SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
คําแถลงนโยบาย
              ของ
      คณะรัฐมนตรี




นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
           แถลงตอรัฐสภา
   วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑
๒
สารบัญ
                                                             หนา
ประกาศแตงตั้งนายกรัฐมนตรี                                     ก
ประกาศแตงตั้งรัฐมนตรี                                         ข
คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี                                    ๑
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
แถลงตอรัฐสภา วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑
๑. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก                  ๕
๒. นโยบายความมั่นคงของรัฐ                                     ๙
๓. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวต      ิ                           ๑๐
๔. นโยบายเศรษฐกิจ                                            ๑๗
๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม               ๒๘
๖. นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม          ๒๙
๗. นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ               ๓๐
๘. นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี                       ๓๑
ภาคผนวก                                                      ๓๗
ตารางแสดงความสอดคลองระหวางนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน
ของคณะรัฐมนตรีกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในหมวด ๕
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย




                                    ๓
ประกาศ
                                 แตงตั้งนายกรัฐมนตรี

                                ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
             พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
                ดวยความเปนรัฐมนตรีของ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี ไดสิ้นสุดลง
เฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ วรรคหนึ่ง (๕)
และประธานสภาผูแทนราษฎรไดนําความกราบบังคมทูลพระกรุณาวา สภาผูแทนราษฎร
ไดลงมติเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ เห็นชอบดวยในการแตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เปนนายกรัฐมนตรี ดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู
ของสภาผูแทนราษฎร
              จึงทรงพระราชดําริวา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนผูที่สมควรไววางพระราชหฤทัย
ใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
               อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรีบริหารราชการ
แผนดิน ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
              ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
      นายชัย ชิดชอบ
 ประธานสภาผูแทนราษฎร


                                            ก
ประกาศ
                                  แตงตั้งรัฐมนตรี

                               ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
             พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา ตามที่ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เปนนายกรัฐมนตรี ตามประกาศลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ แลว นั้น
             บัดนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเลือกสรรผูที่สมควรดํารง
ตําแหนงรัฐมนตรีเพื่อบริหารราชการแผนดินสืบไปแลว
             อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งรัฐมนตรี ดังตอไปนี้
             นายสุเทพ เทือกสุบรรณ             เปน รองนายกรัฐมนตรี
             นายกอรปศักดิ์ สภาวสุ            เปน รองนายกรัฐมนตรี
             พลตรี สนั่น ขจรประศาสน          เปน รองนายกรัฐมนตรี
             นายสาทิตย วงศหนองเตย           เปน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
             นายวีระชัย วีระเมธีกุล           เปน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
             พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ         เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
             นายกรณ จาติกวณิช                เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง



                                          ข
นายประดิษฐ ภัทรประสิทธิ์       เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง
นายพฤฒิชัย ดํารงรัตน           เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง
นายกษิต ภิรมย                  เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ
นายชุมพล ศิลปอาชา               เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยว
                                     และกีฬา
นายวิฑูรย นามบุตร              เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม
                                     และความมันคงของมนุษย
                                                 ่
นายธีระ วงศสมุทร               เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร
                                     และสหกรณ
นายชาติชาย พุคยาภรณ            เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตร
                                     และสหกรณ
นายโสภณ ซารัมย                 เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
นายประจักษ แกลวกลาหาญ        เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
นายเกื้อกูล ดานชัยวิจิตร       เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
นายสุวิทย คุณกิตติ             เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากร
                                     ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
รอยตรีหญิง ระนองรักษ สุวรรณฉวี เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี
                                      สารสนเทศและการสื่อสาร
นายวรรณรัตน ชาญนุกล
                   ู            เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน
นางพรทิวา นาคาศัย               เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย
นายอลงกรณ พลบุตร               เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย
นายชวรัตน ชาญวีรกูล            เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย


                            ค
นายบุญจง วงศไตรรัตน                เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย
                                                                 
              นายถาวร เสนเนียม                     เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย
                                                                 
              นายพีระพันธุ สาลีรัฐวิภาค           เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม
              นายไพฑูรย แกวทอง                   เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน
              นายธีระ สลักเพชร                     เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม
              คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช                เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร
                                                        และเทคโนโลยี
              นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ             เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
              นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน                 เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ
                                                                 
              นางสาวนริศรา ชวาลตันพิพัทธ          เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ
                                                                 
              นายวิทยา แกวภราดัย                  เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข
              นายมานิต นพอมรบดี                    เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข
              นายชาญชัย ชัยรุงเรือง               เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
              ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
              ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
  นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
       นายกรัฐมนตรี




                                               ง
คําแถลงนโยบาย
                                   ของ
                               คณะรัฐมนตรี
                  นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี
                            แถลงตอรัฐสภา
                     วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑
                                  _____________________


ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ
            ตามที่ ไ ด ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ แต ง ตั้ ง ให ก ระผมเป น นายกรั ฐ มนตรี
ตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแตงตั้ง
คณะรัฐมนตรีตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ นั้น
                 บัดนี้ คณะรัฐมนตรีไดกําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดินเรียบรอยแลว
โดยยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยในระบบรั ฐ สภาอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย
ทรงเปนประมุข และครอบคลุมถึงแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามบทบัญญัติในหมวด ๕
ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย คณะรั ฐ มนตรี จึ ง ขอแถลงนโยบายดั ง กล า ว
ตอที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาเพื่อใหทราบถึงแนวทางการบริหารราชการแผนดินที่รัฐบาล
จะดําเนินการเพื่อนําสังคมไทยกลับคืนสูความสมัครสมานสามัคคี เอื้ออาทร และคนไทย
มี ค วามสุ ข ถ ว นหน า พร อ มทั้ ง นํ า ประเทศไทยให ผ า นพ น วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ครั้ ง สํ า คั ญ
เพื่อใหสามารถพัฒนาตอไปไดอยางมั่นคงและยั่งยืน




                                                ๑
ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ
                รั ฐ บาลนี้ เ ข า บริ ห ารประเทศในช ว งที่ สั ง คมไทยมี ค วามขั ด แย ง และมี ค วาม
แตกแยก เนื่ อ งจากมี ค วามเห็ น ที่ แ ตกต า งกั น ในเรื่ อ งการเมื อ งและการบริ ห ารประเทศ
ความขัดแยงดังกลาวระหวางกลุมประชาชนไดทวีความรุนแรงขึ้น จนสงผลใหการบริหาร
บ า นเมื อ งในช ว งที่ ผ า นมาขาดความก า วหน า ในการพั ฒ นาประเทศในเรื่ อ งต า ง ๆ ที่ มี
ความสําคัญเรงดวน และมีผลกระทบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน ความขัดแยงดังกลาว
เปนจุดออนของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงปจจุบันที่เศรษฐกิจโลกไดเขาสูภาวะ
วิกฤตที่มีความรุนแรงมากที่สุดในรอบศตวรรษ
              วิกฤตเศรษฐกิจโลกครั้งนี้เริ่มตนจากวิกฤตการณสถาบันการเงินในประเทศ
สหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนกันยายนที่ผานมา ซึ่งไดสงผลเชื่อมโยงถึงระบบการเงินของประเทศ
ตาง ๆ ในโลก ถึงแมวาเหตุการณนี้จะไมไดมีผลตอสถาบันการเงินของประเทศไทยโดยตรง
แตก็มีผลกระทบใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุนของตางชาติออกจากประเทศในชวงดังกลาว
และสงผลใหดัชนีตลาดหลักทรัพยเขาสูจุดต่ําสุดในรอบ ๕ ปเมื่อเดือนตุลาคม
                   ความเสียหายตอระบบการเงินอยางรุนแรงไดสงผลใหเศรษฐกิจของประเทศ
พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และอีกหลายประเทศในยุโรป เขาสูภาวะเศรษฐกิจ
ถดถอย และขณะนี้หลายอุตสาหกรรมใหญในประเทศพัฒนาแลว เชน อุตสาหกรรมรถยนต
การบิน และอิเล็กทรอนิกส เปนตน กําลังประสบปญหาทางการเงินถึงขั้นที่อาจจะลมละลาย
และไดมีการปลดคนงานออกแลวเปนจํานวนหลายลานคน เศรษฐกิจไทยเริ่มไดรับผลกระทบ
จากการชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกเร็ ว กว า ที่ ห ลายฝ า ยคาดการณ ไ ว ดั ง จะเห็ น ได จ าก
มู ล ค า การส ง ออกในเดื อ นพฤศจิ ก ายนในรู ป เงิ น ดอลลาร ส หรั ฐ ลดลงร อ ยละ ๑๘.๖ และ
ปริมาณการสงออกลดลงรอยละ ๒๒.๖ จํานวนนักทองเที่ยวในเดือนกันยายนลดลงรอยละ
๑๖.๕ เทียบกับเดือนเดียวกันในปที่ผานมา ยอดมูลคาการสงเสริมการลงทุนในชวง ๑๑ เดือน
ลดลงประมาณรอยละ ๔๐ และภาคการกอสรางอยูในภาวะหดตัว รวมถึงประมาณการรายได
ของรัฐบาลในรูปภาษีและรายไดอื่น ๆ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ มีแนวโนมจะปรับลดลง
จากประมาณการเดิมประมาณรอยละ ๑๐




                                                 ๒
ในป ๒๕๕๒ เศรษฐกิจโลกโดยรวมมีแนวโนมจะขยายตัวไดเพียงเล็กนอย
ดั ง นั้ น ประเทศไทยจะเผชิ ญ กั บ การชะลอตั ว ของการส ง ออก การลดลงของจํ า นวน
นักทองเที่ยวตางชาติ การลดลงของราคาสินคาเกษตร และการชะลอการลงทุนของภาคเอกชน
ดั ง นั้ น แนวโน ม จํ า นวนคนว า งงานจะเพิ่ ม ขึ้ น จาก ๕ แสนคนในป จ จุ บั น เป น ๑ ล า นคน
อันจะสงผลใหความยากจน ปญหาสังคมและอาชญากรรมเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นความขัดแยง
ทางการเมืองซึ่งขยายไปสูความขัดแยงในภาคประชาชนในชวงที่ผานมา ซึ่งหากไมไดรับ
การแกไขและฟนฟูความมั่นใจใหแกนักลงทุนและนักทองเที่ยวจากทั่วโลกใหกลับคืนมา
อยางรวดเร็ว จะทําใหเศรษฐกิจและภาคการทองเที่ยวของประเทศเขาสูภาวะถดถอย
              นอกจากปญหาสําคัญเรงดวนดังกลาวแลว รัฐบาลจะใหความสําคัญแกปญหา
พื้นฐานระยะยาวของประเทศไทยซึ่งเปนสิ่งที่จะละเลยมิได ในปจจุบันคนไทยยังมีการศึกษา
โดยเฉลี่ยประมาณ ๙ ป นอยกวาประเทศในแถบเอเชียซึ่งมีการศึกษาเฉลี่ยประมาณ ๑๐
ถึง ๑๒ ป คุณภาพของการศึกษายังมีปญหาสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน
ต่ํากวามาตรฐานในวิชาสําคัญ เชน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร
คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แตก็มีปญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น ผูสูงอายุสวนใหญปวยเปนโรคความดัน
โลหิตสูง เบาหวาน และหัวใจ ซึ่งโรคเหลานี้รักษาใหหายไดยากและมีคาใชจายในการรักษาสูง
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และยาเสพติดยังคงเปนปญหาสําคัญของสังคมไทย
รวมทั้ ง ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มทั้ ง ในเมื อ งและชนบท
ยังคงทวีความรุนแรงขึ้น สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตของคนไทยและความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
                   ดังนั้นรัฐบาลจะดําเนินนโยบายในดานตาง ๆ ควบคูกันไปกับการแกไขปญหา
เร ง ด ว น เพื่ อ ให มี ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น เช น การเตรี ย มการสํ า หรั บ สั ง คมผู สู ง อายุ
การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและภาวะโลกรอน ความมั่นคงของอาหารและพลังงานของ
ประเทศ การสร า งเศรษฐกิ จ ฐานความรู แ ละการสร า งสรรค การแก ไ ขความยากจนและ
ลดความเหลื่อมล้ําของรายได การพัฒนาธรรมาภิบาล การพัฒนาพื้นที่และกระจายอํานาจ
สู ท อ งถิ่ น การสร า งบทบาทของประเทศไทยในเวที โ ลก การเชื่ อ มโยงทางเศรษฐกิ จ กั บ
ประเทศในภูมิภาค และการรวมมือในการพัฒนาอยางสันติกับประเทศเพื่อนบาน เปนตน




                                                  ๓
ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ
              รัฐบาลถือเปนภารกิจที่สําคัญอยางยิ่ง ที่จะตองนําประเทศไทยใหรอดพนจาก
วิกฤตเศรษฐกิจโลกที่กําลังเกิดขึ้นและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน แกไขวิกฤต
ทางสังคมที่มีความแตกแยกและพัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมือง
และปฏิรูปการเมืองใหมีความมั่นคงตามแนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข ในการนี้รัฐบาลจะดําเนินการใหบรรลุภารกิจดังกลาวภายใตแนวทางพื้นฐาน
หลัก ๔ ประการ คือ
                   หนึ่ง ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่นคงในการเปน
ศู น ย ร วมจิ ต ใจและความรั ก สามั ค คี ข องคนในชาติ และเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย
ไวเหนือความขัดแยงทุกรูปแบบ พรอมทั้งดําเนินการทุกวิถีทางอยางจริงจังเพื่อปองกันมิให
มีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
            สอง สรางความปรองดองสมานฉันท บนพื้นฐานของความถูกตอง ยุติธรรม
และการยอมรับของทุกภาคสวน
            สาม ฟน ฟูเศรษฐกิจ ให ขยายตัว อยางยั่ง ยืน และบรรเทาผลกระทบของ
ภาวะเศรษฐกิจที่ประชาชนจะประสบ
          สี่   พัฒนาประชาธิปไตยและระบบการเมือง ใหมีความมั่นคง มีการปฏิบัติ
ตามกฎหมาย และบังคับใชกฎหมายอยางเสมอภาค เปนธรรม และเปนที่ยอมรับของสากล


ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ
                 รัฐบาลจะบริหารราชการแผนดินโดยนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ที่ เ น น การใช คุ ณ ธรรมนํ า ความรู และจะปฏิ บั ติ ต ามบทบั ญ ญั ติ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ
แหงราชอาณาจักรไทยอยางเครงครัด โดยแบงการดําเนินการเปน ๒ ระยะ คือ ระยะเรงดวน
ที่จะเริ่มดําเนินการและมีกําหนดเวลาแลวเสร็จในปแรกอยางชัดเจน และระยะการบริหารราชการ
๓ ปของรัฐบาลซึ่งมีกําหนดเริ่มตนตั้งแตปแรกเปนตนไป ดังตอไปนี้




                                             ๔
๑.      นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก
                      ๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม
เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค
                            ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของ
คนในชาติใหเกิดขึ้นโดยเร็ว โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจากทุกฝาย และหลีกเลี่ยง
การใชความรุนแรงในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติในทุกกรณี รวมทั้งฟนฟูระเบียบ
สัง คมและบัง คับ ใชก ฎหมายอย างเท าเที ยมและเปนธรรมแก ทุ ก ฝาย ตลอดจนสนับ สนุน
องคกรตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสรางความสมานฉันท ภายใตกรอบของบทบาท
อํานาจและหนาที่ขององคกร
                            ๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดน
ภาคใต เ ป น องค ก รถาวร เพื่ อ ทํ า หน า ที่ แ ก ไ ขป ญ หาและพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต
โดยยึดมั่นหลักการสรางความสมานฉันทและแนวทาง “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการ
ยุติธรรมกับผูกระทําผิดอยางเครงครัดและเปนธรรม กําหนดจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต
พัฒนาพิเศษที่มีการสนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา สิทธิพิเศษดานภาษี และอุตสาหกรรม
ฮาลาล รวมทั้งสนับสนุนใหเปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและหลากหลายทางศาสนา
และวัฒนธรรม
                            ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง โดยจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อ ศึก ษา
แนวทางการดํ า เนิ น การปฏิ รู ป โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน เพื่ อ วางระบบ
การบริ ห ารประเทศให มี เ สถี ย รภาพและประสิ ท ธิ ภ าพ ในแนวทางการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ
สังคมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบตอการพัฒนาประเทศอย างยั่ง ยื น และเป นไปตาม
ความตองการของประชาชนอยางแทจริง
                            ๑.๑.๔ เรงสร างความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตา
ของชาวโลก โดยใหความสําคัญตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับแรก และรวมมือ
กับรัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติเอกสารที่เกี่ยวของที่ประเทศไทยในฐานะสมาชิกประชาคม
อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า อาเซี ย นให แ ล ว เสร็ จ ภายใน
เดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียมความพรอมเปนเจาภาพจัดการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน
ครั้งที่ ๑๔ ในเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทยเปนประธานอาเซียน



                                               ๕
๑.๑.๕ ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ที่ กํ า ลั ง ประสบป ญ หาเป น การ
เรงดวน โดยจัดทําเปนแผนฟนฟูเศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตรและเกษตรกร
ภาคอุ ต สาหกรรม ภาคบริก ารและการท อ งเที่ย ว ภาคการส ง ออก ภาคอสั ง หาริ ม ทรั พ ย
การสรางงานและสรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากร
ให แ ล ว เสร็ จ ภายในเดื อ นมกราคม ๒๕๕๒ พร อ มทั้ ง จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม
ประจํ า ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี วั ต ถุป ระสงคเ พื่ อ นํ า เม็ ด เงิ น ของรั ฐ เขา สู ร ะบบ
เศรษฐกิจและเพื่อใหสามารถบรรเทาภาวะความเดือดรอนของประชาชนและภาคธุรกิจได
                                ๑.๑.๖ เรงสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยวตางชาติ
และเรงรัดมาตรการกระตุนการทองเที่ยว โดยการดําเนินการรวมกันระหวางภาครัฐและ
เอกชนในการประชาสัมพันธดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ สงเสริมการทองเที่ยวของคนไทย
ในประเทศ และปรับแผนงบประมาณของสวนราชการที่ไดรับงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ อยู แลว เพื่ อ ใช ในการจั ดการฝกอบรมและสั ม มนาใหก ระจาย
ทั่ ว ประเทศ รวมทั้ ง ลดหย อ นค า ธรรมเนี ย มและค า บริ ก ารที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การท อ งเที่ ย ว
เพื่อดึงดูดใหมีการเดินทางทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
                                ๑.๑.๗ เรงลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใหความสําคัญ
แกโครงการลงทุนที่มีความคุมคามากที่สุด เพื่อเสริมสรางบรรยากาศการลงทุน ยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยเฉพาะ
การลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ
สุขภาพที่มุงสู การป องกันและส งเสริ มสุ ขภาพ การลงทุน พัฒนาระบบขนสงมวลชน และ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําและการชลประทาน ใหสามารถเริ่มดําเนินโครงการได
ในป ๒๕๕๒ โดยให ค วามสํ า คั ญ แก ก ารมี ส ว นร ว มของประชาชน การรัก ษาสิ่ ง แวดล อ ม
การดําเนินงานอยางโปรงใส ตรวจสอบได และการรักษาวินัยการคลังของประเทศ รวมทั้ง
เรงรัดการเบิกจายงบลงทุนของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ
                        ๑.๒ การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน
                             ๑.๒.๑ ร ว มมื อ กั บ ภาคเอกชนในการดํ า เนิ น มาตรการ
ชะลอการเลิกจางและปองกันการขยายตัวของการเลิกจางในภาคอุตสาหกรรมและ
บริ ก าร ทั้ ง อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดย อ ม โดยใช ม าตรการจู ง ใจ
เพื่อลดภาระของภาคเอกชนในการชะลอการเลิกจางงาน



                                                  ๖
๑.๒.๒ ดํ า เนิ น มาตรการเร ง ด ว นเฉพาะหน า เพื่ อ รองรั บ
ปญหาแรงงานวางงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม โดยจัดโครงการฝกอบรม
แรงงานที่วางงานประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คน ในระยะเวลา ๑ ป ตามกลุมความถนัดและศักยภาพ
และรองรั บ แรงงานกลั บ สู ภู มิ ลํ า เนา เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการแข ง ขั น และสร า งมู ล ค า
ทางเศรษฐกิจใหแกวิสาหกิจและธุรกิจชุมชน
                                      ๑.๒.๓ เรงรัดดําเนินการชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอน
ของผูถูกเลิกจางและผูวางงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการดูแลใหไดรับ
สิท ธิ ป ระโยชน ที่พึ ง จะได ต ามกฎหมายโดยเร็ ว การหางานใหม การส ง เสริ ม อาชี พ อิ ส ระ
การสรางงาน และการเพิ่มพูนทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนอาชีพ รวมทั้งการจัดสวัสดิการที่จําเปน
เช น การเพิ่ ม วงเงิ น ให ก องทุ น สงเคราะห ลู ก จ า งเพื่ อ ช ว ยเหลื อ ลู ก จ า งที่ ถู ก เลิ ก จ า ง และ
การดําเนินโครงการสานฝนแรงงานคืนถิ่น ซึ่งรวมถึงการสรางงานและจัดที่ทํากิน ตลอดจน
การเขาถึงแหลงทุนสําหรับแรงงานนอกภาคเกษตรที่ถูกเลิกจางใหคืนสูภาคเกษตร
                                      ๑.๒.๔ สรางหลักประกันดานรายไดแกผูสูงอายุที่มีรายได
ไมเพียงพอแกการยังชีพ หรือไมสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพ
แก ผู สู ง อายุ ที่ มี อ ายุ ๖๐ ป ขึ้ น ไปที่ แ สดงความจํ า นงโดยการขอขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ ขอรั บ
การสงเคราะห รวมทั้งขยายเพดานใหกูยืมจากกองทุนผูสูงอายุเปน ๓๐,๐๐๐ บาทตอราย
                                      ๑.๒.๕ เพิ่มมาตรการดานการคลัง เพื่อชวยเพิ่มรายไดของ
ประชาชนและกระตุนธุรกิจในสาขาที่ไดรับผลกระทบ
                                      ๑.๒.๖ สร า งรายได แ ละศั ก ยภาพทางเศรษฐกิ จ ในระดั บ
ฐานราก โดยการจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียง และจัดสรรเงินเพิ่มเติมใหจากวงเงินที่เคย
จัดสรรใหเดิม เพื่อพัฒนาแหลงน้ําและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ลดตนทุน
ปจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเรงรัดและลดขั้นตอนของภาครัฐเพื่อใหทองถิ่นสามารถ
เบิกจายงบประมาณไดอยางรวดเร็ว
                                      ๑.๒.๗ ดํ า เนิ น มาตรการรั ก ษาเสถี ย รภาพราคาสิ น ค า
เกษตรผานกลไกและเครื่องมือของรัฐใหมีประสิทธิภาพ และเรงสรางระบบประกัน
ความเสี่ยงทางการเกษตร ทั้งระบบประกันความเสี่ยงราคาพืชผลผานกลไกตลาดซื้อขาย
ลวงหนาสินคาเกษตรและระบบประกันภัยพืชผลอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ




                                                       ๗
๑.๒.๘ เร ง รั ด และพั ฒ นาตลาดและระบบการกระจาย
สิ น ค า ของสิ น ค า เกษตรและสิ น ค า ชุ ม ชน เพื่ อ กระตุ น การบริ โ ภคภายในประเทศ และ
การสงออก
                                  ๑.๒.๙ จั ด ตั้ ง สภาเกษตรกรแห ง ชาติ เพื่ อ ให เ กษตรกร
มีสวนรวมในการเสนอนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตรอยางเปนระบบ และมีระบบการ
คุมครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกร รวมทั้งพัฒนาความเขมแข็งของเกษตรกร
ไดอยางยั่งยืน
                                  ๑.๒.๑๐ ส ง เสริม บทบาทอาสาสมั ครสาธารณสุ ขประจํ า
หมูบาน (อสม.) ทั่วประเทศใหปฏิบัติงานเชิงรุก ในการสงเสริมสุขภาพในทองถิ่นและ
ชุมชน การดูแลเด็ก ผูสูงอายุ คนพิการ การดูแลผูปวยในโรงพยาบาล และการเฝาระวังโรค
ในชุ ม ชน โดยจั ด ให มี ส วั ส ดิ ก ารค า ตอบแทนให แ ก อสม. เพื่ อ สร า งแรงจู ง ใจหนุ น เสริ ม
ใหปฏิบัติงานไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ
                            ๑.๓ การลดภาระคาครองชีพของประชาชน
                                   ๑.๓.๑ ให ทุ ก คนมี โ อกาสได รั บ การศึ ก ษาฟรี ๑๕ ป
โดยสนับสนุนตําราในวิชาหลักใหแกทุกโรงเรียน จัดใหมีชุดนักเรียนและอุปกรณการเรียนฟรี
ให ทั น ป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๒ และสนั บ สนุ น ค า ใช จ า ยอื่ น ๆ เพื่ อ ชดเชยรายการต า ง ๆ
ที่โรงเรียนเรียกเก็บจากผูปกครอง
                                   ๑.๓.๒ กํ า กั บ ดู แ ลราคาสิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภคและบริ ก าร
ที่มีความจําเปนตอการครองชีพ ใหมีราคาที่เปนธรรม สะทอนตนทุนอยางเหมาะสม และ
ไมเปนการเอาเปรียบผูบริโภค
                                   ๑.๓.๓ ดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชน
ในสวนของการเดินทาง กาซหุงตม และบริการดานสาธารณูปโภค โดยปรับปรุงมาตรการที่มี
อยู เ ดิ ม ให ส อดคล อ งกั บ สภาวะทางเศรษฐกิ จ และอยู บ นหลั ก การของการใช แ ละบริ โ ภค
อยางประหยัด
                                   ๑.๓.๔ ใชกองทุนน้ํามันในการรักษาเสถียรภาพของราคา
น้ํามันอยางมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนและ
การใชน้ํามันอยางประหยัด




                                                ๘
๑.๔ จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ และคณะกรรมการ
ร ว มภาครั ฐ และเอกชนเพื่ อ แก ไ ขป ญ หาทางเศรษฐกิ จ (กรอ.) เพื่ อ เร ง รั ด ติ ด ตาม
แกไขปญหา ลดขั้นตอนในการปฏิบัติ และกําหนดมาตรการและโครงการเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ
ในภาวะเรงดวน


ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ
              ในสวนของนโยบายที่จะดําเนินการภายในชวงระยะเวลา ๓ ปของรัฐบาลชุดนี้
รัฐบาลจะดําเนินนโยบายหลักในการบริหารประเทศซึ่งปรากฏตามนโยบายขอที่ ๒ ถึงขอที่ ๘
ดังตอไปนี้
              ๒.     นโยบายความมั่นคงของรัฐ
                     ๒.๑ ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่ นคง
ในการเปนศูนยรวมจิตใจและความรักสามัคคีของคนในชาติ โดยการเสริมสรางจิตสํานึก
ใหมีความจงรักภักดี เทิดทูน ปกปองสถาบันพระมหากษัตริย รวมทั้งปองกันอยางจริงจัง
มิใหมีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ
                          ๒.๒ เสริ ม สร า งและพั ฒ นาศั ก ยภาพการป อ งกั น ประเทศให มี
ความพรอมในการรักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดน รวมทั้งการคุมครอง
ผลประโยชน ข องชาติ โดยการเตรี ย มความพร อ มของกองทั พ การฝ ก กํ า ลั ง พลให เ กิ ด
ความชํานาญในการปฏิบัติภารกิจ และการจัดงบประมาณใหสอดคลองกับภารกิจของแตละ
เหลาทัพ ตลอดจนจัดใหมีแผนการสํารองอาวุธและพลังงานเพื่อความมั่นคง สนับสนุนและ
ส ง เสริ ม การวิ จั ย และการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน
เพื่อใหสามารถผลิตอาวุธยุทโธปกรณไดเอง ปรับสิทธิประโยชนกําลังพล เบี้ยเลี้ยง และ
คาเสบียงสนามของทหารหลักและทหารพราน รวมทั้งสวัสดิการของกําลังพลใหสอดคลอง
กับสภาวะเศรษฐกิจ พัฒนาความรวมมือทางการทหารกับประเทศเพื่อนบานและมิตรประเทศ
อื่น ๆ และสงเสริมบทบาทในการรักษาสันติภาพของโลกภายใตกรอบสหประชาชาติ




                                           ๙
๒.๓ เสริมสรางสันติภาพของการอยูรวมกันกับประเทศเพื่อนบาน
มุงเนนการแกไขปญหาความขัดแยงดวยการเจรจาโดยสันติวิธี ใหความสําคัญกับการสํารวจ
และการปก ปน เขตแดนกั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นอย างถูก ต อ งตามข อ ตกลงและสนธิ สั ญ ญา
ประสานงานและรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการปองกันและแกไขปญหาที่กระทบตอ
ความมั่ นคงในพื้น ที่ ชายแดน รวมทั้งเสริม สร างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ยสิน ของ
ประชาชนในบริเวณชายแดน
                    ๒.๔ แกไขปญหาผูหลบหนีเขาเมืองทั้งระบบไมใหมีผลกระทบตอ
ความมั่นคง โดยการปรับปรุงระบบการเขาเมือง การจัดระเบียบชายแดน และการจัดระเบียบ
แรงงานตางดาว รวมทั้งการแกไขปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ชัดเจน บนความสมดุล
ระหวางการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลกับการรักษาความมั่นคงของชาติ
                     ๒.๕ เสริมสรางศักยภาพในการจัดการกับปญหาภัยคุกคามขามชาติ
โดยใหความสําคัญแกการพัฒนาระบบและกลไกตาง ๆ ใหพรอมที่จะปองกันและแกไขปญหา
การกอการรายและอาชญากรรมขามชาติทุกรูปแบบ รวมทั้งพัฒนากฎหมาย และบังคับใช
กฎหมายที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาเครือขายความรวมมือกับนานาประเทศ
และสงเสริมการปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศภายใตกรอบสหประชาชาติ
               ๓.      นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
                      ๓.๑ นโยบายการศึกษา
                                ๓.๑.๑ ปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง ระบบ โดยปฏิ รู ป โครงสร า งและ
การบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ และระดมทรัพยากรเพื่อ
การปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา
พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเขาสูมหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตร
วิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิด
วิเคราะห ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเปนสํานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดใหมี
ศู น ย ก ารศึ ก ษาตลอดชี วิ ต เพื่ อ การเรี ย นรู ที่ เ หมาะสมในแต ล ะพื้ น ที่ ตลอดจนส ง เสริ ม
การกระจายอํ า นาจให ทุ ก ภาคส ว นมี ส ว นร ว มในการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ นํ า ไปสู เ ป า หมาย
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูที่มุงเนนคุณธรรมนําความรูอยางแทจริง




                                               ๑๐
๓.๑.๒ สงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาการศึกษา
ทั้งระบบ โดยมุงเนนในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อใหสนองตอบความตองการ
ดานบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ
                                      ๓.๑.๓ พัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให
ไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไมเกี่ยวกับ
การเรียนการสอนตามโครงการคืนครูใหนักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูดวยการปรับ
โครงสรางหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู ควบคูไปกับการลงทุนดานเทคโนโลยี
สารสนเทศที่เนนการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรใหพรอมรองรับและใชประโยชนจาก
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางคุมคา
                                      ๓.๑.๔ จัดใหทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาฟรี ๑๕ ป ตั้งแต
ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พรอมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
ให เ กิ ด ความเสมอภาคและความเป น ธรรมในโอกาสทางการศึ ก ษาแก ป ระชากรในกลุ ม
ผู ด อ ยโอกาสทั้ ง ผู ย ากไร ผู พิ ก ารหรื อ ทุ พ พลภาพ ผู อ ยู ใ นสภาวะยากลํา บาก ผู บ กพรอ ง
ทางรางกายและสติปญญา และชนตางวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนยเด็กเล็ก
ในชุมชน
                                      ๓.๑.๕ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษา
และอุ ด มศึ ก ษาไปสู ค วามเป น เลิ ศ โดยการจั ด กลุ ม สถาบั น การศึ ก ษาตามศั ก ยภาพ
ปรั บ เงิ นเดื อนค า ตอบแทนของผู สํ าเร็ จการศึ ก ษาระดั บ อาชี ว ศึ กษาให สู ง ขึ้ น โดยภาครั ฐ
เปนผูนํ าและเปน แบบอยางของการใช ทั ก ษะอาชีว ศึก ษาเปนเกณฑกํ าหนดค า ตอบแทน
และความก า วหน า ในงาน ควบคู กั บ การพั ฒ นาองค ค วามรู แ ละนวั ต กรรมด ว ยการ
เพิ่มขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา
                                      ๓.๑.๖ ปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ ห ารจั ด การกองทุ น ให กู ยื ม เพื่ อ
การศึกษา ใหมีการประนอมและไกลเกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา
เพิ่มขึ้นเพื่อใหประชาชนมีโอกาสในการเขาถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรี
เพิ่มขึ้น
                                      ๓.๑.๗ สงเสริมใหเด็ก เยาวชน และประชาชนใชประโยชนจาก
เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด เพื่อเสริมสรางการเรียนรู




                                                  ๑๑
๓.๑.๘ เร ง รั ด การลงทุ น ด า นการศึ ก ษาและการเรี ย นรู อ ย า ง
บูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใชพื้นที่และโรงเรียนเปนฐานในการบูรณาการ
ทุ ก มิ ติ และยึ ด เกณฑ ก ารประเมิ น ของสํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ
การศึกษาเปนหลักในการยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน และสงเสริม
ความเป น เลิ ศ ของมหาวิ ท ยาลั ย ไปสู ก ารเป น ศู น ย ก ลางทางการศึ ก ษาและวิ จั ย พั ฒ นา
ในภู มิ ภ าค รวมทั้ ง เสริ ม สร า งสั ง คมแห ง การเรี ย นรู อ ย า งต อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต ในชุ ม ชน
โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบันทางศาสนา
                        ๓.๒ นโยบายแรงงาน
                                  ๓.๒.๑ ดํ า เนิ น การให แ รงงานทั้ ง ในและนอกระบบได รั บ การ
คุมครองตามมาตรฐานแรงงานไทย โดยเฉพาะในดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพการจางงาน โดยการสงเสริมใหสถานประกอบการผานการทดสอบและรับรองตาม
มาตรฐานระบบการจัดการปฏิบัติตอแรงงานดานสิทธิและคุมครองใหเปนไปตามมาตรฐาน
แรงงานสากล
                                  ๓.๒.๒ ปฏิรูประบบประกันสังคมใหมีความเขมแข็งมั่นคง ใหมี
การบริ ห ารจั ด การที่ เ ปน อิ ส ระ โปร ง ใส และขยายความคุ ม ครองถึ ง บุ ต รและคู ส มรสของ
ผูประกันตนในเรื่องการเจ็บปวย รวมทั้งเพิ่มสิทธิประโยชนอื่น ๆ เพิ่มเติมใหแกผูประกันตน
                                  ๓.๒.๓ พัฒนาและฝกอบรมแรงงานทุก ระดับ ใหมี ความรูและ
ทักษะฝมือที่มีมาตรฐานสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และสอดคลองกับ
ความตองการของตลาดแรงงาน โดยการเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันและศูนยพัฒนา
ฝมือแรงงานที่มีอยูทั่วประเทศใหมีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการฝกอบรมฝมือแรงงานดวยการ
ระดมการมี ส ว นร ว มจากภาคเอกชนในลั ก ษณะโรงเรี ย นในโรงงาน และการบู ร ณาการ
กับสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาฝมือแรงงาน
                                  ๓.๒.๔ สงเสริ มให แรงงานไทยไปทํ างานตา งประเทศอย างมี
ศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการสนับสนุนดานสินเชื่อการไปทํางานในตางประเทศ
การฝกอบรมทักษะฝมื อและทักษะการใชภาษา การสรางหลักประกัน การคุมครองดูแล
การจัดสงแรงงานไปทํางานในตางประเทศ และการติดตามดูแลมิใหถูกเอารัดเอาเปรียบ
ระหวางการทํางานในตางประเทศ




                                                  ๑๒
๓.๒.๕ สนั บ สนุ น สวั ส ดิ ก ารด า นแรงงาน โดยจั ด ตั้ ง สถาบั น
ความปลอดภั ย ในการทํ า งาน จั ด ให มี ส ถานดู แ ลเด็ ก อ อ นในสถานประกอบการ และ
เพิ่มศักยภาพกองทุนเงินทดแทนในการดูแลลูกจางที่ประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน
รวมทั้งจัดระบบดูแลดานสวัสดิการแรงงานของกลุมแรงงานนอกระบบ และสงเสริมระบบ
แรงงานสัมพันธในระบบไตรภาคี เพื่อใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางลูกจาง นายจาง และ
ภาครัฐ
                             ๓.๒.๖ จัดระบบการจางงานแรงงานตางดาวใหสอดคลองกับ
ความต องการของภาคการผลิต ไมก ระทบต อ การจ างแรงงานไทย และความมั่น คงของ
ประเทศ โดยการจัดจําแนกประเภทงานที่อนุญาตใหแรงงานตางดาวทํา และการจัดระบบ
การนํ าเข า แรงงานตา งดาว การขจั ดป ญ หาแรงงานต า งดา วผิ ด กฎหมาย และการจั ดทํ า
ทะเบียนแรงงานตางดาวและระบบการตรวจสอบที่สะดวกตอการควบคุม
                             ๓.๒.๗ สงเสริมการมีงานทําของผูสูงอายุและคนพิการ โดยการ
กําหนดใหมีรูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมตามความสามารถของผูสูงอายุและคนพิการ
อาทิ การทํางานแบบบางเวลา การทํางานชั่วคราว การทํางานแบบสัญญาระยะสั้น รวมทั้ง
การขยายโอกาสการทํางานของผูสูงอายุที่มีความชํานาญเฉพาะดาน
                           ๓.๓ นโยบายดานสาธารณสุข
                               ๓.๓.๑ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย
สุขภาพแหงชาติ โดยเรงดําเนิ นมาตรการสรางเสริมสุขภาพและลดป จจัยเสี่ยงที่มี ผลตอ
สุขภาพและการเจ็บปวยเรื้อรัง โดยประสานความรวมมือและการมีสวนรวมจากภาคีพัฒนา
ในสาขาตาง ๆ ตลอดจนภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน และอาสาสมัคร
สาธารณสุ ข ร ว มสร า งความรู ความเข าใจ สร า งแรงจูง ใจ รณรงค ใหเกิ ด การพั ฒ นาและ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งสงเสริมบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ใหมีสวนรวมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข โดยจัดสรรทุนให
เพื่อกลับมาทํางานในทองถิ่น
                               ๓.๓.๒ สรางขีดความสามารถในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค
วิ นิ จ ฉั ย และดู แ ลรั ก ษาพยาบาลอย า งเป น ระบบ เชื่ อ มโยงกั บ ทุ ก ภาคส ว น ทุ ก สาขา
ที่เกี่ยวของ เพื่อปองกันปญหาการปวยและตายดวยโรคอุบัติใหมที่รวมถึงโรคที่มีการกลายพันธุ
เปนสายพันธุใหม และโรคระบาดซ้ําในคน อยางทันตอสถานการณ




                                             ๑๓
๓.๓.๓ ปรับปรุงระบบบริการดานสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา
ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพของภาครั ฐ ในทุ ก ระดั บ ให ไ ด ม าตรฐาน ยกระดั บ สถานี อ นามั ย เป น
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบล และพัฒนาระบบเครือขายการสงตอในทุกระดับใหมี
ประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใหระบบหลักประกันสุขภาพ
มี คุ ณ ภาพอย า งเพี ย งพอ ทั่ ว ถึ ง มี ท างเลื อ กหลากหลายรู ป แบบ และครอบคลุ ม ได ถึ ง
การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชนที่เขารวมโครงการ
                             ๓.๓.๔ ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย แ ละ
สาธารณสุ ข ควบคู กับ การสรางขวัญ กํ าลังใจใหมี ค วามกาวหน าในอาชีพ มีก ารปรั บ ปรุ ง
กฎระเบียบเพื่อใหมีรายไดจากเงินเดือนและคาตอบแทนอื่น ๆ ที่เหมาะสม เปนธรรม รวมทั้ง
ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบอาชีพดานการแพทย มีการกระจายบุคลากร
ทางการแพทยและสาธารณสุขอยางสอดคลองกับความตองการของพื้นที่ ตลอดจนการลงทุน
พัฒนาและเชื่อมโยงระบบขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพใหทันสมัย มีมาตรฐาน
สามารถใชประโยชนรวมกันไดอยางคุมคา
                             ๓.๓.๕ ผลั ก ดั น การขั บ เคลื่ อ นให ป ระเทศไทยเป น ศู น ย ก ลาง
ดานสุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมียุทธศาสตรการบริหารจัดการ
อยางมีสวนรวม มีการประสานความรวมมือกับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ มีการใชทรัพยากร
ทางการแพทยรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวของ
                          ๓.๔ นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
                                 ๓.๔.๑ ส ง เสริ ม การทํ า นุ บํ า รุ ง และรั ก ษาศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย
ทุกดาน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นและภูมิปญญาไทย ใหมีความกาวหนา มีการคนควา
วิ จั ย ฟ น ฟู และพั ฒ นา พร อ มทั้ ง ฟ น ฟู ต อ ยอดแหล ง เรี ย นรู ท างวั ฒ นธรรม เพื่ อ ส ง เสริ ม
การเรียนรูของประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน
                                 ๓.๔.๒ เสริ ม สร า งบทบาทของสถาบั น ครอบครั ว ร ว มกั บ
สถาบันทางศาสนา สถาบันการศึกษา และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ ในการปลูกฝงคานิยมและ
จิตสํานึกที่ดีและการเฝาระวังทางวัฒนธรรมที่มีผลกระทบตอการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของเด็ก
และเยาวชน รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อสรางสรรค สรางกระแสเชิงบวกใหแกสังคม และ
เปดพื้นที่สาธารณะที่ดีใหแกเด็กและเยาวชน




                                                    ๑๔
๓.๔.๓ สนั บ สนุ น การใช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น รวมทั้ ง ความ
หลากหลายของศิลปะและวัฒนธรรมไทยทั้งที่เปนวิถีชีวิต คานิยมที่ดีงาม และความเปนไทย
เพื่อการศึกษาเรียนรูและเผยแพรสูสังคมโลก ตลอดจนใชประโยชนเพื่อสรางความสัมพันธ
อันดีกับชาวโลกและเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหกับประเทศ
                                ๓.๔.๔ ส ง เสริ ม การปรั บ ปรุ ง องค ก รและกลไกที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ดานศาสนา เพื่อใหการบริหารจัดการ สงเสริม ทํานุบํารุงศาสนา มีความเปนเอกภาพและ
ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ส ง เสริ ม ความเข า ใจอั น ดี แ ละสมานฉั น ท ร ะหว า งศาสนิ ก ชนของ
ทุกศาสนา เพื่อนําหลักธรรมของศาสนามาใชในการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสราง
แรงจูงใจใหประชาชนใชหลักธรรมในการดํารงชีวิตมากขึ้น
                      ๓.๕ นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย
                              ๓.๕.๑ แก ไ ขป ญ หาความยากจน โดยการจั ด หาที่ ดิ น ทํ า กิ น
ใหแกผูมีรายไดนอย สงเสริมอาชีพและสรางรายได เชน การปลูกปา สรางความเขมแข็ง
ของกองทุนหมูบานและแหลงเงินทุนอื่น ๆ ในระดับชุมชน ใหมีกลไกที่โปรงใส มีประสิทธิภาพ
และใหชุมชนสามารถตัดสินใจและนําไปใชในการแกไขปญหาและพัฒนาชุมชนได
                              ๓.๕.๒ ปรับโครงสรางหนี้ภาคประชาชน เพื่อนําไปสูการลดหนี้
หรือยืดเวลาชําระหนี้ หรือลดอัตราดอกเบี้ย หรือพักชําระดอกเบี้ย
                              ๓.๕.๓ เร ง รั ด ปรั บ ปรุ ง แก ไ ขป ญ หาคุ ณ ภาพการอยู อ าศั ย
คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมชุมชน โดยเฉพาะชุมชนผูมีรายไดนอยใหดียิ่งขึ้น โดยปรับปรุง
คุณภาพและขยายการใหบริการสาธารณูปโภคใหทั่วถึง ปรับปรุงการบริหารจัดการองคกร
ภาครัฐดานการเคหะและการอยูอาศัยของผูมีรายไดนอยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน
ขององคกร รวมถึงพิจารณาจัดตั้งองคกรในลักษณะดังกลาวเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การดูแลคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมของชุมชนผูมีรายไดนอยใหดียิ่งขึ้น
                              ๓.๕.๔ สร า งความมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมในกลุ ม
ผูสูงอายุ โดยเนนบทบาทของสถาบันทางสังคม ชุมชน และเปนเครือขายในการคุมครอง
ทางสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูสูงอายุ รวมทั้งสงเสริมการนําศักยภาพผูสูงอายุ
มาใชในการพัฒนาประเทศ การถายทอดความรูภูมิปญญาสูสังคม สงเสริมการออม และสราง
ระบบประกันชราภาพ เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูวัยสูงอายุอยางมั่นคง




                                              ๑๕
๓.๕.๕ ใหความสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในทุกมิติ โดย
การรณรงค ส ร า งความรู ค วามเข า ใจ จั ด ตั้ ง องค ก รอิ ส ระผู บ ริ โ ภค บั ง คั บ ใช ม าตรการ
ทางกฎหมายที่ใหการคุมครองดูแลผูบริโภคโดยเครงครัด รวมทั้งการใชกลไกทางกฎหมาย
ในการปองกันการเอาเปรียบผูบริโภคในดานอื่น ๆ เชน การโฆษณาเกินเวลา การโฆษณาแฝง
หรือการใชสื่อเพื่อประโยชนสวนตน เปนตน
                               ๓.๕.๖ ส ง เสริ ม ความเสมอภาคระหว า งชายหญิ ง ขจั ด การ
กระทําความรุนแรง และการเลือกปฏิบัติตอเด็ก สตรี และผูพิการ ใหการคุมครองและสงเสริม
การจั ด สวั ส ดิ ก ารทางสั ง คมที่ เ หมาะสมแก ผู ย ากไร ผู พิ ก ารหรื อ ทุ พ พลภาพ และผู ที่ อ ยู
ในภาวะยากลําบาก ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พึ่งตนเองได
                               ๓.๕.๗ เร ง รั ด การแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด อย า งเป น ระบบ
ครบวงจร ทั้ ง ด า นการป อ งกั น การปราบปราม การบํ า บั ด รั ก ษา การฟ น ฟู ส มรรถภาพ
ผูติดยาเสพติด ควบคูกับการปรับปรุงกฎหมายใหสอดคลองกับสถานการณ และมีการบังคับใช
กฎหมายโดยเคร ง ครั ด รวมทั้ ง ขยายความร ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นและนานาชาติ
ในการแกไขปญหายาเสพติด
                               ๓.๕.๘ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการแก ไ ขป ญ หาความปลอดภั ย
ในชีวิตและทรัพยสิน โดยสงเสริมใหมีระบบติดตามและเฝาระวังปญหาอาชญากรรมที่ทันตอ
การเปลี่ยนแปลง โดยเนนการพัฒนาระบบขอมูล ขาวสาร การเตือนภัย และสรางเครือขาย
อาสาสมัครชุมชนในพื้นที่ตาง ๆ ในการปองกันปญหารวมกับเจาหนาที่ของรัฐ และปรับปรุง
ระบบชุมชนและมวลชนสัมพันธใหมีความเขมแข็ง เพื่อสรางความเขาใจและความรวมมือ
ระหวางเจาหนาที่ของรัฐกับประชาชน
                   ๓.๖ นโยบายการกีฬาและนันทนาการ
                           ๓.๖.๑ เสริ ม สร า งโอกาสให ป ระชาชนทุก กลุ ม ออกกํ าลั ง กาย
และเลนกีฬา โดยประสานความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจ
เอกชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีสวนรวมในการพัฒนากีฬา จัดหาสถานที่
จัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางทั่วถึง รวมทั้งสงเสริมใหเยาวชนมีความสนใจ
ในการกีฬาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน




                                                 ๑๖
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment
Concept Goverment

More Related Content

What's hot

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติplaplaruzzi
 
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ATP It Solutions
 
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...wasant kraisornsiwawet
 
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วย
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วยปฏิทินกิจกรรมของหน่วย
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วยwebmdu15
 
บาลี 40 80
บาลี 40 80บาลี 40 80
บาลี 40 80Rose Banioki
 
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตาก
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตากบันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตาก
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตากศพส อ.เมืองตาก
 

What's hot (9)

ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
NAC 2009 Agenda
NAC 2009 AgendaNAC 2009 Agenda
NAC 2009 Agenda
 
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
ทำเนียบพระธรรมวิทยากรผู้ทดลองปฏิบัติงาน
 
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
 
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วย
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วยปฏิทินกิจกรรมของหน่วย
ปฏิทินกิจกรรมของหน่วย
 
บาลี 40 80
บาลี 40 80บาลี 40 80
บาลี 40 80
 
V 297
V 297V 297
V 297
 
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตาก
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตากบันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตาก
บันทึกการประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมืองตาก
 

Viewers also liked (14)

Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Thesearch index-information54
Thesearch index-information54Thesearch index-information54
Thesearch index-information54
 
在職進修學習分享
在職進修學習分享在職進修學習分享
在職進修學習分享
 
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
แผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 [2]
 
buz-plan-53
buz-plan-53buz-plan-53
buz-plan-53
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
P 20101027-map60
P 20101027-map60P 20101027-map60
P 20101027-map60
 
V532
V532V532
V532
 
Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009Us Clean Energy Report 2009
Us Clean Energy Report 2009
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
Barbergals Info No.12
Barbergals Info No.12Barbergals Info No.12
Barbergals Info No.12
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 
gakveTilis prezentacia
gakveTilis prezentaciagakveTilis prezentacia
gakveTilis prezentacia
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
 

Similar to Concept Goverment

นโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐนโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐRobert Kim
 
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืนรัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืนChacrit Sitdhiwej
 
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาพระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาManoonpong Srivirat
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560Atiwit Siengkiw
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 waranyuati
 

Similar to Concept Goverment (11)

นโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐนโยบายของรัฐ
นโยบายของรัฐ
 
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
คำแถลงนโยบาย ของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา แถลงต่อสภานิติบัญญัติแห...
 
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์ นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
นโยบายรัฐบาลยิ่งลักษณ์
 
๠นวบ ลย-+Cà¹-หม_ม
๠นวบ ลย-+Cà¹-หม_ม๠นวบ ลย-+Cà¹-หม_ม
๠นวบ ลย-+Cà¹-หม_ม
 
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืนรัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
รัฐกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชาพระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
พระมหากษัตริยนักพัฒนา เพื่อประโยชนสุขสูปวงประชา
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
มติคณะรัฐมนตรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2560
มติคณะรัฐมนตรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2560มติคณะรัฐมนตรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2560
มติคณะรัฐมนตรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2560
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
 

More from Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯMinistry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (13)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
V531
V531V531
V531
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
Policy Drkalaya
Policy DrkalayaPolicy Drkalaya
Policy Drkalaya
 

Concept Goverment

  • 1. คําแถลงนโยบาย ของ คณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี แถลงตอรัฐสภา วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑
  • 2.
  • 3. สารบัญ หนา ประกาศแตงตั้งนายกรัฐมนตรี ก ประกาศแตงตั้งรัฐมนตรี ข คําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ๑ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี แถลงตอรัฐสภา วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑ ๑. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก ๕ ๒. นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๙ ๓. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวต ิ ๑๐ ๔. นโยบายเศรษฐกิจ ๑๗ ๕. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๒๘ ๖. นโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ๒๙ ๗. นโยบายการตางประเทศและเศรษฐกิจระหวางประเทศ ๓๐ ๘. นโยบายการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ๓๑ ภาคผนวก ๓๗ ตารางแสดงความสอดคลองระหวางนโยบายในการบริหารราชการแผนดิน ของคณะรัฐมนตรีกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในหมวด ๕ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ๓
  • 4.
  • 5. ประกาศ แตงตั้งนายกรัฐมนตรี ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา ดวยความเปนรัฐมนตรีของ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี ไดสิ้นสุดลง เฉพาะตัวตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๑๘๒ วรรคหนึ่ง (๕) และประธานสภาผูแทนราษฎรไดนําความกราบบังคมทูลพระกรุณาวา สภาผูแทนราษฎร ไดลงมติเมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ เห็นชอบดวยในการแตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ดวยคะแนนเสียงมากกวากึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยู ของสภาผูแทนราษฎร จึงทรงพระราชดําริวา นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนผูที่สมควรไววางพระราชหฤทัย ใหดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรีบริหารราชการ แผนดิน ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน ผูรับสนองพระบรมราชโองการ นายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผูแทนราษฎร ก
  • 6. ประกาศ แตงตั้งรัฐมนตรี ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา ตามที่ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี ตามประกาศลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ แลว นั้น บัดนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเลือกสรรผูที่สมควรดํารง ตําแหนงรัฐมนตรีเพื่อบริหารราชการแผนดินสืบไปแลว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๗๑ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งรัฐมนตรี ดังตอไปนี้ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เปน รองนายกรัฐมนตรี นายกอรปศักดิ์ สภาวสุ เปน รองนายกรัฐมนตรี พลตรี สนั่น ขจรประศาสน เปน รองนายกรัฐมนตรี นายสาทิตย วงศหนองเตย เปน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายวีระชัย วีระเมธีกุล เปน รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม นายกรณ จาติกวณิช เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ข
  • 7. นายประดิษฐ ภัทรประสิทธิ์ เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง นายพฤฒิชัย ดํารงรัตน เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง นายกษิต ภิรมย เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ นายชุมพล ศิลปอาชา เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา นายวิฑูรย นามบุตร เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการพัฒนาสังคม และความมันคงของมนุษย ่ นายธีระ วงศสมุทร เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตร และสหกรณ นายชาติชาย พุคยาภรณ เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตร และสหกรณ นายโสภณ ซารัมย เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม นายประจักษ แกลวกลาหาญ เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม นายเกื้อกูล ดานชัยวิจิตร เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม นายสุวิทย คุณกิตติ เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รอยตรีหญิง ระนองรักษ สุวรรณฉวี เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร นายวรรณรัตน ชาญนุกล ู เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน นางพรทิวา นาคาศัย เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย นายอลงกรณ พลบุตร เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงพาณิชย นายชวรัตน ชาญวีรกูล เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค
  • 8. นายบุญจง วงศไตรรัตน เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย  นายถาวร เสนเนียม เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย  นายพีระพันธุ สาลีรัฐวิภาค เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม นายไพฑูรย แกวทอง เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน นายธีระ สลักเพชร เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวัฒนธรรม คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี นายจุรินทร ลักษณวิศิษฏ เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ นายชัยวุฒิ บรรณวัฒน เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ  นางสาวนริศรา ชวาลตันพิพัทธ เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ  นายวิทยา แกวภราดัย เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข นายมานิต นพอมรบดี เปน รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงสาธารณสุข นายชาญชัย ชัยรุงเรือง เปน รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนปที่ ๖๓ ในรัชกาลปจจุบัน ผูรับสนองพระบรมราชโองการ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ง
  • 9. คําแถลงนโยบาย ของ คณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี แถลงตอรัฐสภา วันจันทรที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๑ _____________________ ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ ตามที่ ไ ด ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล า ฯ แต ง ตั้ ง ให ก ระผมเป น นายกรั ฐ มนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ และแตงตั้ง คณะรัฐมนตรีตามประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ นั้น บัดนี้ คณะรัฐมนตรีไดกําหนดนโยบายการบริหารราชการแผนดินเรียบรอยแลว โดยยึ ด มั่ น ในการปกครองระบอบประชาธิ ป ไตยในระบบรั ฐ สภาอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย ทรงเปนประมุข และครอบคลุมถึงแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตามบทบัญญัติในหมวด ๕ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย คณะรั ฐ มนตรี จึ ง ขอแถลงนโยบายดั ง กล า ว ตอที่ประชุมรวมกันของรัฐสภาเพื่อใหทราบถึงแนวทางการบริหารราชการแผนดินที่รัฐบาล จะดําเนินการเพื่อนําสังคมไทยกลับคืนสูความสมัครสมานสามัคคี เอื้ออาทร และคนไทย มี ค วามสุ ข ถ ว นหน า พร อ มทั้ ง นํ า ประเทศไทยให ผ า นพ น วิ ก ฤตเศรษฐกิ จ ครั้ ง สํ า คั ญ เพื่อใหสามารถพัฒนาตอไปไดอยางมั่นคงและยั่งยืน ๑
  • 10. ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ รั ฐ บาลนี้ เ ข า บริ ห ารประเทศในช ว งที่ สั ง คมไทยมี ค วามขั ด แย ง และมี ค วาม แตกแยก เนื่ อ งจากมี ค วามเห็ น ที่ แ ตกต า งกั น ในเรื่ อ งการเมื อ งและการบริ ห ารประเทศ ความขัดแยงดังกลาวระหวางกลุมประชาชนไดทวีความรุนแรงขึ้น จนสงผลใหการบริหาร บ า นเมื อ งในช ว งที่ ผ า นมาขาดความก า วหน า ในการพั ฒ นาประเทศในเรื่ อ งต า ง ๆ ที่ มี ความสําคัญเรงดวน และมีผลกระทบตอความอยูดีมีสุขของประชาชน ความขัดแยงดังกลาว เปนจุดออนของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงปจจุบันที่เศรษฐกิจโลกไดเขาสูภาวะ วิกฤตที่มีความรุนแรงมากที่สุดในรอบศตวรรษ วิกฤตเศรษฐกิจโลกครั้งนี้เริ่มตนจากวิกฤตการณสถาบันการเงินในประเทศ สหรัฐอเมริกาเมื่อเดือนกันยายนที่ผานมา ซึ่งไดสงผลเชื่อมโยงถึงระบบการเงินของประเทศ ตาง ๆ ในโลก ถึงแมวาเหตุการณนี้จะไมไดมีผลตอสถาบันการเงินของประเทศไทยโดยตรง แตก็มีผลกระทบใหเกิดการเคลื่อนยายเงินทุนของตางชาติออกจากประเทศในชวงดังกลาว และสงผลใหดัชนีตลาดหลักทรัพยเขาสูจุดต่ําสุดในรอบ ๕ ปเมื่อเดือนตุลาคม ความเสียหายตอระบบการเงินอยางรุนแรงไดสงผลใหเศรษฐกิจของประเทศ พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และอีกหลายประเทศในยุโรป เขาสูภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย และขณะนี้หลายอุตสาหกรรมใหญในประเทศพัฒนาแลว เชน อุตสาหกรรมรถยนต การบิน และอิเล็กทรอนิกส เปนตน กําลังประสบปญหาทางการเงินถึงขั้นที่อาจจะลมละลาย และไดมีการปลดคนงานออกแลวเปนจํานวนหลายลานคน เศรษฐกิจไทยเริ่มไดรับผลกระทบ จากการชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกเร็ ว กว า ที่ ห ลายฝ า ยคาดการณ ไ ว ดั ง จะเห็ น ได จ าก มู ล ค า การส ง ออกในเดื อ นพฤศจิ ก ายนในรู ป เงิ น ดอลลาร ส หรั ฐ ลดลงร อ ยละ ๑๘.๖ และ ปริมาณการสงออกลดลงรอยละ ๒๒.๖ จํานวนนักทองเที่ยวในเดือนกันยายนลดลงรอยละ ๑๖.๕ เทียบกับเดือนเดียวกันในปที่ผานมา ยอดมูลคาการสงเสริมการลงทุนในชวง ๑๑ เดือน ลดลงประมาณรอยละ ๔๐ และภาคการกอสรางอยูในภาวะหดตัว รวมถึงประมาณการรายได ของรัฐบาลในรูปภาษีและรายไดอื่น ๆ ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ มีแนวโนมจะปรับลดลง จากประมาณการเดิมประมาณรอยละ ๑๐ ๒
  • 11. ในป ๒๕๕๒ เศรษฐกิจโลกโดยรวมมีแนวโนมจะขยายตัวไดเพียงเล็กนอย ดั ง นั้ น ประเทศไทยจะเผชิ ญ กั บ การชะลอตั ว ของการส ง ออก การลดลงของจํ า นวน นักทองเที่ยวตางชาติ การลดลงของราคาสินคาเกษตร และการชะลอการลงทุนของภาคเอกชน ดั ง นั้ น แนวโน ม จํ า นวนคนว า งงานจะเพิ่ ม ขึ้ น จาก ๕ แสนคนในป จ จุ บั น เป น ๑ ล า นคน อันจะสงผลใหความยากจน ปญหาสังคมและอาชญากรรมเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นความขัดแยง ทางการเมืองซึ่งขยายไปสูความขัดแยงในภาคประชาชนในชวงที่ผานมา ซึ่งหากไมไดรับ การแกไขและฟนฟูความมั่นใจใหแกนักลงทุนและนักทองเที่ยวจากทั่วโลกใหกลับคืนมา อยางรวดเร็ว จะทําใหเศรษฐกิจและภาคการทองเที่ยวของประเทศเขาสูภาวะถดถอย นอกจากปญหาสําคัญเรงดวนดังกลาวแลว รัฐบาลจะใหความสําคัญแกปญหา พื้นฐานระยะยาวของประเทศไทยซึ่งเปนสิ่งที่จะละเลยมิได ในปจจุบันคนไทยยังมีการศึกษา โดยเฉลี่ยประมาณ ๙ ป นอยกวาประเทศในแถบเอเชียซึ่งมีการศึกษาเฉลี่ยประมาณ ๑๐ ถึง ๑๒ ป คุณภาพของการศึกษายังมีปญหาสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของนักเรียน ต่ํากวามาตรฐานในวิชาสําคัญ เชน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร และวิทยาศาสตร คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แตก็มีปญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น ผูสูงอายุสวนใหญปวยเปนโรคความดัน โลหิตสูง เบาหวาน และหัวใจ ซึ่งโรคเหลานี้รักษาใหหายไดยากและมีคาใชจายในการรักษาสูง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และยาเสพติดยังคงเปนปญหาสําคัญของสังคมไทย รวมทั้ ง ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ มทั้ ง ในเมื อ งและชนบท ยังคงทวีความรุนแรงขึ้น สงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพชีวิตของคนไทยและความสามารถ ในการแขงขันของประเทศ ดังนั้นรัฐบาลจะดําเนินนโยบายในดานตาง ๆ ควบคูกันไปกับการแกไขปญหา เร ง ด ว น เพื่ อ ให มี ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น เช น การเตรี ย มการสํ า หรั บ สั ง คมผู สู ง อายุ การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศและภาวะโลกรอน ความมั่นคงของอาหารและพลังงานของ ประเทศ การสร า งเศรษฐกิ จ ฐานความรู แ ละการสร า งสรรค การแก ไ ขความยากจนและ ลดความเหลื่อมล้ําของรายได การพัฒนาธรรมาภิบาล การพัฒนาพื้นที่และกระจายอํานาจ สู ท อ งถิ่ น การสร า งบทบาทของประเทศไทยในเวที โ ลก การเชื่ อ มโยงทางเศรษฐกิ จ กั บ ประเทศในภูมิภาค และการรวมมือในการพัฒนาอยางสันติกับประเทศเพื่อนบาน เปนตน ๓
  • 12. ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ รัฐบาลถือเปนภารกิจที่สําคัญอยางยิ่ง ที่จะตองนําประเทศไทยใหรอดพนจาก วิกฤตเศรษฐกิจโลกที่กําลังเกิดขึ้นและพัฒนาไปสูการเจริญเติบโตอยางยั่งยืน แกไขวิกฤต ทางสังคมที่มีความแตกแยกและพัฒนาใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ยุติวิกฤตทางการเมือง และปฏิรูปการเมืองใหมีความมั่นคงตามแนวทางระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข ในการนี้รัฐบาลจะดําเนินการใหบรรลุภารกิจดังกลาวภายใตแนวทางพื้นฐาน หลัก ๔ ประการ คือ หนึ่ง ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่นคงในการเปน ศู น ย ร วมจิ ต ใจและความรั ก สามั ค คี ข องคนในชาติ และเทิ ด ทู น สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ไวเหนือความขัดแยงทุกรูปแบบ พรอมทั้งดําเนินการทุกวิถีทางอยางจริงจังเพื่อปองกันมิให มีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ สอง สรางความปรองดองสมานฉันท บนพื้นฐานของความถูกตอง ยุติธรรม และการยอมรับของทุกภาคสวน สาม ฟน ฟูเศรษฐกิจ ให ขยายตัว อยางยั่ง ยืน และบรรเทาผลกระทบของ ภาวะเศรษฐกิจที่ประชาชนจะประสบ สี่ พัฒนาประชาธิปไตยและระบบการเมือง ใหมีความมั่นคง มีการปฏิบัติ ตามกฎหมาย และบังคับใชกฎหมายอยางเสมอภาค เปนธรรม และเปนที่ยอมรับของสากล ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ รัฐบาลจะบริหารราชการแผนดินโดยนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ เ น น การใช คุ ณ ธรรมนํ า ความรู และจะปฏิ บั ติ ต ามบทบั ญ ญั ติ ข องรั ฐ ธรรมนู ญ แหงราชอาณาจักรไทยอยางเครงครัด โดยแบงการดําเนินการเปน ๒ ระยะ คือ ระยะเรงดวน ที่จะเริ่มดําเนินการและมีกําหนดเวลาแลวเสร็จในปแรกอยางชัดเจน และระยะการบริหารราชการ ๓ ปของรัฐบาลซึ่งมีกําหนดเริ่มตนตั้งแตปแรกเปนตนไป ดังตอไปนี้ ๔
  • 13. ๑. นโยบายเรงดวนที่จะเริ่มดําเนินการในปแรก ๑.๑ การสรางความเชื่อมั่นและกระตุนเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นแกภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค ๑.๑.๑ เสริมสรางความสมานฉันทและความสามัคคีของ คนในชาติใหเกิดขึ้นโดยเร็ว โดยใชแนวทางสันติ รับฟงความเห็นจากทุกฝาย และหลีกเลี่ยง การใชความรุนแรงในการแกไขปญหาความขัดแยงในชาติในทุกกรณี รวมทั้งฟนฟูระเบียบ สัง คมและบัง คับ ใชก ฎหมายอย างเท าเที ยมและเปนธรรมแก ทุ ก ฝาย ตลอดจนสนับ สนุน องคกรตามรัฐธรรมนูญใหมีสวนรวมในการสรางความสมานฉันท ภายใตกรอบของบทบาท อํานาจและหนาที่ขององคกร ๑.๑.๒ จัดใหมีสํานักงานบริหารราชการจังหวัดชายแดน ภาคใต เ ป น องค ก รถาวร เพื่ อ ทํ า หน า ที่ แ ก ไ ขป ญ หาและพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายแดนภาคใต โดยยึดมั่นหลักการสรางความสมานฉันทและแนวทาง “เขาใจ เขาถึง พัฒนา” ใชกระบวนการ ยุติธรรมกับผูกระทําผิดอยางเครงครัดและเปนธรรม กําหนดจังหวัดชายแดนภาคใตเปนเขต พัฒนาพิเศษที่มีการสนับสนุนแหลงเงินกูดอกเบี้ยต่ํา สิทธิพิเศษดานภาษี และอุตสาหกรรม ฮาลาล รวมทั้งสนับสนุนใหเปนเขตพัฒนาพิเศษที่มีความยืดหยุนและหลากหลายทางศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๑.๓ ปฏิรูปการเมือง โดยจัดตั้งคณะกรรมการเพื่อ ศึก ษา แนวทางการดํ า เนิ น การปฏิ รู ป โดยการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน เพื่ อ วางระบบ การบริ ห ารประเทศให มี เ สถี ย รภาพและประสิ ท ธิ ภ าพ ในแนวทางการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ สังคมไทย รวมทั้งสามารถสนองตอบตอการพัฒนาประเทศอย างยั่ง ยื น และเป นไปตาม ความตองการของประชาชนอยางแทจริง ๑.๑.๔ เรงสร างความเชื่อมั่นของประเทศไทยในสายตา ของชาวโลก โดยใหความสําคัญตอกรอบความรวมมืออาเซียนเปนลําดับแรก และรวมมือ กับรัฐสภาในการพิจารณาอนุมัติเอกสารที่เกี่ยวของที่ประเทศไทยในฐานะสมาชิกประชาคม อาเซี ย นจะต อ งลงนามในช ว งของการประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า อาเซี ย นให แ ล ว เสร็ จ ภายใน เดือนมกราคม ๒๕๕๒ และเตรียมความพรอมเปนเจาภาพจัดการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน ครั้งที่ ๑๔ ในเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๒ ในฐานะที่ประเทศไทยเปนประธานอาเซียน ๕
  • 14. ๑.๑.๕ ฟ น ฟู เ ศรษฐกิ จ ที่ กํ า ลั ง ประสบป ญ หาเป น การ เรงดวน โดยจัดทําเปนแผนฟนฟูเศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตรและเกษตรกร ภาคอุ ต สาหกรรม ภาคบริก ารและการท อ งเที่ย ว ภาคการส ง ออก ภาคอสั ง หาริ ม ทรั พ ย การสรางงานและสรางรายไดในชนบท การพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติและฟนฟูทรัพยากร ให แ ล ว เสร็ จ ภายในเดื อ นมกราคม ๒๕๕๒ พร อ มทั้ ง จั ด ทํ า งบประมาณรายจ า ยเพิ่ ม เติ ม ประจํ า ป ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยมี วั ต ถุป ระสงคเ พื่ อ นํ า เม็ ด เงิ น ของรั ฐ เขา สู ร ะบบ เศรษฐกิจและเพื่อใหสามารถบรรเทาภาวะความเดือดรอนของประชาชนและภาคธุรกิจได ๑.๑.๖ เรงสรางความเชื่อมั่นใหแกนักทองเที่ยวตางชาติ และเรงรัดมาตรการกระตุนการทองเที่ยว โดยการดําเนินการรวมกันระหวางภาครัฐและ เอกชนในการประชาสัมพันธดึงดูดนักทองเที่ยวตางชาติ สงเสริมการทองเที่ยวของคนไทย ในประเทศ และปรับแผนงบประมาณของสวนราชการที่ไดรับงบประมาณรายจายประจําป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ อยู แลว เพื่ อ ใช ในการจั ดการฝกอบรมและสั ม มนาใหก ระจาย ทั่ ว ประเทศ รวมทั้ ง ลดหย อ นค า ธรรมเนี ย มและค า บริ ก ารที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การท อ งเที่ ย ว เพื่อดึงดูดใหมีการเดินทางทองเที่ยวเพิ่มขึ้น ๑.๑.๗ เรงลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยใหความสําคัญ แกโครงการลงทุนที่มีความคุมคามากที่สุด เพื่อเสริมสรางบรรยากาศการลงทุน ยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยเฉพาะ การลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ การลงทุนเพื่อปรับโครงสรางระบบบริการ สุขภาพที่มุงสู การป องกันและส งเสริ มสุ ขภาพ การลงทุน พัฒนาระบบขนสงมวลชน และ การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําและการชลประทาน ใหสามารถเริ่มดําเนินโครงการได ในป ๒๕๕๒ โดยให ค วามสํ า คั ญ แก ก ารมี ส ว นร ว มของประชาชน การรัก ษาสิ่ ง แวดล อ ม การดําเนินงานอยางโปรงใส ตรวจสอบได และการรักษาวินัยการคลังของประเทศ รวมทั้ง เรงรัดการเบิกจายงบลงทุนของสวนราชการและรัฐวิสาหกิจ ๑.๒ การรักษาและเพิ่มรายไดของประชาชน ๑.๒.๑ ร ว มมื อ กั บ ภาคเอกชนในการดํ า เนิ น มาตรการ ชะลอการเลิกจางและปองกันการขยายตัวของการเลิกจางในภาคอุตสาหกรรมและ บริ ก าร ทั้ ง อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดย อ ม โดยใช ม าตรการจู ง ใจ เพื่อลดภาระของภาคเอกชนในการชะลอการเลิกจางงาน ๖
  • 15. ๑.๒.๒ ดํ า เนิ น มาตรการเร ง ด ว นเฉพาะหน า เพื่ อ รองรั บ ปญหาแรงงานวางงานจากภาคอุตสาหกรรมและนักศึกษาจบใหม โดยจัดโครงการฝกอบรม แรงงานที่วางงานประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คน ในระยะเวลา ๑ ป ตามกลุมความถนัดและศักยภาพ และรองรั บ แรงงานกลั บ สู ภู มิ ลํ า เนา เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการแข ง ขั น และสร า งมู ล ค า ทางเศรษฐกิจใหแกวิสาหกิจและธุรกิจชุมชน ๑.๒.๓ เรงรัดดําเนินการชวยเหลือบรรเทาความเดือดรอน ของผูถูกเลิกจางและผูวางงานอันเนื่องมาจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยการดูแลใหไดรับ สิท ธิ ป ระโยชน ที่พึ ง จะได ต ามกฎหมายโดยเร็ ว การหางานใหม การส ง เสริ ม อาชี พ อิ ส ระ การสรางงาน และการเพิ่มพูนทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนอาชีพ รวมทั้งการจัดสวัสดิการที่จําเปน เช น การเพิ่ ม วงเงิ น ให ก องทุ น สงเคราะห ลู ก จ า งเพื่ อ ช ว ยเหลื อ ลู ก จ า งที่ ถู ก เลิ ก จ า ง และ การดําเนินโครงการสานฝนแรงงานคืนถิ่น ซึ่งรวมถึงการสรางงานและจัดที่ทํากิน ตลอดจน การเขาถึงแหลงทุนสําหรับแรงงานนอกภาคเกษตรที่ถูกเลิกจางใหคืนสูภาคเกษตร ๑.๒.๔ สรางหลักประกันดานรายไดแกผูสูงอายุที่มีรายได ไมเพียงพอแกการยังชีพ หรือไมสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได โดยจัดสรรเบี้ยยังชีพ แก ผู สู ง อายุ ที่ มี อ ายุ ๖๐ ป ขึ้ น ไปที่ แ สดงความจํ า นงโดยการขอขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ ขอรั บ การสงเคราะห รวมทั้งขยายเพดานใหกูยืมจากกองทุนผูสูงอายุเปน ๓๐,๐๐๐ บาทตอราย ๑.๒.๕ เพิ่มมาตรการดานการคลัง เพื่อชวยเพิ่มรายไดของ ประชาชนและกระตุนธุรกิจในสาขาที่ไดรับผลกระทบ ๑.๒.๖ สร า งรายได แ ละศั ก ยภาพทางเศรษฐกิ จ ในระดั บ ฐานราก โดยการจัดตั้งกองทุนเศรษฐกิจพอเพียง และจัดสรรเงินเพิ่มเติมใหจากวงเงินที่เคย จัดสรรใหเดิม เพื่อพัฒนาแหลงน้ําและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติระดับชุมชน ลดตนทุน ปจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเรงรัดและลดขั้นตอนของภาครัฐเพื่อใหทองถิ่นสามารถ เบิกจายงบประมาณไดอยางรวดเร็ว ๑.๒.๗ ดํ า เนิ น มาตรการรั ก ษาเสถี ย รภาพราคาสิ น ค า เกษตรผานกลไกและเครื่องมือของรัฐใหมีประสิทธิภาพ และเรงสรางระบบประกัน ความเสี่ยงทางการเกษตร ทั้งระบบประกันความเสี่ยงราคาพืชผลผานกลไกตลาดซื้อขาย ลวงหนาสินคาเกษตรและระบบประกันภัยพืชผลอันเนื่องมาจากภัยธรรมชาติ ๗
  • 16. ๑.๒.๘ เร ง รั ด และพั ฒ นาตลาดและระบบการกระจาย สิ น ค า ของสิ น ค า เกษตรและสิ น ค า ชุ ม ชน เพื่ อ กระตุ น การบริ โ ภคภายในประเทศ และ การสงออก ๑.๒.๙ จั ด ตั้ ง สภาเกษตรกรแห ง ชาติ เพื่ อ ให เ กษตรกร มีสวนรวมในการเสนอนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตรอยางเปนระบบ และมีระบบการ คุมครองและรักษาผลประโยชนของเกษตรกร รวมทั้งพัฒนาความเขมแข็งของเกษตรกร ไดอยางยั่งยืน ๑.๒.๑๐ ส ง เสริม บทบาทอาสาสมั ครสาธารณสุ ขประจํ า หมูบาน (อสม.) ทั่วประเทศใหปฏิบัติงานเชิงรุก ในการสงเสริมสุขภาพในทองถิ่นและ ชุมชน การดูแลเด็ก ผูสูงอายุ คนพิการ การดูแลผูปวยในโรงพยาบาล และการเฝาระวังโรค ในชุ ม ชน โดยจั ด ให มี ส วั ส ดิ ก ารค า ตอบแทนให แ ก อสม. เพื่ อ สร า งแรงจู ง ใจหนุ น เสริ ม ใหปฏิบัติงานไดอยางคลองตัวและมีประสิทธิภาพ ๑.๓ การลดภาระคาครองชีพของประชาชน ๑.๓.๑ ให ทุ ก คนมี โ อกาสได รั บ การศึ ก ษาฟรี ๑๕ ป โดยสนับสนุนตําราในวิชาหลักใหแกทุกโรงเรียน จัดใหมีชุดนักเรียนและอุปกรณการเรียนฟรี ให ทั น ป ก ารศึ ก ษา ๒๕๕๒ และสนั บ สนุ น ค า ใช จ า ยอื่ น ๆ เพื่ อ ชดเชยรายการต า ง ๆ ที่โรงเรียนเรียกเก็บจากผูปกครอง ๑.๓.๒ กํ า กั บ ดู แ ลราคาสิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภคและบริ ก าร ที่มีความจําเปนตอการครองชีพ ใหมีราคาที่เปนธรรม สะทอนตนทุนอยางเหมาะสม และ ไมเปนการเอาเปรียบผูบริโภค ๑.๓.๓ ดําเนินมาตรการลดภาระคาครองชีพของประชาชน ในสวนของการเดินทาง กาซหุงตม และบริการดานสาธารณูปโภค โดยปรับปรุงมาตรการที่มี อยู เ ดิ ม ให ส อดคล อ งกั บ สภาวะทางเศรษฐกิ จ และอยู บ นหลั ก การของการใช แ ละบริ โ ภค อยางประหยัด ๑.๓.๔ ใชกองทุนน้ํามันในการรักษาเสถียรภาพของราคา น้ํามันอยางมีประสิทธิภาพ และเปนประโยชนตอการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนและ การใชน้ํามันอยางประหยัด ๘
  • 17. ๑.๔ จัดตั้งคณะกรรมการรัฐมนตรีเศรษฐกิจ และคณะกรรมการ ร ว มภาครั ฐ และเอกชนเพื่ อ แก ไ ขป ญ หาทางเศรษฐกิ จ (กรอ.) เพื่ อ เร ง รั ด ติ ด ตาม แกไขปญหา ลดขั้นตอนในการปฏิบัติ และกําหนดมาตรการและโครงการเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจ ในภาวะเรงดวน ทานประธานรัฐสภาที่เคารพ ในสวนของนโยบายที่จะดําเนินการภายในชวงระยะเวลา ๓ ปของรัฐบาลชุดนี้ รัฐบาลจะดําเนินนโยบายหลักในการบริหารประเทศซึ่งปรากฏตามนโยบายขอที่ ๒ ถึงขอที่ ๘ ดังตอไปนี้ ๒. นโยบายความมั่นคงของรัฐ ๒.๑ ปกปองและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยใหมีความมั่ นคง ในการเปนศูนยรวมจิตใจและความรักสามัคคีของคนในชาติ โดยการเสริมสรางจิตสํานึก ใหมีความจงรักภักดี เทิดทูน ปกปองสถาบันพระมหากษัตริย รวมทั้งปองกันอยางจริงจัง มิใหมีการลวงละเมิดพระบรมเดชานุภาพ ๒.๒ เสริ ม สร า งและพั ฒ นาศั ก ยภาพการป อ งกั น ประเทศให มี ความพรอมในการรักษาเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดน รวมทั้งการคุมครอง ผลประโยชน ข องชาติ โดยการเตรี ย มความพร อ มของกองทั พ การฝ ก กํ า ลั ง พลให เ กิ ด ความชํานาญในการปฏิบัติภารกิจ และการจัดงบประมาณใหสอดคลองกับภารกิจของแตละ เหลาทัพ ตลอดจนจัดใหมีแผนการสํารองอาวุธและพลังงานเพื่อความมั่นคง สนับสนุนและ ส ง เสริ ม การวิ จั ย และการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมป อ งกั น ประเทศทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน เพื่อใหสามารถผลิตอาวุธยุทโธปกรณไดเอง ปรับสิทธิประโยชนกําลังพล เบี้ยเลี้ยง และ คาเสบียงสนามของทหารหลักและทหารพราน รวมทั้งสวัสดิการของกําลังพลใหสอดคลอง กับสภาวะเศรษฐกิจ พัฒนาความรวมมือทางการทหารกับประเทศเพื่อนบานและมิตรประเทศ อื่น ๆ และสงเสริมบทบาทในการรักษาสันติภาพของโลกภายใตกรอบสหประชาชาติ ๙
  • 18. ๒.๓ เสริมสรางสันติภาพของการอยูรวมกันกับประเทศเพื่อนบาน มุงเนนการแกไขปญหาความขัดแยงดวยการเจรจาโดยสันติวิธี ใหความสําคัญกับการสํารวจ และการปก ปน เขตแดนกั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นอย างถูก ต อ งตามข อ ตกลงและสนธิ สั ญ ญา ประสานงานและรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในการปองกันและแกไขปญหาที่กระทบตอ ความมั่ นคงในพื้น ที่ ชายแดน รวมทั้งเสริม สร างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพ ยสิน ของ ประชาชนในบริเวณชายแดน ๒.๔ แกไขปญหาผูหลบหนีเขาเมืองทั้งระบบไมใหมีผลกระทบตอ ความมั่นคง โดยการปรับปรุงระบบการเขาเมือง การจัดระเบียบชายแดน และการจัดระเบียบ แรงงานตางดาว รวมทั้งการแกไขปญหาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ชัดเจน บนความสมดุล ระหวางการดูแลสิทธิขั้นพื้นฐานของบุคคลกับการรักษาความมั่นคงของชาติ ๒.๕ เสริมสรางศักยภาพในการจัดการกับปญหาภัยคุกคามขามชาติ โดยใหความสําคัญแกการพัฒนาระบบและกลไกตาง ๆ ใหพรอมที่จะปองกันและแกไขปญหา การกอการรายและอาชญากรรมขามชาติทุกรูปแบบ รวมทั้งพัฒนากฎหมาย และบังคับใช กฎหมายที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนพัฒนาเครือขายความรวมมือกับนานาประเทศ และสงเสริมการปฏิบัติตามพันธกรณีระหวางประเทศภายใตกรอบสหประชาชาติ ๓. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ๓.๑ นโยบายการศึกษา ๓.๑.๑ ปฏิ รู ป การศึ ก ษาทั้ ง ระบบ โดยปฏิ รู ป โครงสร า งและ การบริหารจัดการ ปรับปรุงกฎหมายใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญ และระดมทรัพยากรเพื่อ การปรับปรุงการบริหารจัดการศึกษาตั้งแตระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา พัฒนาครู พัฒนาระบบการคัดเลือกเขาสูมหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตร รวมทั้งปรับหลักสูตร วิชาแกนหลักรวมถึงวิชาประวัติศาสตร ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน พัฒนาทักษะในการคิด วิเคราะห ปรับบทบาทการศึกษานอกโรงเรียนเปนสํานักงานการศึกษาตลอดชีวิต และจัดใหมี ศู น ย ก ารศึ ก ษาตลอดชี วิ ต เพื่ อ การเรี ย นรู ที่ เ หมาะสมในแต ล ะพื้ น ที่ ตลอดจนส ง เสริ ม การกระจายอํ า นาจให ทุ ก ภาคส ว นมี ส ว นร ว มในการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ นํ า ไปสู เ ป า หมาย คุณภาพการศึกษาและการเรียนรูที่มุงเนนคุณธรรมนําความรูอยางแทจริง ๑๐
  • 19. ๓.๑.๒ สงเสริมใหภาคเอกชนมีสวนรวมในการพัฒนาการศึกษา ทั้งระบบ โดยมุงเนนในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อใหสนองตอบความตองการ ดานบุคลากรของภาคเศรษฐกิจ ๓.๑.๓ พัฒนาครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให ไดครูดี ครูเกง มีคุณธรรม มีคุณภาพ และมีวิทยฐานะสูงขึ้น ลดภาระงานครูที่ไมเกี่ยวกับ การเรียนการสอนตามโครงการคืนครูใหนักเรียน มีการดูแลคุณภาพชีวิตของครูดวยการปรับ โครงสรางหนี้และจัดตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู ควบคูไปกับการลงทุนดานเทคโนโลยี สารสนเทศที่เนนการพัฒนาเนื้อหาสาระและบุคลากรใหพรอมรองรับและใชประโยชนจาก ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางคุมคา ๓.๑.๔ จัดใหทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาฟรี ๑๕ ป ตั้งแต ระดับอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย พรอมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ให เ กิ ด ความเสมอภาคและความเป น ธรรมในโอกาสทางการศึ ก ษาแก ป ระชากรในกลุ ม ผู ด อ ยโอกาสทั้ ง ผู ย ากไร ผู พิ ก ารหรื อ ทุ พ พลภาพ ผู อ ยู ใ นสภาวะยากลํา บาก ผู บ กพรอ ง ทางรางกายและสติปญญา และชนตางวัฒนธรรม รวมทั้งยกระดับการพัฒนาศูนยเด็กเล็ก ในชุมชน ๓.๑.๕ ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับอาชีวศึกษา และอุ ด มศึ ก ษาไปสู ค วามเป น เลิ ศ โดยการจั ด กลุ ม สถาบั น การศึ ก ษาตามศั ก ยภาพ ปรั บ เงิ นเดื อนค า ตอบแทนของผู สํ าเร็ จการศึ ก ษาระดั บ อาชี ว ศึ กษาให สู ง ขึ้ น โดยภาครั ฐ เปนผูนํ าและเปน แบบอยางของการใช ทั ก ษะอาชีว ศึก ษาเปนเกณฑกํ าหนดค า ตอบแทน และความก า วหน า ในงาน ควบคู กั บ การพั ฒ นาองค ค วามรู แ ละนวั ต กรรมด ว ยการ เพิ่มขีดความสามารถดานการวิจัยและพัฒนา ๓.๑.๖ ปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ ห ารจั ด การกองทุ น ให กู ยื ม เพื่ อ การศึกษา ใหมีการประนอมและไกลเกลี่ยหนี้ รวมทั้งขยายกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา เพิ่มขึ้นเพื่อใหประชาชนมีโอกาสในการเขาถึงการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและปริญญาตรี เพิ่มขึ้น ๓.๑.๗ สงเสริมใหเด็ก เยาวชน และประชาชนใชประโยชนจาก เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสรางสรรคอยางชาญฉลาด เพื่อเสริมสรางการเรียนรู ๑๑
  • 20. ๓.๑.๘ เร ง รั ด การลงทุ น ด า นการศึ ก ษาและการเรี ย นรู อ ย า ง บูรณาการในทุกระดับการศึกษาและในชุมชน โดยใชพื้นที่และโรงเรียนเปนฐานในการบูรณาการ ทุ ก มิ ติ และยึ ด เกณฑ ก ารประเมิ น ของสํ า นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพ การศึกษาเปนหลักในการยกระดับคุณภาพโรงเรียนที่ต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน และสงเสริม ความเป น เลิ ศ ของมหาวิ ท ยาลั ย ไปสู ก ารเป น ศู น ย ก ลางทางการศึ ก ษาและวิ จั ย พั ฒ นา ในภู มิ ภ าค รวมทั้ ง เสริ ม สร า งสั ง คมแห ง การเรี ย นรู อ ย า งต อ เนื่ อ งตลอดชี วิ ต ในชุ ม ชน โดยเชื่อมโยงบทบาทสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา และสถาบันทางศาสนา ๓.๒ นโยบายแรงงาน ๓.๒.๑ ดํ า เนิ น การให แ รงงานทั้ ง ในและนอกระบบได รั บ การ คุมครองตามมาตรฐานแรงงานไทย โดยเฉพาะในดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพการจางงาน โดยการสงเสริมใหสถานประกอบการผานการทดสอบและรับรองตาม มาตรฐานระบบการจัดการปฏิบัติตอแรงงานดานสิทธิและคุมครองใหเปนไปตามมาตรฐาน แรงงานสากล ๓.๒.๒ ปฏิรูประบบประกันสังคมใหมีความเขมแข็งมั่นคง ใหมี การบริ ห ารจั ด การที่ เ ปน อิ ส ระ โปร ง ใส และขยายความคุ ม ครองถึ ง บุ ต รและคู ส มรสของ ผูประกันตนในเรื่องการเจ็บปวย รวมทั้งเพิ่มสิทธิประโยชนอื่น ๆ เพิ่มเติมใหแกผูประกันตน ๓.๒.๓ พัฒนาและฝกอบรมแรงงานทุก ระดับ ใหมี ความรูและ ทักษะฝมือที่มีมาตรฐานสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน โดยการเพิ่มขีดความสามารถของสถาบันและศูนยพัฒนา ฝมือแรงงานที่มีอยูทั่วประเทศใหมีศักยภาพเพิ่มขึ้นในการฝกอบรมฝมือแรงงานดวยการ ระดมการมี ส ว นร ว มจากภาคเอกชนในลั ก ษณะโรงเรี ย นในโรงงาน และการบู ร ณาการ กับสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาฝมือแรงงาน ๓.๒.๔ สงเสริ มให แรงงานไทยไปทํ างานตา งประเทศอย างมี ศักดิ์ศรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการสนับสนุนดานสินเชื่อการไปทํางานในตางประเทศ การฝกอบรมทักษะฝมื อและทักษะการใชภาษา การสรางหลักประกัน การคุมครองดูแล การจัดสงแรงงานไปทํางานในตางประเทศ และการติดตามดูแลมิใหถูกเอารัดเอาเปรียบ ระหวางการทํางานในตางประเทศ ๑๒
  • 21. ๓.๒.๕ สนั บ สนุ น สวั ส ดิ ก ารด า นแรงงาน โดยจั ด ตั้ ง สถาบั น ความปลอดภั ย ในการทํ า งาน จั ด ให มี ส ถานดู แ ลเด็ ก อ อ นในสถานประกอบการ และ เพิ่มศักยภาพกองทุนเงินทดแทนในการดูแลลูกจางที่ประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน รวมทั้งจัดระบบดูแลดานสวัสดิการแรงงานของกลุมแรงงานนอกระบบ และสงเสริมระบบ แรงงานสัมพันธในระบบไตรภาคี เพื่อใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางลูกจาง นายจาง และ ภาครัฐ ๓.๒.๖ จัดระบบการจางงานแรงงานตางดาวใหสอดคลองกับ ความต องการของภาคการผลิต ไมก ระทบต อ การจ างแรงงานไทย และความมั่น คงของ ประเทศ โดยการจัดจําแนกประเภทงานที่อนุญาตใหแรงงานตางดาวทํา และการจัดระบบ การนํ าเข า แรงงานตา งดาว การขจั ดป ญ หาแรงงานต า งดา วผิ ด กฎหมาย และการจั ดทํ า ทะเบียนแรงงานตางดาวและระบบการตรวจสอบที่สะดวกตอการควบคุม ๓.๒.๗ สงเสริมการมีงานทําของผูสูงอายุและคนพิการ โดยการ กําหนดใหมีรูปแบบที่หลากหลาย เหมาะสมตามความสามารถของผูสูงอายุและคนพิการ อาทิ การทํางานแบบบางเวลา การทํางานชั่วคราว การทํางานแบบสัญญาระยะสั้น รวมทั้ง การขยายโอกาสการทํางานของผูสูงอายุที่มีความชํานาญเฉพาะดาน ๓.๓ นโยบายดานสาธารณสุข ๓.๓.๑ สนั บ สนุ น การดํ า เนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย สุขภาพแหงชาติ โดยเรงดําเนิ นมาตรการสรางเสริมสุขภาพและลดป จจัยเสี่ยงที่มี ผลตอ สุขภาพและการเจ็บปวยเรื้อรัง โดยประสานความรวมมือและการมีสวนรวมจากภาคีพัฒนา ในสาขาตาง ๆ ตลอดจนภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ชุมชน และอาสาสมัคร สาธารณสุ ข ร ว มสร า งความรู ความเข าใจ สร า งแรงจูง ใจ รณรงค ใหเกิ ด การพั ฒ นาและ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งสงเสริมบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหมีสวนรวมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข โดยจัดสรรทุนให เพื่อกลับมาทํางานในทองถิ่น ๓.๓.๒ สรางขีดความสามารถในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรค วิ นิ จ ฉั ย และดู แ ลรั ก ษาพยาบาลอย า งเป น ระบบ เชื่ อ มโยงกั บ ทุ ก ภาคส ว น ทุ ก สาขา ที่เกี่ยวของ เพื่อปองกันปญหาการปวยและตายดวยโรคอุบัติใหมที่รวมถึงโรคที่มีการกลายพันธุ เปนสายพันธุใหม และโรคระบาดซ้ําในคน อยางทันตอสถานการณ ๑๓
  • 22. ๓.๓.๓ ปรับปรุงระบบบริการดานสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพของภาครั ฐ ในทุ ก ระดั บ ให ไ ด ม าตรฐาน ยกระดั บ สถานี อ นามั ย เป น โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจําตําบล และพัฒนาระบบเครือขายการสงตอในทุกระดับใหมี ประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใหระบบหลักประกันสุขภาพ มี คุ ณ ภาพอย า งเพี ย งพอ ทั่ ว ถึ ง มี ท างเลื อ กหลากหลายรู ป แบบ และครอบคลุ ม ได ถึ ง การรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชนที่เขารวมโครงการ ๓.๓.๔ ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย แ ละ สาธารณสุ ข ควบคู กับ การสรางขวัญ กํ าลังใจใหมี ค วามกาวหน าในอาชีพ มีก ารปรั บ ปรุ ง กฎระเบียบเพื่อใหมีรายไดจากเงินเดือนและคาตอบแทนอื่น ๆ ที่เหมาะสม เปนธรรม รวมทั้ง ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบอาชีพดานการแพทย มีการกระจายบุคลากร ทางการแพทยและสาธารณสุขอยางสอดคลองกับความตองการของพื้นที่ ตลอดจนการลงทุน พัฒนาและเชื่อมโยงระบบขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพใหทันสมัย มีมาตรฐาน สามารถใชประโยชนรวมกันไดอยางคุมคา ๓.๓.๕ ผลั ก ดั น การขั บ เคลื่ อ นให ป ระเทศไทยเป น ศู น ย ก ลาง ดานสุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมียุทธศาสตรการบริหารจัดการ อยางมีสวนรวม มีการประสานความรวมมือกับทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ มีการใชทรัพยากร ทางการแพทยรวมกันระหวางภาครัฐและเอกชน รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวของ ๓.๔ นโยบายศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ๓.๔.๑ ส ง เสริ ม การทํ า นุ บํ า รุ ง และรั ก ษาศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ทุกดาน รวมทั้งศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นและภูมิปญญาไทย ใหมีความกาวหนา มีการคนควา วิ จั ย ฟ น ฟู และพั ฒ นา พร อ มทั้ ง ฟ น ฟู ต อ ยอดแหล ง เรี ย นรู ท างวั ฒ นธรรม เพื่ อ ส ง เสริ ม การเรียนรูของประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ๓.๔.๒ เสริ ม สร า งบทบาทของสถาบั น ครอบครั ว ร ว มกั บ สถาบันทางศาสนา สถาบันการศึกษา และสถาบันทางสังคมอื่น ๆ ในการปลูกฝงคานิยมและ จิตสํานึกที่ดีและการเฝาระวังทางวัฒนธรรมที่มีผลกระทบตอการเบี่ยงเบนพฤติกรรมของเด็ก และเยาวชน รวมทั้งสนับสนุนการผลิตสื่อสรางสรรค สรางกระแสเชิงบวกใหแกสังคม และ เปดพื้นที่สาธารณะที่ดีใหแกเด็กและเยาวชน ๑๔
  • 23. ๓.๔.๓ สนั บ สนุ น การใช ภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น รวมทั้ ง ความ หลากหลายของศิลปะและวัฒนธรรมไทยทั้งที่เปนวิถีชีวิต คานิยมที่ดีงาม และความเปนไทย เพื่อการศึกษาเรียนรูและเผยแพรสูสังคมโลก ตลอดจนใชประโยชนเพื่อสรางความสัมพันธ อันดีกับชาวโลกและเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหกับประเทศ ๓.๔.๔ ส ง เสริ ม การปรั บ ปรุ ง องค ก รและกลไกที่ รั บ ผิ ด ชอบ ดานศาสนา เพื่อใหการบริหารจัดการ สงเสริม ทํานุบํารุงศาสนา มีความเปนเอกภาพและ ประสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง ส ง เสริ ม ความเข า ใจอั น ดี แ ละสมานฉั น ท ร ะหว า งศาสนิ ก ชนของ ทุกศาสนา เพื่อนําหลักธรรมของศาสนามาใชในการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสราง แรงจูงใจใหประชาชนใชหลักธรรมในการดํารงชีวิตมากขึ้น ๓.๕ นโยบายสวัสดิการสังคม และความมั่นคงของมนุษย ๓.๕.๑ แก ไ ขป ญ หาความยากจน โดยการจั ด หาที่ ดิ น ทํ า กิ น ใหแกผูมีรายไดนอย สงเสริมอาชีพและสรางรายได เชน การปลูกปา สรางความเขมแข็ง ของกองทุนหมูบานและแหลงเงินทุนอื่น ๆ ในระดับชุมชน ใหมีกลไกที่โปรงใส มีประสิทธิภาพ และใหชุมชนสามารถตัดสินใจและนําไปใชในการแกไขปญหาและพัฒนาชุมชนได ๓.๕.๒ ปรับโครงสรางหนี้ภาคประชาชน เพื่อนําไปสูการลดหนี้ หรือยืดเวลาชําระหนี้ หรือลดอัตราดอกเบี้ย หรือพักชําระดอกเบี้ย ๓.๕.๓ เร ง รั ด ปรั บ ปรุ ง แก ไ ขป ญ หาคุ ณ ภาพการอยู อ าศั ย คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอมชุมชน โดยเฉพาะชุมชนผูมีรายไดนอยใหดียิ่งขึ้น โดยปรับปรุง คุณภาพและขยายการใหบริการสาธารณูปโภคใหทั่วถึง ปรับปรุงการบริหารจัดการองคกร ภาครัฐดานการเคหะและการอยูอาศัยของผูมีรายไดนอยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ขององคกร รวมถึงพิจารณาจัดตั้งองคกรในลักษณะดังกลาวเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมของชุมชนผูมีรายไดนอยใหดียิ่งขึ้น ๓.๕.๔ สร า งความมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมในกลุ ม ผูสูงอายุ โดยเนนบทบาทของสถาบันทางสังคม ชุมชน และเปนเครือขายในการคุมครอง ทางสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมสําหรับผูสูงอายุ รวมทั้งสงเสริมการนําศักยภาพผูสูงอายุ มาใชในการพัฒนาประเทศ การถายทอดความรูภูมิปญญาสูสังคม สงเสริมการออม และสราง ระบบประกันชราภาพ เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูวัยสูงอายุอยางมั่นคง ๑๕
  • 24. ๓.๕.๕ ใหความสําคัญในการคุมครองผูบริโภคในทุกมิติ โดย การรณรงค ส ร า งความรู ค วามเข า ใจ จั ด ตั้ ง องค ก รอิ ส ระผู บ ริ โ ภค บั ง คั บ ใช ม าตรการ ทางกฎหมายที่ใหการคุมครองดูแลผูบริโภคโดยเครงครัด รวมทั้งการใชกลไกทางกฎหมาย ในการปองกันการเอาเปรียบผูบริโภคในดานอื่น ๆ เชน การโฆษณาเกินเวลา การโฆษณาแฝง หรือการใชสื่อเพื่อประโยชนสวนตน เปนตน ๓.๕.๖ ส ง เสริ ม ความเสมอภาคระหว า งชายหญิ ง ขจั ด การ กระทําความรุนแรง และการเลือกปฏิบัติตอเด็ก สตรี และผูพิการ ใหการคุมครองและสงเสริม การจั ด สวั ส ดิ ก ารทางสั ง คมที่ เ หมาะสมแก ผู ย ากไร ผู พิ ก ารหรื อ ทุ พ พลภาพ และผู ที่ อ ยู ในภาวะยากลําบาก ใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พึ่งตนเองได ๓.๕.๗ เร ง รั ด การแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด อย า งเป น ระบบ ครบวงจร ทั้ ง ด า นการป อ งกั น การปราบปราม การบํ า บั ด รั ก ษา การฟ น ฟู ส มรรถภาพ ผูติดยาเสพติด ควบคูกับการปรับปรุงกฎหมายใหสอดคลองกับสถานการณ และมีการบังคับใช กฎหมายโดยเคร ง ครั ด รวมทั้ ง ขยายความร ว มมื อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นและนานาชาติ ในการแกไขปญหายาเสพติด ๓.๕.๘ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการแก ไ ขป ญ หาความปลอดภั ย ในชีวิตและทรัพยสิน โดยสงเสริมใหมีระบบติดตามและเฝาระวังปญหาอาชญากรรมที่ทันตอ การเปลี่ยนแปลง โดยเนนการพัฒนาระบบขอมูล ขาวสาร การเตือนภัย และสรางเครือขาย อาสาสมัครชุมชนในพื้นที่ตาง ๆ ในการปองกันปญหารวมกับเจาหนาที่ของรัฐ และปรับปรุง ระบบชุมชนและมวลชนสัมพันธใหมีความเขมแข็ง เพื่อสรางความเขาใจและความรวมมือ ระหวางเจาหนาที่ของรัฐกับประชาชน ๓.๖ นโยบายการกีฬาและนันทนาการ ๓.๖.๑ เสริ ม สร า งโอกาสให ป ระชาชนทุก กลุ ม ออกกํ าลั ง กาย และเลนกีฬา โดยประสานความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคธุรกิจ เอกชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีสวนรวมในการพัฒนากีฬา จัดหาสถานที่ จัดกิจกรรมการออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางทั่วถึง รวมทั้งสงเสริมใหเยาวชนมีความสนใจ ในการกีฬาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน ๑๖