหเกิดประโยชน แตกลับมีการใชกังหันชนิดตางๆที่ประดิษฐขึ้นเพื่อใชผลิตพลังงานจาก
น้ํา หรือการใชลมในการเดินทางหรือขนสงทางเรือ
          ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดเปนประเทศหนึ่งที่อุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ในป พ.ศ. 2319 ซึ่งเปน
ปที่สหรัฐฯไดประกาศอิสระภาพจากประเทศอังกฤษและพลังงานเกือบทั้งหมดที่ใชในประเทศไดมาจาก
พลังงานสัตวและการใชไมเปนเชื้อเพลิง ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการคนพบและนําถานหินและปโตรเลียมมาใช
ใหเกิดประโยชน แตกลับมีการใชกังหันชนิดตางๆที่ประดิษฐขึ้นเพื่อใชผลิตพลังงานจากน้ํา หรือการใชลมใน
การเดินทางหรือขนสงทางเรือ



                                                                                                     7
รูปที่ 1.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานจากแหลงพลังงานตางๆในป พ.ศ. 2178-2543
                                     ของประเทศสหรัฐอเมริกา
                                       (ควอดริลเลียน บีทียู)
                                         (ที่มา: EIA, n.d.)

          เชื้อเพลิงที่ไดจากไมเปนพลังงานที่ชวยขยายการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจของประเทศตลอด
ระยะเวลาที่ผานมา แตเมื่อวัตถุดิบที่ใชในการผลิตพลังงานเริ่มลดลง ทําใหสหรัฐฯตองทําการคนหาพลังงาน
ชนิดอื่นเขามาทดแทน เชน ในชวง 30 ปแรกของศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344 - 2374) ดังแสดงในรูปที่ 1.2
ชี้ใหเห็นวาถานหินไดถูกนํามาใชในการผลิตพลังงานมากขึ้น เชน การใชถานหินในอุตสาหกรรมเตาหลอม
โลหะ (Blast Furnaces) และการใชในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงถานหินเหลว (Coal-gas) เพื่อใหแสงสวางใน
เวลากลางคืน ในขณะเดียวกันก็มีการใชกาซธรรมชาติเพื่อใหแสงสวางดวย ตอมาในชวงป พ.ศ. 2383 -
2403 ไดมีการทดลองโดยนําเอาพลังงานกระแสไฟฟาไปใชกับรถไฟที่แลนดวยแบตเตอรี่ แตพลังงานที่ได
จากแรงงานสัตวก็ยังเปนพลังงานที่คนอเมริกันนํามาใชอยางตอเนื่องเปนระยะเวลาหลายสิบป ถึงแมวาจะมี
การพัฒนาทางดานเครื่องกลจะเกิดขึ้นอยางมากมายในชวงเวลาดังกลาวรวมถึงการสรางโรงงานปนฝาย
เครื่องเก็บผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งการพัฒนาเครื่องกลตางๆเหลานั้นไดสงผลใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น
มากกวาที่ไดจากแรงงานสัตวหรือมนุษย ดังนั้นการกระตุนใหเกิดการพัฒนาเครื่องจักรกลจึงมีความสําคัญ
อยางยิ่งเชนกัน อยางไรก็ตามในชวงกลางศตวรรษจึงสามารถพิสูจนใหเห็นไดวาปริมาณผลผลิตโดยรวมที่ได
จากเครื่องกลนั้นมีปริมาณมากกวาผลผลิตพลังงานที่ไดจากสัตว
          การอพยพโยกยายที่อยูอาศัยของชาวอเมริกันเขาไปในแถบตะวันตกทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
เกี่ยวกับพลังงานอยางชัดเจน เชน ชวงแรกของการกอสรางทางรถไฟในบริเวณที่ราบและภูเขาในแถบ
ตะวันตกไดใชพลังงานจากไมเปนเชื้อเพลิงเปนหลัก และในเวลาตอมาไมนานนักถานหินก็ไดรับความสนใจ
มากขึ้นเนื่องจากถานหินเปนวัตถุดิบที่สามารถพบไดในแถบบริเวณนั้น อีกทั้งถานหินยังสามารถใหพลังงาน
ไดยาวนานกวาพลังงานที่ไดจากไม นอกจากนั้นการสรางทางรถไฟยังใชระยะเวลานานขึ้นกวาที่ไดวางแผน



                                                                                                   8
เอาไว จึงทําใหถานหินไดรับการพิจารณาใหเปนพลังงานที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพที่จะนํามาใชเปน
วัตถุดิบหลัก และเปนแหลงพลังงานที่เหมาะสมที่สุดในขณะนั้น ในการผลิตเหล็กที่ใชทํารางและตะปูที่ใช
ตอกยึดราง ดังนั้นในชวงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 อุตสาหกรรมการขนสงและอุตสาหกรรมโรงงานจึง
เติบโตอยางรวดเร็ว โดยที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิงสําคัญในการสงเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมตางๆมา
โดยตลอด
          ประเทศสหรัฐอเมริกามีการขยายและพัฒนาระบบอุตสาหกรรมตางๆ มากขึ้นทําใหความตองการ
พลังงานของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล กลาวคืออัตราความตองการพลังงานสูงขึ้นถึง 4 เทาในชวงป
พ.ศ. 2423 - 2461 อุตสาหกรรมตางๆ ที่เติบโตอยางรวดเร็วไดใชพลังงานจากถานหินเปนหลัก และในชวง
เดียวกันนั้นเองการใชพลังงานไฟฟาในการใหพลังงานแกเครื่องใชไฟฟาตางๆก็เริ่มมีมากขึ้น สวนการใช
เชื้อเพลิงปโตรเลียมนั้นเริ่มไดความนิยมมากขึ้น ในเวลาตอมาไดมีการกอตั้งแหลงผลิตเชื้อเพลิงปโตรเลียมที่
มีชื่อวา Texas’s Vast Spindletop Oil Field ในป พ.ศ. 2444 และตามมาดวยการผลิตรถยนตในป พ.ศ.
2461 ซึ่งไดมีการสรางแผนงานการผลิตรถยนตเปนจํานวนหลายลานคัน
           หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมนานนัก บริษัท Old King Coal ซึ่งเปนบริษัทผลิตเชื้อเพลิงที่ไดจาก
ถานหินเปนหลักใหแกประเทศสหรัฐอเมริกาไดลมเลิกกิจการ โดยสงผลกระทบตอระบบการเดินทางขนสง
ทางรถไฟที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิงที่ตองหยุดชะงักลง และทําใหการคมนาคมขนสงโดยรถบรรทุกที่ใชน้ํามัน
เริ่มเขามาแทนที่ รถบรรทุกและหัวรถบรรทุ กตางๆเหลานั้นใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงใหพลังงาน ใน
ขณะเดียวกันความตองการแรงงานในการผลิตเชื้อเพลิงและมาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติการที่
สูงขึ้นทําใหคาใชจายในการผลิตพลังงานจากถานหินสูงขึ้นไปดวย เปนสาเหตุที่ทําใหอุตสาหกรรมตางๆ
ตองพยายามหาแหลงพลังงานอื่นมาใชทดแทน และสาเหตุที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คืออุปกรณที่ใหความ
รอนมีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมมากขึ้น
          อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมถานหินก็ยังคงดําเนินการตอไปเนื่องจากเปนพลังงานหลักที่ใชในการ
ผลิตกระแสไฟฟาทั่วประเทศ รวมถึงการใชพลังงานถานหินเพื่อแขงขันกับการผลิตพลังงานไฟฟาจากพลัง
น้ําและการผลิตพลังงานไฟฟาจากการใชเชื้อเพลิงปโตรเลียม รูปที่ 1.3 แสดงใหเห็นวาในปจจุบันพลังงาน
ส ว นใหญที่ ผลิ ต ในประเทศสหรั ฐ อเมริ กาก็ ยังได มาจากถา นหิ นเป นหลัก อันดั บ สองและสามได แกกา ซ
ธรรมชาติและน้ํามันดิบตามลําดับ




                                                                                                        9
รูปที่ 1.3 การผลิตพลังงานตามแหลงที่มาสําหรับป พ.ศ. 2543 ของประเทศสหรัฐอเมริกา
                                        (ที่มา : EIA, n.d.)

       ถ า พิ จ ารณาจากประวั ติ แ หล ง ที่ ม าพลั ง งานของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าจะเห็ น ได ว า ประเทศ
สหรัฐอเมริกามีพลังงานใชไดอยางเพียงพอ ถึงแมวาถานหินจํานวนหนึ่งจะถูกสงมาจากประเทศอังกฤษ
ในชวงที่อเมริกายังเปนประเทศอาณานิคมของอังกฤษก็ตาม แตในชวงปลายของทศวรรษที่ 50 (พ.ศ. 2494-
2504) อัตราการผลิตและบริโภคพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยังคงอยูในระดับที่เทาๆกัน หลังจากนั้น
ไมนานนักปริมาณการบริโภคพลังงานสูงกวาปริมาณการผลิตเล็กนอย และในชวงตนทศวรรษที่ 70 (พ.ศ.
2514-2524) ปริมาณความแตกตางระหวางการผลิตและการบริโภคเริ่มมีความแตกตางอยางเห็นไดชัดดัง
แสดงไวในรูปที่ 1.4 ซึ่งแสดงปริมาณการผลิตและการใชพลังงาน รวมถึงปริมาณการนําเขาและสงออก
พลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงทศวรรษตางๆ




  รูปที่ 1.4 ปริมาณการผลิตและการใชพลังงาน รวมถึงปริมาณการนําเขาและสงออกพลังงานของประเทศ
                              สหรัฐอเมริการะหวาง พ.ศ. 2493-2543
                                        (ที่มา : EIA, n.d.)



                                                                                                       10
ในป พ.ศ. 2543 ประเทศสหรัฐอเมริกาสามารถผลิตพลังงานไดประมาณ 72 ควอดริลเลียนบีทียู แต
ปริมาณพลังงานที่สงออกนั้นเพียงแค 4 ควอดริลเลียนบีทียูเทานั้น ปริมาณการใชพลังงานทั้งหมดรวมได
ประมาณ 98 ควอดริลเลียนบีทียู และยังตองอาศัยพลังงานนําเขาอยางนอย 29 ควอดริลเลียนบีทียู นับไดวา
เปนปริมาณพลังงานนําเขาที่มากกวาเมื่อป พ.ศ. 2493 ถึง 19 เทาดังแสดงในรูปที่ 1.5 แสดงปริมาณการ
ผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543




       รูปที่ 1.5 แสดงปริมาณการผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543
                                        (ที่มา : EIA, n.d.)

           ประเทศสหรัฐอเมริกามีความตองการนําเขาพลังงานเพิ่มขึ้นโดยมีอัตราการใชน้ํามันปโตรเลียมที่
สูงขึ้น อัตราน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมนําเขาของสหรัฐเมื่อป พ.ศ. 2516 เปนจํานวน 6.3 ลานบารเรลตอวัน
ซึ่ง 3.2 ลานบารเรลตอวันนั้นไดมาจากน้ํามันดิบและ 3.0 ลานบารเรลตอวันนั้นมาจากผลิตภัณฑที่เปนสาร
กอบของปโตรเลียม เชนกาซธรรมชาติชนิดตางๆ ซึ่งเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 กลุมประเทศอาหรับที่เปน
สมาชิกขององคกรของประเทศสงออกน้ํามันปโตรเลียม (Organization of Petroleum Exporting Countries
หรือ OPEC) ไดสั่งหามการขายน้ํามันใหกับสหรัฐฯ จึงเปนผลทําใหราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางมาก และปริมาณ
เชื้อเพลิงปโตรเลียมนําเขาตกลงเปนระยะเวลานานถึง 2 ป จึงสงผลใหราคาน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมมีราคา
สูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงป พ.ศ. 2524 ไดหยุดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียม แตหลังจากนั้นในป พ.ศ.
2529 น้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมก็กลับมาเปนน้ํามันนําเขาอีกครั้ง ซึ่งปริมาณนําเขาอาจจะแตกตางกันไปใน
บางป เชน พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2534 และป พ.ศ. 2538 แตเมื่อป พ.ศ. 2543 การนําเขาน้ํามันปโตรเลียมมี
อัตราสูงติดอันดับรายงานการนําเขาเชื้อเพลิง ซึ่งเปนปริมาณสูงถึง 11 ลานบารเรลตอวันดังแสดงใน
รูปที่ 1.6



                                                                                                       11
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009

More Related Content

Viewers also liked

รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015Ministry of Science and Technology
 
Genetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentationGenetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentationMelinda Lugo
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯMinistry of Science and Technology
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
Plant Cloning Presentation
Plant Cloning PresentationPlant Cloning Presentation
Plant Cloning Presentationroorensu
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 

Viewers also liked (19)

P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
Policy Drkalaya
Policy DrkalayaPolicy Drkalaya
Policy Drkalaya
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
buz-plan-53
buz-plan-53buz-plan-53
buz-plan-53
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
V531
V531V531
V531
 
Thesearch index-information54
Thesearch index-information54Thesearch index-information54
Thesearch index-information54
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
 
Genetically Modified Organisms
Genetically Modified  OrganismsGenetically Modified  Organisms
Genetically Modified Organisms
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
 
Genetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentationGenetically Modified Foods presentation
Genetically Modified Foods presentation
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
Plant Cloning Presentation
Plant Cloning PresentationPlant Cloning Presentation
Plant Cloning Presentation
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 

Similar to Us Clean Energy Report 2009

เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandJack Wong
 
กฎกระทรวงใหม่
กฎกระทรวงใหม่กฎกระทรวงใหม่
กฎกระทรวงใหม่guest32e1d47
 
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่aumaim
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีKrittamook Sansumdang
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 

Similar to Us Clean Energy Report 2009 (8)

กฟภ 1
กฟภ 1กฟภ 1
กฟภ 1
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
 
กฎกระทรวงใหม่
กฎกระทรวงใหม่กฎกระทรวงใหม่
กฎกระทรวงใหม่
 
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่
ประเทศไทยต้องการพัฒนานิวเคลียร์หรือไม่
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 

More from Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]Ministry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (13)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
V532
V532V532
V532
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
Concept Goverment
Concept GovermentConcept Goverment
Concept Goverment
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 

Us Clean Energy Report 2009

  • 1. รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะ เทคโนโลยี พลังงานสะอาดในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย นายธีรวัฒน ปรีชาบุญฤทธิ์ ที่ปรึกษาโครงการ เสนอตอ สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี) 15 ธันวาคม 2552
  • 2. รายงานการสืบคนขอมูลความกาวหนาและสถานะเทคโนโลยีดานพลังงานสะอาดในประเทศ สหรัฐอเมริกาภายใตโครงการการดําเนินภารกิจ (ทีมประเทศไทย) ประจําปงบประมาณ 2552 (ธันวาคม 2551 – ธันวาคม 2552) สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ________________________________________________________________________________ รายงานฉบับนี้เปนลิขสิทธิ์ของสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี) หากนําไปใชประโยชน โปรดอางอิงชื่อสํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี ซี) ดวย
  • 3. คํานํา รายงานการสื บ ค น ข อ มู ล ความก า วหน า และสถานะเทคโนโลยี พ ลั ง งานสะอาดในประเทศ สหรัฐอเมริกา มีวัตถุประสงคการจัดทําเพื่อสืบเสาะแสวงหาและเขาถึงองคความรูและเทคโนโลยีสําคัญใน ประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และการทํานวัตกรรม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศและเปนการสรางฐานความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหเขมแข็งมากขึ้น ซึ่ง วัตถุประสงคดังกลาวเปนภารกิจสวนหนึ่งของสํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํา กรุ ง วอชิ ง ตั น ดี . ซี . อั น เป น หน ว ยงานภายใต ก ารสั ง กั ด ของสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานวิจัยและพัฒนา หนวยงานนโยบาย และสถาบันการศึกษา ในการพัฒนางานดานสเต็มเซลลของประเทศไทยตอไป ทั้งนี้รายงานฉบับนี้สามารถ สืบคนไดทางเว็บไซต http://www.ostc.thaiembdc.org อีกทางหนึ่งดวย สํานักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจํากรุงวอชิงตัน ดี.ซี. 10 ธันวาคม 2552
  • 4. สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร 1 บทนํา 1. ความหมายและประเภทของพลังงานทดแทน 3 2. ความเปนมาทางดานการผลิตและการใชพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกา 7 3. พลังงานทดแทนในประเทศสหรัฐอเมริกา 16 4. นโยบายพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาในรัฐบาลปจจุบัน 18 5. บทสรุปเกียวกับบทบาทของพลังงานหมุนเวียนที่มตอประเทศสหรัฐอเมริกา ่ ี 20 พลังงานแสงอาทิตย (Solar Energy) 1. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย 22 2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตยในสหรัฐอเมริกา 23 3. หนวยงานที่เกี่ยวของกับโครงการพลังงานแสงอาทิตย 56 4. ประโยชนของพลังงานแสงอาทิตย 58 5. งบประมาณพลังงานแสงอาทิตย 59 พลังงานลม (Wind Energy) 1. ประวัติของพลังงานลม 63 2. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานลม 64 3. เทคโนโลยีพลังงานลม 70 4. ประโยชนและโทษของพลังงานลม 84 5. งบประมาณพลังงานลม 86 พลังงานความรอนใตพภพ (Geothermal Energy) ิ 1. ประวัติพลังงานความรอนใตพิภพ 92 2. ขอมูลทัวไปเกี่ยวกับพลังงานความรอนใตพิภพ ่ 99 3. เทคโนโลยีพลังงานความรอนใตพภพิ 100 4. ประโยชนของพลังงานความรอนใตพิภพ 113 5. งบประมาณ 123
  • 5. พลังงานชีวมวล (Biomass Energy) 1. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานชีวมวล 125 2. ประเภทของพลังงานชีวมวล 125 3. เทคโนโลยีพลังงานชีวมวล 134 4. ประโยชนท่ไดจากการใชชวมวล ี ี 150 5. นโยบายพลังงานชีวมวลของรัฐบาลกลาง 156 6. งบประมาณพลังงานชีวมวล 162 7. องคกรรวมดําเนินการ 168 พลังงานน้ํา (Hydropower) 1. ประวัติของการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา 176 2. ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา 178 3. เทคโนโลยีพลังงานน้ํา 189 4. ประโยชนและโทษของการผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังน้ํา 200 5. งบประมาณการผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ํา 202 การสืบคนขอมูลสิทธิบัตรเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางดานพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียน 204 กฎหมายทั่วไปทางดานพลังงานของรัฐบาลกลาง 1. กฎหมายที่กาหนดตามนโยบายทางดานการสงวนพลังงานแหงชาติ (National Energy ํ Conservation Policy Act) 214 2. กฎหมายที่กาหนดตามนโยบายในการลดภาวะพึ่งพาและความปลอดภัยทางดานพลังงาน ํ (Energy Independence and Security Act of 2007) 214 3. คําสั่งจากผูบริหารชั้นสูงฉบับที่ 13423 (Executive Order 13423) 223 4. กฎหมายที่กําหนดตามนโยบายทางดานพลังงานป พ.ศ. 2548 (Energy Policy Act of 2005) 226 5. คําสั่งจากผูบริหารชั้นสูงฉบับที่ 13221 (Executive Order 13221) 229 6. กฎหมายที่กําหนดตามนโยบายทางดานพลังงานป พ.ศ. 2535 (Energy Policy Act of 1992) 230 นโยบายทั่วไปทางดานพลังงานของรัฐบาลกลาง 235 แนวโนมทางดานพลังงานสหรัฐฯ ในประเด็นตางๆ 245 บรรณานุกรม 257
  • 6. สารบัญรูป รูปที่ หนา 1.1 แสดงแหลงพลังงานทดแทนประเภทพลังงานหมุนเวียนตางๆ 4 1.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานจากแหลงพลังงานตางๆในป พ.ศ. 2178-2543 (ควอดริลเลียน บีทยู) ี 8 1.3 การผลิตพลังงานตามแหลงที่มาสําหรับป พ.ศ. 2543 10 1.4 ปริมาณการใชพลังงานโดยรวม 10 1.5 แสดงปริมาณการผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543 11 1.6 ปริมาณน้ํามันนําเขาตั้งแตป พ.ศ. 2503-2543 12 1.7 การใชพลังงานโดยการจําแนกจากการใชงาน 13 1.8 การใชพลังงานสําหรับที่อยูอาศัยและภาคธุรกิจ 13 1.9 การใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม 14 1.10 แสดงการใชพลังงานในการขนสง 15 1.11 แสดงอัตราการใชนํามันของรถยนต ้ 16 1.12 แสดงการใชพลังงานประเภทตางๆตั้งแตป พ.ศ. 2493-2543 17 1.13 แสดงปริมาณพลังงานทดแทนที่ใชในสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2550 20 2.1 เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย 24 2.2 แสดงขั้นตอนในการรับพลังงานของเซลลแผนรับพลังงานแสงอาทิตย 26 2.3 แสดงการระบบการดูดรับแสงจากดวงอาทิตย 28 2.4 แสดงอัตราความยาวของคลื่นแสง ความถี่และพลังงานโปรตอนของแสงอาทิตย 29 2.5 ภาพแผนรับพลังงานแสงอาทิตยแบบเรียบซึ่งเปนการเรียงตอกันเพื่อขยายขนาดใหกวางขึ้น 31 2.6 แสดงประสิทธิภาพของพื้นที่ในการรับพลังงานแสงอาทิตย 33 2.7 แสดงขนาดและการตอเซลลในการผลิตแผนรับพลังงานแสงอาทิตย 35 2.8 แสดงสวนประกอบของเซลลแผนรับพลังงานแสงอาทิตย 36 2.9 แสดงสวนประกอบของระบบแผนรับพลังงานแสงอาทิตยชนิดรวมแสง 37 2.10 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาโดยการใชระบบที่มลักษณะคลายรางน้ําที่เอียงปานในมลรัฐ ี แคลิฟอรเนีย 42 2.11 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยดวยการใชระบบที่มีลักษณะคลายรางน้ํา ที่เอียงปาน (Parabolic Troughs) 44 2.12 แหลงผลิตพลังงานดวยระบบการสะทอนและรวมแสงแบบเฟรสเนล 45
  • 7. 2.13 แหลงผลิตพลังงานชนิดจานรับพลังงาน 46 2.14 แหลงผลิตกระแสไฟฟาดวยระบบหอคอยศูนยรวมพลังงาน 47 2.15 ระบบการจัดเก็บพลังงานระหวางแทงคสองแทงคแบบโดยตรง 49 2.16 ระบบการจัดเก็บพลังงานระหวางแทงคสองแทงคแบบทางออม 50 2.17 ระบบการจัดเก็บพลังงานดวยระบบการทําความรอนภายในแทงคเดี่ยว 51 3.1 ภาพกังหันลมเมื่อตนศตวรรษที่ 20 เพื่อทําการปมน้ําและผลิตกระแสไฟฟา 63 3.2 การทํางานของกังหันลม 65 3.3 ภาพกังหันลมที่ชาวไรใชในการผลิตกระแสไฟฟา 65 3.4 โครงสรางภายในของกังหันลม 66 3.5 แสดงศักยภาพของลมในมลรัฐตางๆของสหรัฐฯ 69 3.6 แสดงการจัดสรรงบประมาณการคนควาวิจัยทางดานตางๆ สําหรับป พ.ศ. 2552 86 3.7 แสดงปริมาณเงินงบประมาณของปงบประมาณ พ.ศ. 2518-2552 87 4.1 แสดงขั้นตอนการพัฒนาและการปฏิบติการของระบบพลังงานความรอนใตพิภพ ั 105 4.2 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบไอแหง 106 4.3 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบแฟลชสตรีม 107 4.4 แสดงระบบการผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบผสม 108 4.5 แสดงปริมาณการใชกาซธรรมชาติในปริมาณที่มากขึ้นตั้งแตทศวรรษที่ 70 จนถึงปจจุบัน  114 4.6 แสดงอัตราการใชถานหินแยกโดยลักษณะการใชงานในป พ.ศ. 2541-2550 115 4.7 แสดงอัตราคาสงถานหิน ป พ.ศ. 2541-2550 115 4.8 แสดงปริมาณน้ํามันดิบและผลิตภัณฑปโตรเลียมที่ไดรับจากการนําเขา 116 4.9 อัตราการเผาไหมกาซคารบอนไดออกไซดในการผลิตพลังงานจากระบบตางๆ  118 4.10 อัตราการใชนําในการผลิตพลังงานของแหลงพลังงานตางๆ ้ 119 4.11 แสดงการใชพ้นที่ของแหลงผลิตพลังงานชนิดตางๆ ื 120 4.12 แสดงการเผาไหมของโรงงานถานหินและโรงงานผลิตพลังงานความรอนใตพิภพ ที่ทําใหเกิดกาซเสียชนิดตางๆ 121 5.1 แสดงการเก็บเกี่ยววัสดุชีวมวลเพื่อใชในการผลิตพลังงานหรือเชื้อเพลิง 125 5.2 แสดงกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงไบโอดีเซล 129 5.3 Gas Turbine หรือกังหันที่หมุนดวยกาซเพื่อใชในการผลิตพลังงาน 131 5.4 การเปรียบเทียบผลิตภัณฑชีวมวลที่ไดหลังจากผานกระบวนการผลิต 133
  • 8. 5.5 แสดงการจัดแยกวัตถุดิบธรรมชาติตามการใชงาน 136 5.6 แสดงหวงโชอุปทานของเชื้อเพลิงชีวภาพ 137 5.7 แสดงการเก็บเกี่ยววัตถุดิบชีวมวลพรอมดวยการคัดเลือกและแยกเมล็ดพันธุและฟาง 138 5.8 แสดงการจัดเตรียมวัตถุดบประเภทฟาง ซึ่งอยูภายใตการพัฒนาปรับปรุงเพื่อลดตนทุน ิ ในการดําเนินการ 139 5.9 แสดงการจัดเก็บวัตถุดิบดวยการกองสุม การมัดเปนกลุมกอนและการเกลี่ยกระจาย ซึ่งบนกองวัตถุดบตางๆนั้นจะมีการแตมสีเอาไวเพื่อใชในการตรวจสอบ ิ ระดับความชื้นจากการดูดซึม 140 5.10 แสดงกระบวนการขนสงวัตถุดบเพื่อใชในการสกัดหรือการจัดเก็บเพื่อนํามาใชสกัดในภายหลัง ิ 141 5.11 แสดงขั้นตอนและปจจัยที่ผลตอการพัฒนาระบบการสกัด 146 5.12 แสดงปริมาณการผลิตน้ํามันภายในประเทศและอัตราการนําเขาน้ํามันดิบของสหรัฐฯ 151 5.13 แสดงการเปรียบเทียบอัตราการเผาไหมกาซเรือนกระจกของเชื้อเพลิงที่ใชในการขนสง  153 5.14 แสดงอัตราการเผาไหมที่เพิ่มขึ้นของกาซชนิดตางๆ เนื่องจากการผสมเชื้อเพลิงไบโอดีเซลที่เพิ่มขึ้น 155 5.15 แสดงปริมาณเงินสนับสนุนตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2545-2551 163 5.16 แสดงรายชื่อองคการที่เขารวมดําเนินการโครงการตางๆเกี่ยวกับชีวมวล 168 6.1 แสดงภาพทัศนียภาพทั่วไปของเขื่อนฮูเวอรแดม และกังหันน้ําที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟา 179 6.2 การผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังงานน้ํา 179 6.3 แสดงลําดับการผลิตพลังงานไฟฟาในมลรัฐตางๆ 180 6.4 แสดงวัฎจักรของน้ําและการเกิดพลังงานจากน้ํา 181 6.5 แหลงผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ําขนาดใหญที่กกเก็บน้ําเอาไวในบอกักเก็บ ั 182 6.6 ตัวอยางแหลงผลิตพลังงานไฟฟาชนิด Diversion โครงการ Tazimina มลรัฐอลาสกา 183 6.7 แสดงแหลงผลิตพลังงานไฟฟาพลังน้ําขนาดจิ๋ว 184 6.8 กังหันน้ําเพลตัน 185 6.9 กังหันน้ําโพเพลเลอร 186 6.10 กังหันน้ําที่มีลักษณะคลายหลอดไฟ (Bulb Turbine) 186 6.11 กังหันน้ําเคแพลน (Kaplan Turbine) 187 6.12 กังหันน้ําแฟรนซิส 187 6.13 ภาพกังหันน้ํารุนใหมที่ผานการทดสอบทางดานตางๆแลว 192 6.14 แสดงภาพรั้วกั้นคลื่น 198 6.15 ภาพกังหันคลื่น 198
  • 9. 6.16 แสดงการจัดสรรงบประมาณการคนควาวิจัยทางดานตางๆ ของพลังงานน้ําสําหรับป พ.ศ. 2551 202 6.17 แสดงปริมาณเงินงบประมาณของปงบประมาณตางๆที่ผานมา  202 7.1 แสดงหนาจอรายการเพื่อใชเลือกสืบคนขอมูลสิทธิบัตร 206 7.2 แสดงหนาจอจากเว็บไซดสานักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการคาฯ ํ 206 7.3 แสดงการใสคาเฉพาะเขาไปในชองตางๆเพื่อสืบคนขอมูลสิทธิบัตร ํ 208 7.4 แสดงรายการขอมูลสิทธิบัตรที่เกี่ยวของตามคําเฉพาะที่ผูสืบคนไดใสเขาไป 209 7.5 ตัวอยางสิทธิบัตร 210-212 7.6 แสดงตัวเลือกเพิ่มเติมตางๆ 213 10.1 แสดงปริมาณการใชพลังงานทดแทนของสหรัฐฯ ในป พ.ศ. 2551 245 10.2 ปริมาณความตองการเชื้อเพลิงเหลวของภาคอุตสาหกรรมตางๆ 247 10.3 แสดงอัตราการใชพลังงานตอคนตั้งแตป พ.ศ. 2523 ถึงป พ.ศ. 2573 250 10.4 แสดงปริมาณการใชพลังงานตอคนในกรณีศึกษาตางๆ 252 10.5 แสดงประสิทธิภาพของเครื่องมืออุปกรณในกรณีตางๆ ที่มีผลตอปริมาณความตองการ พลังงานไฟฟา 253 10.6 แสดงการเปรียบเทียบการติดตั้งเครื่องผลิตความรอนจากเครื่องปมพลังงานความรอน ชนิดติดตั้งบนพื้นและแผนรับพลังงานแสงอาทิตยในป พ.ศ. 2550 ป พ.ศ. 2558 และป พ.ศ. 2573 ตามลําดับ 255 10.7 แสดงอัตราการใชพลังงานตอคนในกรณีตางๆ ในชวงป พ.ศ. 2514 จนถึงป พ.ศ. 2573 256
  • 10. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 2.1 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมพลังงานแสงอาทิตยตามสัดสวน ของโครงการตางๆประจําปปงบประมาณ พ.ศ. 2551 59 2.2 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมพลังงานแสงอาทิตยตามสัดสวน ของโครงการตางๆประจําปปงบประมาณ พ.ศ. 2552 60 4.1 แสดงวัตถุประสงคในชวงระยะเวลาตางๆของพลังงานความรอนใตพิภพ 113 4.2 แสดงงบประมาณระบบกระตุนพลังงานความรอนใตพิภพ 124 5.1 แสดงคุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิงไบโอดีเซล 127 5.2 แสดงการใชเชื้อเพลิงทดแทนและเชือเพลิงชีวมวลชนิดตางๆ ้ 157 5.3 แสดงงบประมาณพลังงานชีวมวลประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2552 165 8.1 ตารางเปรียบเทียบอัตราการลดปริมาณการใชพลังงาน 215 8.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานที่ไดจากเชื้อเพลิงชีวภาพที่ลดลง 218 8.3 แสดงปริมาณการใชนําที่ลดลงตามลําดับ ้ 225
  • 11. บทสรุปผูบริหาร พลังงานเปนสิ่งจําเปนสําหรับมนุษยมาเปนระยะเวลายาวนาน โดยที่มนุษยไดคิดคนและนําเอา พลังงานที่ไดจากธรรมชาติ ทั้งจากสัตวหรือพืชบางชนิด รวมถึงการนําเอาเชื้อเพลิงที่ไดจากสิ่งมีชีวิตมาใช เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือเสริมสรางความสามารถในการผลิต แตเนื่องจากขอจํากัดตางๆ เชน ปริมาณ ทรัพยากรที่มีอยูตามธรรมชาติที่ลดนอยลง ปริมาณกาซที่มีผลกอใหเกิดสภาวะเรือนกระจก ไดผลักดันให มนุษยเริ่มหันมาใหความสนใจที่จะนําเอาพลังงานสะอาดที่มีอยูในธรรมชาติมาใช ซึ่งพลังงานเหลานั้นไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชีวมวล และพลังงานน้ํา รายงานฉบับนี้มุงเนนการสืบคนขอมูลความกาวหนาในการวิจัยและพัฒนาดานพลังงานทดแทนใน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยจะกลาวถึงประเภทของพลังงานทดแทน ประวัติความเปนมาดานพลังงานและ พลังงานทดแทนของสหรัฐอเมริกา นโยบายดานพลังงานทดแทน จากนั้นไดแสดงผลการสืบคนขอมูลดาน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานชีวมวลและพลังงานน้ํา ในชวงทายได แสดงผลการสืบคนขอมูลสิทธิบัตรที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีดานพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียน กฎหมาย ดานพลังงานและนโยบายดานพลังงานของรัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกา จากขอมูลที่ สื บ คนได พ บว าประเทศสหรัฐอเมริกาไดใ ห ความสํ าคัญในการคนคว าวิจัย เกี่ย วกับ เทคโนโลยี ท างด า นพลั ง งานสะอาดมาเป น ระยะเวลานานอย า งต อ เนื่ อ ง และในสมั ย การปกครองของ ประธานาธิ บ ดี โ อบามาก็ ยั ง คงให ง บประมาณสนั บ สนุ น การค น คว า วิ จั ย ต า งๆ เช น การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพเทคโนโลยี พ ลั ง งานแสงอาทิต ย ห ลายประเภท เพื่ อ ลดต นทุ น การผลิ ต และเป น การดึ ง ดู ด ผูบริโภคใหใชพลังงานสะอาดมากยิ่งขึ้น สวนในพื้นที่ทองถิ่นบางแหงนั้นไดมีการสงเสริมผูบริโภคใหหันมา ใชพลังงานลมในการผลิตพลังงานไฟฟามากกวาที่เคยเปนมา และรัฐบาลไดใหการสนับสนุนการใชพลังงาน ความรอนใตพิภพดวยการจัดตั้งแผนงานและโครงการตางๆใหสอดคลองกับความตองการของทั้งผูผลิตและ ผูบริโภค นอกจากนั้นยังไดมีการสงเสริมการใชพลังงานชีวมวลอยางตอเนื่องเพื่อลดปริมาณความตองการ เชื้อเพลิงนําเขาจากตางประเทศที่ใชสําหรับเครื่องยนตชนิดตางๆ ตลอดจนการผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจาก พลังน้ําในหลายๆมลรัฐในบริเวณตะวันตกทางตอนเหนือของประเทศ เพื่อเปนการสานตอการพัฒนาพลังงานสะอาดและสนับสนุนการสรางเครื่องมือผลิตภัณฑตางๆ ตลอดจนการสงเสริมการใชพลังงานอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปจจุบันยังคง ดําเนินการตามแนวทางกฎหมาย นโยบายหรือแผนงานโครงการที่มีมาแตเดิมตามความเหมาะสม ซึ่งผลที่ ตามมานั้นไมเพียงแตจะใหประโยชนแกประชากรชาวสหรัฐฯเทานั้น แตยังสงผลตอประเทศตางๆทั่วโลก ดวยการนําเอาเทคโนโลยีประเภทตางๆไปปรับใชเพื่อทําใหเกิดการพัฒนาความเปนอยูที่ดีขึ้น อยางไรก็ตาม การเลือกใชเทคโนโลยีแตละประเภทนั้นจะตองคํานึงถึงความสอดคลองของสภาวะทั่วไปของพื้นที่นั้นๆ ตลอดจนความรูและความเขาใจของประชากรทองถิ่นที่อาศัยอยูในบริเวณนั้นดวยเชนกัน 1
  • 12. ทั้งนี้หากการพัฒนาเทคโนโลยีทางดานพลังงานสะอาดมีความกาวหนามากขึ้น เทคโนโลยีเหลานี้ยัง สามารถนํามาใชเพื่อเปนประโยชนไดอีก เชน การนําเอาเทคโนโลยีประยุกตที่ไดมาเปนสินคาในเชิงพาณิชย จึงสามารถกลาวไดวาการคนควาวิจัยและพัฒนาพลังงานสะอาดนั้นมีความสําคัญตอประเทศตางๆ ทั่วโลก เพราะไมใชเพียงแตเปนการสงวนทรัพยากรธรรมชาติของโลกเอาไวเทานั้น แตพลังงานตางๆที่ไดยังชวย สนับสนุนใหมนุษยไดทําการพัฒนาตอยอดทางดานอื่นๆตอไป นอกเหนือจากนั้นยังเปนการสรางงานใน หลายๆ ระดับชั้น เชน การสรางงานจํานวนมากมายในระดับทองถิ่น การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน สะอาดกับเทคโนโลยีการผลิตเครื่องยนต หรือการสร างแผนงานการพัฒนาเพื่อรักษาไวซึ่งความเปนผู บุกเบิกและผูนําทางดานเทคโนโลยีของประเทศสหรัฐอเมริกาตอไป 2
  • 13. บทนํา พลังงานสะอาด (Clean Energy) 1. ความหมายและประเภทของพลังงาน มนุษยตองอาศัยพลังงานเพื่อใชในการดํารงชีพ โดยเริ่มตนมาจากการใชพลังงานจากธรรมชาติ อัน ไดแกพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งเปนพลังงานที่มีปริมาณมากมายมหาศาลและใหประโยชนตางๆ เชนการใช พลังงานแสงอาทิตยในการถนอมอาหารโดยการทําอาหารแหง หรือการใชพลังงานความรอนจากแสงอาทิตย เพื่อใหความอบอุนแกรายกาย แตดวยขอจํากัดบางประการของพลังงานแสงอาทิตยเปนตนวา แสงอาทิตย นั้นใหพลังงานไดในชวงระยะเวลาที่จํากัด จึงเปนสาเหตุที่ผลักดันใหมนุษยเริ่มนําเอาพลังงานจากซากพืช ซากสัตวมาใช เพื่ ออํ านวยความสะดวกในเวลาตอมา และเมื่อพลังงานจากซากพืชซากสัต วที่มนุ ษยได นํามาใชนั้นเริ่มลดลง และมีผลเสียบางประการ เชน เปนพลังงานที่ใชแลวหมดไป รวมทั้งพลังงานดังกลาว ยังกอใหเกิดมลภาวะทางอากาศ ซึ่งมีผลรายตอสุขภาพของมนุษย จากเหตุผลตางๆที่กลาวมาแลวขางตนจึง ทําใหมนุษยพยายามทําการทดลองคิดคนหาพลังงานมาใชทดแทน ซึ่งพลังงานทดแทนดังกลาวที่จะนํามาใช นั้นจะตองเปนพลังงานที่มีประโยชน ไม กอใหเกิ ดมลภาวะอันเปนผลรายต อสุขภาพของมนุษ ย และยัง สามารถนําเอาพลังงานเหลานั้นกลับมาใชใหมได พลังงานสะอาด (Clean Energy) หมายถึงพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่เกิดจากธรรมชาติ สามารถนํามาใชสรางหรือผลิตพลังงานไฟฟาไดโดยไมสิ้นเปลืองและไมกอใหเกิดมลภาวะตอมนุษยหรือ สิ่งแวดลอม พลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียนนั้นสามารถจําแนกออกไดเปน 5 ประเภท ไดแก พลังงานชีว มวล (Biomass) พลังงานน้ํา (Hydropower) พลังงานความรอนใตพิภพ (Geothermal) พลังงานลม (Wind) และพลังงานแสงแดด (Solar) ดังแสดงในรูปที่ 1.1 ซึ่งพลังงานสะอาดนั้นจะแตกตางจากพลังงานที่ใชแลว หมดไป (Depleted Energy) ไดแก พลังงานถานหิน พลังงานกาซธรรมชาติ พลังงานนิวเคลียรและพลังงาน ทรายน้ํามัน (Sand Oil) 3
  • 14. รูปที่ 1.1 แสดงแหลงพลังงานทดแทนประเภทพลังงานหมุนเวียนตางๆ (ที่มา : EIA: Renewable Energy, 2008) พลังงานมีความสําคัญตอการดํารงชีพของมนุษยเปนอยางมาก สิ่งมีชีวิตพึ่งพาพลังงานที่ไดจาก สิ่ ง แวดล อ ม และทํ า การเปลี่ ย นพลั ง งานเหล า นั้น ใหอ ยู ใ นรู ป แบบตา งๆที่ส ามารถนํ า ไปใช ป ระโยชนไ ด พลังงานที่สิ่งมีชีวิตใชเปนพื้นฐานในการดํารงชีพซึ่งเห็นไดอยางชัดเจน ไดแก พลังงานแสงแดด ที่ทั้งพืชที่ อาศัยอยูบนบกและใตทะเลสามารถใชพลังงานแสงอาทิตยเปนองคประกอบหลักอยางหนึ่งในการเปลี่ยนสาร ชีวมวลในกระบวนการสังเคราะหแสง ในชวงระยะเวลากอนเขาสูยุคอุตสาหกรรม มนุษยมีพลังงานมากเพียง พอที่จะใชในการดํารงชีวิต เชน พลังงานแสงอาทิตยใหความรอนแกมนุษยในเวลากลางวัน สวนในเวลา กลางคืนหรือเวลาที่ไมมีแสงอาทิตย มนุษยไดรับพลังงานความรอนจากการเผาไหมของไม ฟางและมูลสัตว แหง และเมื่อใดที่ ตองการพลังงานเพื่อใชในการเดินทางมนุษ ยก็สามารถใช พลังงานจากมาหรือการใช พลังงานลมในการเดินเรือไปยังที่ตางๆ รวมถึงการใชพลังงานน้ําและพลังงานลมในการขับเคลื่อนเครื่องกล บางประเภทเพื่อใชในการสีขาวหรือสูบน้ําที่ใชในการเพาะปลูก เปนเวลานับพันปมาแลวที่มนุษยพยายามคนหาวิธีการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของพลังงาน โดย เริ่มตนจากการใชพลังงานจากสัตว ตลอดจนประดิษฐคิดคนเครื่องมือเครื่องจักรตางๆเพื่อกักเก็บพลังงานที่ ไดจากลมและน้ํา สวนในชวงระบบอุตสาหกรรมที่ถือวาเปนจุดเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปสูโลกยุคใหมนั้น ได มีการใชเชื้อเพลิงจากซากพืชซากสัตวกันอยางแพรหลาย ซึ่งการพัฒนาดังกลาวยังเปนการเปดโลกทัศนของ 4
  • 15. การใชพลังงานที่ไดจากธรรมชาติซึ่งไดแก ถานหิน น้ํามันและกาซธรรมชาติมากขึ้นอีกดวย นอกจากนี้การ เปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้นยังเปนตัวบงชี้ใหเห็นวาพลังงานสะอาดประเภทหมุนเวียนเปนพลังงานที่ชวย สงเสริมความเปนอยูที่ดีขึ้นของมนุษยชาติ ผลลัพธที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมจากอดีตจนถึงปจจุบันทําใหระบบการผลิตและ การใชพลังงานตางๆเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอน และเปนการเปลี่ยนแปลงที่มี ประสิทธิภาพที่ทําใหเกิดการสรางงานจํานวนมาก เชน การนําพลังงานสัตวมาใชรวมแทนการใชพลังงาน มนุษยเพียงอยางเดียว และตอมาก็มีการใชพลังงานจากใบพัดและกังหันน้ํา ซึ่งระบบอุตสาหกรรมตางๆที่ เกิดขึ้นนั้นมีความสัมพันธโดยตรงกับระบบเศรษฐศาสตรและสังคม อีกทั้งยังสงผลตอความเปนอยูและการ พัฒนาของมนุษยในแตละยุคสมัย เครื่องกลแตละประเภทมีความสามารถในการทํางานที่แตกตางกันโดยขึ้นอยูกับพลังงานที่ไดรับ ทั้งนี้ไดมีการบันทึกเกี่ยวกับการผลิตพลังงานมาตั้งแตสมัยอเล็กซานเดอร เชน การปฏิรูปพลังงานเครื่องกล ดวยไอน้ําไดเกิดขึ้นในชวงศตวรรษที่ 17 และ 18 และมีการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญอีกครั้งในสมัยของโทมัส นิวโคเมน (Thomas Newcomen) และเจมส วัตต (James Watt) เมื่อประมาณชวงป พ.ศ. 2243 ซึ่งนับไดวา เปนตนกําเนิดของเครื่องจักรพลังงานไอน้ําและเปนการเปดโลกทัศนของการผลิตพลังงานครั้งสําคัญ ในป พ.ศ. 2423 โรงงานของนายโทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ที่ตั้งอยูที่เมืองนิวยอรกไดผลิต พลังงานไฟฟาใหแกสถาบันการเงินวอลลสตรีท (Wall Street) และอาคารของหนังสือพิมพนิวยอรกไทม (New York Times) โดยใชถานหินซึ่งใหพลังงานแกเครื่องจักรไอน้ําที่ติดกับเครื่องผลิตกระแสไฟฟาเครื่อง แรกของโลกที่เขาผลิตขึ้น อีกหนึ่งปตอมาไดมีการผลิตเครื่องผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังน้ําขึ้นที่เมืองแอป เพิลตัน มลรัฐวิสคอนซิน ดวยหลักการเดียวกันกับการใชกระแสน้ําที่ทําใหเครื่องสีขาวหมุนเพื่อชวยให เกษตรกรไดรับความสะดวกในการทํางาน และในชวงระยะเวลาเพียงไมกี่ปหลังจากนั้นนายเฮนรี่ ฟอรด (Henry Ford) ไดวาจางนายโทมัส เอดิสัน (Thomas Edison) ใหสรางเครื่องผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังน้ํา ขนาดเล็กเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาใหกับบานของตนที่มลรัฐมิชิแกนดวย ในชวงปลายศตวรรษที่ 18 (ประมาณป พ.ศ. 2342) ไดมีการนําเอาเชื้อเพลิงชนิดใหมที่เรียกกันวา ปโตรเลียม (Petroleum) มาใช แตเชื้อเพลิงปโตรเลียมนี้กลับกลายเปนผลิตภัณฑใหมที่ทําใหผูคนไดรับ ความเดือดรอนเนื่องจากทําใหน้ําดื่มสกปรก ทั้งนี้ในชวงศตวรรษตอมาน้ํามันปโตรเลียมไดถูกพัฒนาและ นํามาใชในกระบวนการสันดาบภายในเครื่องยนตจึงทําใหมีการผลิตน้ํามันปโตรเลียมขึ้นอีกครั้ง ซึ่งในเวลา นั้นเชื้อเพลิงปโตรเลียมมีราคาสูงมากรวมทั้งมีการนํามาจําหนายโดยกลุมพอคาขายปลีกที่ขายสินคาจําพวก ยาและน้ํามันบางกลุมเทานั้น นอกจากนี้น้ํามันปโตรเลียมยังใชเปนวัตถุดิบที่ใชในการจุดไฟแทนน้ํามันที่ได จากปลาวาฬ หลังจากที่โรงผลิตพลังงานจากน้ํามันที่ไดจากปลาวาฬไดเริ่มปดตัวลง ในชว งนี้ เ องยานพาหนะต า งๆที่ ทํา งานโดยไม ใ ชแ รงงานสั ต ว ไ ดรั บ ความนิ ย มในหมู ค นมี ฐ านะ จนกระทั่งนายเฮนรี่ ฟอรดไดออกแบบและผลิตรถยนตที่ใชน้ํามันในระดับอุตสาหกรรมขึ้นตามโมเดลรูปตัวที (T-model) ที่เขาไดคิดคนขึ้น ซึ่งรถยนตประเภทนี้นับไดวาเปนรถยนตที่ประหยัดน้ํามันมากที่สุดในเวลานั้น 5
  • 16. คือสามารถวิ่งไดระยะทาง 13 ถึง 21 ไมลตอแกลลอน หรือประมาณ 5-9 กิโลเมตรตอลิตร และรถยนตที่ สรางขึ้นตามโมเดลรูปตัวทีนั้นยังสามารถวิ่งไดดวยการใชน้ํามันกาดคีโรซีน (Kerosine) หรือน้ํามันอีเทอร นอล (Ethanol) ในเวลาตอมาเนื่องดวยราคาของรถยนตที่ต่ําลง รวมถึงมีการขยายการใชพลังงานไฟฟาเปนวงกวาง ออกไปและเพิ่มมากขึ้น จึงทําใหการใชพลังงานของมนุษยเกิดการเปลี่ยนแปลงมาจนถึงปจจุบัน และเปน สาเหตุหลักทําใหเกิดโรงงานผลิตพลังงานประเภทตางๆ เชน โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากถานหิน และแหลงผลิตพลังงานไฟฟาที่เกิดจากพลังน้ํา ตลอดจนแหลงผลิตสายไฟฟาที่ใชในการสงพลังงานไฟฟาที่มี ความยาวหลายรอยไมลเพื่อใชสงพลังงานไฟฟาระหวางแหลงผลิตพลังงานกับเมืองตางๆ ตลอดจนการสง พลังงานไฟฟาไปยังเขตที่ไฟฟาเขาไมถึงในชวงวิกฤตเศรษฐกิจ (Great Depression) ในป พ.ศ. 2473 อัตราการใชพลังงานเติบโตอยางรวดเร็วและมีปริมาณเพิ่มขึ้นเปนเทาตัวในระยะเวลาทุกๆ 10 ป ถึงแมวาอัตราคาใชจายในการผลิตพลังงานไฟฟานั้นมีแนวโนมที่ต่ําลงอยางคงที่ แตประเด็นเกี่ยวกับการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) นั้นก็ยังคงเปนเรื่องที่ผูบริโภคยังไมคอยใหความสําคัญ และสนใจมากเทาที่ควร หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองซึ่งเปนชวงที่รัฐบาลสหรัฐฯ พยายามสํารวจหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อใช ในการคนควาวิจัยเกี่ยวกับอะตอมที่สามารถนํามาใชในการผลิตกระแสไฟฟาได จึงทําใหมีการวางแผนที่จะ กอตั้งโรงงานพลังงานนิวเคลียรขึ้นเปนจํานวนมากกวา 200 แหงทั่วประเทศ และบานเรือนที่ปลูกสรางขึ้น ใหมนั้นก็ไดมีการติดตั้งระบบการทําความรอนที่เกิดจากพลังงานไฟฟา ในขณะเดียวกันปริมาณการใชน้ํามัน เชื้อเพลิงนั้นก็ไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตลอดจนปริมาณรถยนตที่เพิ่มขึ้นอยางมากมายในชวงป พ.ศ. 2493 - 2512 โดยในป พ.ศ. 2513 อัตราเฉลี่ยการใชน้ํามันเชื้อเพลิงของรถยนตในประเทศสหรัฐฯอยูที่ 13.5 ไมลตอ แกลลอน โดยที่น้ํามันเชื้อเพลิงหนึ่งแกลลอนนั้นมีราคาต่ํากวา 25 เซนต จนกระทั่งเมื่อป พ.ศ. 2516 สหรัฐฯ ไดใหการสนับสนุนประเทศอิสราเอลในสงครามระหวางประเทศ อาหรับ ซึ่งเปนผลทําใหกลุมประเทศอาหรับที่ผลิตน้ํามันหยุดการจัดสงน้ํามันใหกับสหรัฐฯ และประเทศ ตางๆที่อยูในแถบตะวันตก มีผลใหราคาน้ํามันสูงขึ้นเปน 3 เทาในชวงขามคืน หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2522 เมื่อโมฮาหมัด รีซา ชา พาวาลิ (Mohammad Reza Shah Pahlavi) หรือที่รูจักกันในนามวาชารออฟอิหราน (Shah of Iran) ไดถูกขับไลโดยนายอยาตุเลาะห โคไมนี (Ayatollah Khomeini) ซึ่งเปนผูนําทางศาสนาและ นักการเมืองที่เขามาทําการเปลี่ยนระบอบการปกครอง ทําใหราคาน้ํามันสูงขึ้นถึง 150 เปอรเซ็นตภายใน ชวงระยะเวลาไมกี่สัปดาห ดังนั้นจึงสงผลใหประธานาธิบดีคารเตอรของสหรัฐฯ ตองออกมาแถลงการณ ฉุกเฉินผานสื่อตางๆเพื่อกระตุนการประหยัดน้ํามัน โดยในชวงป พ.ศ. 2523 ราคาน้ํามันเฉลี่ยตอบารเรลอยู ที่ 45 เหรียญสหรัฐฯ หลังจากเหตุการณลมลางกษัตริยของอิหรานสิ้นสุดลงไมนานนัก บริษัทผลิตพลังงาน นิวเคลียรที่มีชื่อวาทรี ไมล ไอซแลนด (Three Miles Island) ก็ไดรับผลกระทบอันเนื่องจากความผิดพลาด และลมเหลวทางดานเครื่องกลและการปฏิบัติการเปนจํานวนหลายครั้ง เหตุการณดังกลาวที่เกิดขึ้นกับ บริษัททรีไมลไอซแลนดนับไดวาเปนเหตุการณสุดทายที่กอใหเกิดปญหากับอุตสาหกรรมการผลิตพลังงาน 6
  • 17. ไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียร จึงไดมีการสั่งหยุดโครงการกอตั้งโรงงานผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังงาน นิวเคลียรตั้งแตนั้นเปนตนมา ทั้งนี้เนื่องจากสาเหตุหลายประการ เชน ตองการเงินลงทุนเปนจํานวนหลาย พันลานเหรียญสหรัฐฯ ภาวะเงินเฟอและความตองการพลังงานไฟฟาที่ลดลง เนื่องจากสหรัฐฯ ไดมีการ นําเอานโยบายการอนุรักษพลังงานแหงชาติมาใช นอกจากนั้นรัฐบาลสหรัฐฯ ไมอนุญาตใหสรางโรงงานผลิต พลังงานไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรหลังจากป พ.ศ. 2521 รวมถึงการทําการระงับคําสั่งใหสราง โรงงานผลิตพลังงานไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรที่มีมากอนหนาป พ.ศ. 2516 (Union of Concerned Scientists, n.d.) 2. ความเปนมาทางดานการผลิตและการใชพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกา การใชพลังงานในสหรัฐอเมริกาสะทอนใหเห็นถึงหลักการทางวิทยาศาสตรในดานตางๆ ตั้งแตสมัย อาณานิคม (Colonial Time) เชน พลังงานที่ไดจากไมเปนพลังงานหลักที่ใชผสมผสานกับพลังงานชนิดอื่น และไมยังคงเปนเชื้อเพลิงหลักอยางตอเนื่อง ซึ่งการพัฒนาในยุคตอมาแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงใน การผลิตพลังงานชนิดตางๆอยางชัดเจน โดยถานหินเปนวัตถุดิบชนิดใหมที่เขามาแทนที่ไมเพื่อใชในการ ผลิตพลังงานของสหรัฐฯ ในชวงป พ.ศ. 2428 จนกระทั่งเมื่อป พ.ศ. 2494 เชื้อเพลิงปโตรเลียมไดเริ่มเขามา มีบทบาทในการใหพลังงานความรอนแทนที่ถานหิน แตหลังจากนั้นเพียงอีกไมกี่ปเชื้อเพลิงปโตรเลียมก็ถูก แทนที่ดวยกาซธรรมชาติ สวนพลังงานที่ไดจากน้ําและพลังงานนิวเคลียรนั้นมีขึ้นเมื่อประมาณป พ.ศ. 2433 และ พ.ศ. 2500 ตามลําดับ นอกจากนี้ยังมีการใชพลังงานที่ผลิตไดจากแผนรับพลังงานแสงอาทิตยดวย ทั้งนี้พลังงานความรอนจากดวงอาทิตยและพลังงานความรอนใตพิภพเปนแหลงพลังงานที่ไดรับการพัฒนา เทคโนโลยีอยางตอเนื่องเพื่อใชเปนพลังงานในอนาคต ในขณะที่ปโตรเลียมและกาซธรรมชาติก็ยังคงเปน พลังงานที่มีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงทางดานการพัฒนาการผลิตและการใชพลังงานทดแทน (EIA: Introduction, n.d.) ประเทศสหรัฐอเมริกานั้นจัดไดวาเปนประเทศหนึ่งในโลกที่มีความอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งในป พ.ศ. 2319 นั้นเปนปที่สหรัฐฯไดประกาศอิสระภาพจากอังกฤษและพลังงานเกือบทั้งหมดที่ใชใน ประเทศไดมาจากพลังงานสัตวและการใชไมเปนเชื้อเพลิง ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการคนพบและนําถานหิน และปโตรเลียมมาใชใหเกิดประโยชน แตกลับมีการใชกังหันชนิดตางๆที่ประดิษฐขึ้นเพื่อใชผลิตพลังงานจาก น้ํา หรือการใชลมในการเดินทางหรือขนสงทางเรือ ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดเปนประเทศหนึ่งที่อุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ในป พ.ศ. 2319 ซึ่งเปน ปที่สหรัฐฯไดประกาศอิสระภาพจากประเทศอังกฤษและพลังงานเกือบทั้งหมดที่ใชในประเทศไดมาจาก พลังงานสัตวและการใชไมเปนเชื้อเพลิง ซึ่งในขณะนั้นยังไมมีการคนพบและนําถานหินและปโตรเลียมมาใช ใหเกิดประโยชน แตกลับมีการใชกังหันชนิดตางๆที่ประดิษฐขึ้นเพื่อใชผลิตพลังงานจากน้ํา หรือการใชลมใน การเดินทางหรือขนสงทางเรือ 7
  • 18. รูปที่ 1.2 แสดงปริมาณการใชพลังงานจากแหลงพลังงานตางๆในป พ.ศ. 2178-2543 ของประเทศสหรัฐอเมริกา (ควอดริลเลียน บีทียู) (ที่มา: EIA, n.d.) เชื้อเพลิงที่ไดจากไมเปนพลังงานที่ชวยขยายการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจของประเทศตลอด ระยะเวลาที่ผานมา แตเมื่อวัตถุดิบที่ใชในการผลิตพลังงานเริ่มลดลง ทําใหสหรัฐฯตองทําการคนหาพลังงาน ชนิดอื่นเขามาทดแทน เชน ในชวง 30 ปแรกของศตวรรษที่ 19 (พ.ศ. 2344 - 2374) ดังแสดงในรูปที่ 1.2 ชี้ใหเห็นวาถานหินไดถูกนํามาใชในการผลิตพลังงานมากขึ้น เชน การใชถานหินในอุตสาหกรรมเตาหลอม โลหะ (Blast Furnaces) และการใชในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงถานหินเหลว (Coal-gas) เพื่อใหแสงสวางใน เวลากลางคืน ในขณะเดียวกันก็มีการใชกาซธรรมชาติเพื่อใหแสงสวางดวย ตอมาในชวงป พ.ศ. 2383 - 2403 ไดมีการทดลองโดยนําเอาพลังงานกระแสไฟฟาไปใชกับรถไฟที่แลนดวยแบตเตอรี่ แตพลังงานที่ได จากแรงงานสัตวก็ยังเปนพลังงานที่คนอเมริกันนํามาใชอยางตอเนื่องเปนระยะเวลาหลายสิบป ถึงแมวาจะมี การพัฒนาทางดานเครื่องกลจะเกิดขึ้นอยางมากมายในชวงเวลาดังกลาวรวมถึงการสรางโรงงานปนฝาย เครื่องเก็บผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งการพัฒนาเครื่องกลตางๆเหลานั้นไดสงผลใหปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น มากกวาที่ไดจากแรงงานสัตวหรือมนุษย ดังนั้นการกระตุนใหเกิดการพัฒนาเครื่องจักรกลจึงมีความสําคัญ อยางยิ่งเชนกัน อยางไรก็ตามในชวงกลางศตวรรษจึงสามารถพิสูจนใหเห็นไดวาปริมาณผลผลิตโดยรวมที่ได จากเครื่องกลนั้นมีปริมาณมากกวาผลผลิตพลังงานที่ไดจากสัตว การอพยพโยกยายที่อยูอาศัยของชาวอเมริกันเขาไปในแถบตะวันตกทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง เกี่ยวกับพลังงานอยางชัดเจน เชน ชวงแรกของการกอสรางทางรถไฟในบริเวณที่ราบและภูเขาในแถบ ตะวันตกไดใชพลังงานจากไมเปนเชื้อเพลิงเปนหลัก และในเวลาตอมาไมนานนักถานหินก็ไดรับความสนใจ มากขึ้นเนื่องจากถานหินเปนวัตถุดิบที่สามารถพบไดในแถบบริเวณนั้น อีกทั้งถานหินยังสามารถใหพลังงาน ไดยาวนานกวาพลังงานที่ไดจากไม นอกจากนั้นการสรางทางรถไฟยังใชระยะเวลานานขึ้นกวาที่ไดวางแผน 8
  • 19. เอาไว จึงทําใหถานหินไดรับการพิจารณาใหเปนพลังงานที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพที่จะนํามาใชเปน วัตถุดิบหลัก และเปนแหลงพลังงานที่เหมาะสมที่สุดในขณะนั้น ในการผลิตเหล็กที่ใชทํารางและตะปูที่ใช ตอกยึดราง ดังนั้นในชวงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 อุตสาหกรรมการขนสงและอุตสาหกรรมโรงงานจึง เติบโตอยางรวดเร็ว โดยที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิงสําคัญในการสงเสริมการเติบโตของอุตสาหกรรมตางๆมา โดยตลอด ประเทศสหรัฐอเมริกามีการขยายและพัฒนาระบบอุตสาหกรรมตางๆ มากขึ้นทําใหความตองการ พลังงานของสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นอยางมหาศาล กลาวคืออัตราความตองการพลังงานสูงขึ้นถึง 4 เทาในชวงป พ.ศ. 2423 - 2461 อุตสาหกรรมตางๆ ที่เติบโตอยางรวดเร็วไดใชพลังงานจากถานหินเปนหลัก และในชวง เดียวกันนั้นเองการใชพลังงานไฟฟาในการใหพลังงานแกเครื่องใชไฟฟาตางๆก็เริ่มมีมากขึ้น สวนการใช เชื้อเพลิงปโตรเลียมนั้นเริ่มไดความนิยมมากขึ้น ในเวลาตอมาไดมีการกอตั้งแหลงผลิตเชื้อเพลิงปโตรเลียมที่ มีชื่อวา Texas’s Vast Spindletop Oil Field ในป พ.ศ. 2444 และตามมาดวยการผลิตรถยนตในป พ.ศ. 2461 ซึ่งไดมีการสรางแผนงานการผลิตรถยนตเปนจํานวนหลายลานคัน หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไมนานนัก บริษัท Old King Coal ซึ่งเปนบริษัทผลิตเชื้อเพลิงที่ไดจาก ถานหินเปนหลักใหแกประเทศสหรัฐอเมริกาไดลมเลิกกิจการ โดยสงผลกระทบตอระบบการเดินทางขนสง ทางรถไฟที่ใชถานหินเปนเชื้อเพลิงที่ตองหยุดชะงักลง และทําใหการคมนาคมขนสงโดยรถบรรทุกที่ใชน้ํามัน เริ่มเขามาแทนที่ รถบรรทุกและหัวรถบรรทุ กตางๆเหลานั้นใชน้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิงใหพลังงาน ใน ขณะเดียวกันความตองการแรงงานในการผลิตเชื้อเพลิงและมาตรฐานความปลอดภัยในการปฏิบัติการที่ สูงขึ้นทําใหคาใชจายในการผลิตพลังงานจากถานหินสูงขึ้นไปดวย เปนสาเหตุที่ทําใหอุตสาหกรรมตางๆ ตองพยายามหาแหลงพลังงานอื่นมาใชทดแทน และสาเหตุที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คืออุปกรณที่ใหความ รอนมีแนวโนมที่จะไดรับความนิยมมากขึ้น อยางไรก็ตามอุตสาหกรรมถานหินก็ยังคงดําเนินการตอไปเนื่องจากเปนพลังงานหลักที่ใชในการ ผลิตกระแสไฟฟาทั่วประเทศ รวมถึงการใชพลังงานถานหินเพื่อแขงขันกับการผลิตพลังงานไฟฟาจากพลัง น้ําและการผลิตพลังงานไฟฟาจากการใชเชื้อเพลิงปโตรเลียม รูปที่ 1.3 แสดงใหเห็นวาในปจจุบันพลังงาน ส ว นใหญที่ ผลิ ต ในประเทศสหรั ฐ อเมริ กาก็ ยังได มาจากถา นหิ นเป นหลัก อันดั บ สองและสามได แกกา ซ ธรรมชาติและน้ํามันดิบตามลําดับ 9
  • 20. รูปที่ 1.3 การผลิตพลังงานตามแหลงที่มาสําหรับป พ.ศ. 2543 ของประเทศสหรัฐอเมริกา (ที่มา : EIA, n.d.) ถ า พิ จ ารณาจากประวั ติ แ หล ง ที่ ม าพลั ง งานของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าจะเห็ น ได ว า ประเทศ สหรัฐอเมริกามีพลังงานใชไดอยางเพียงพอ ถึงแมวาถานหินจํานวนหนึ่งจะถูกสงมาจากประเทศอังกฤษ ในชวงที่อเมริกายังเปนประเทศอาณานิคมของอังกฤษก็ตาม แตในชวงปลายของทศวรรษที่ 50 (พ.ศ. 2494- 2504) อัตราการผลิตและบริโภคพลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาก็ยังคงอยูในระดับที่เทาๆกัน หลังจากนั้น ไมนานนักปริมาณการบริโภคพลังงานสูงกวาปริมาณการผลิตเล็กนอย และในชวงตนทศวรรษที่ 70 (พ.ศ. 2514-2524) ปริมาณความแตกตางระหวางการผลิตและการบริโภคเริ่มมีความแตกตางอยางเห็นไดชัดดัง แสดงไวในรูปที่ 1.4 ซึ่งแสดงปริมาณการผลิตและการใชพลังงาน รวมถึงปริมาณการนําเขาและสงออก พลังงานของประเทศสหรัฐอเมริกาในชวงทศวรรษตางๆ รูปที่ 1.4 ปริมาณการผลิตและการใชพลังงาน รวมถึงปริมาณการนําเขาและสงออกพลังงานของประเทศ สหรัฐอเมริการะหวาง พ.ศ. 2493-2543 (ที่มา : EIA, n.d.) 10
  • 21. ในป พ.ศ. 2543 ประเทศสหรัฐอเมริกาสามารถผลิตพลังงานไดประมาณ 72 ควอดริลเลียนบีทียู แต ปริมาณพลังงานที่สงออกนั้นเพียงแค 4 ควอดริลเลียนบีทียูเทานั้น ปริมาณการใชพลังงานทั้งหมดรวมได ประมาณ 98 ควอดริลเลียนบีทียู และยังตองอาศัยพลังงานนําเขาอยางนอย 29 ควอดริลเลียนบีทียู นับไดวา เปนปริมาณพลังงานนําเขาที่มากกวาเมื่อป พ.ศ. 2493 ถึง 19 เทาดังแสดงในรูปที่ 1.5 แสดงปริมาณการ ผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543 รูปที่ 1.5 แสดงปริมาณการผลิต จํานวนพลังงานที่ใช พลังงานนําเขาและสงออกป พ.ศ. 2543 (ที่มา : EIA, n.d.) ประเทศสหรัฐอเมริกามีความตองการนําเขาพลังงานเพิ่มขึ้นโดยมีอัตราการใชน้ํามันปโตรเลียมที่ สูงขึ้น อัตราน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมนําเขาของสหรัฐเมื่อป พ.ศ. 2516 เปนจํานวน 6.3 ลานบารเรลตอวัน ซึ่ง 3.2 ลานบารเรลตอวันนั้นไดมาจากน้ํามันดิบและ 3.0 ลานบารเรลตอวันนั้นมาจากผลิตภัณฑที่เปนสาร กอบของปโตรเลียม เชนกาซธรรมชาติชนิดตางๆ ซึ่งเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 กลุมประเทศอาหรับที่เปน สมาชิกขององคกรของประเทศสงออกน้ํามันปโตรเลียม (Organization of Petroleum Exporting Countries หรือ OPEC) ไดสั่งหามการขายน้ํามันใหกับสหรัฐฯ จึงเปนผลทําใหราคาน้ํามันสูงขึ้นอยางมาก และปริมาณ เชื้อเพลิงปโตรเลียมนําเขาตกลงเปนระยะเวลานานถึง 2 ป จึงสงผลใหราคาน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมมีราคา สูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงป พ.ศ. 2524 ไดหยุดการนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียม แตหลังจากนั้นในป พ.ศ. 2529 น้ํามันเชื้อเพลิงปโตรเลียมก็กลับมาเปนน้ํามันนําเขาอีกครั้ง ซึ่งปริมาณนําเขาอาจจะแตกตางกันไปใน บางป เชน พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2534 และป พ.ศ. 2538 แตเมื่อป พ.ศ. 2543 การนําเขาน้ํามันปโตรเลียมมี อัตราสูงติดอันดับรายงานการนําเขาเชื้อเพลิง ซึ่งเปนปริมาณสูงถึง 11 ลานบารเรลตอวันดังแสดงใน รูปที่ 1.6 11