SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
พิธีมอบรางโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน
วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 - 16.00 น.
ณ ศูนย์การประชุมและนิทรรศการไบเทค บางนา กรุงเทพฯ


ท่านเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน
ท่านที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
                        ่
ท่านปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านผู้อานวยการสถาบันวิจยดาราศาสตร์แห่งชาติ
                           ั
ท่านผู้บริหารของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านผู้มีเกียรติ น้องๆ เยาวชน และสื่อมวลชนทุกท่าน


          ก่อนอื่น ผมขอขอบคุณท่านเอกอัครราชทูตแห่งสาธาราณรัฐประชาชนจีน
เป็นอย่างสูง ที่กรุณาให้เกียรติมาเข้าร่วมเป็นสักขีพยาน ในพิธีมอบรางวัลให้แก่
ผู้ชนะเลิศการประกวดโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ “ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน”
และร่วมแสดงความยินดีกับผู้ชนะการประกวดทุกท่านในวันนี้

             การจัดโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน ในครั้งนี้
นั บ เป็ น การจั ด การประกวดขึ้ น เป็ น
ค รั้ ง แ ร ก เ พื่ อ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น
กิจกรรมเฉลิมฉลองโอกาสครบรอบ
35 ปี แห่ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
ราชอาณาจั ก รไทยกั บ สาธารณรั ฐ
ประชาชนจี น โดยอาศั ย กิ จ กรรม


                                              ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย   107
ความร่ ว มมื อ ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการส่ ง เสริ ม และกระชั บ
ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ และสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนของ
ทั้งสองประเทศให้มีความแน่นแฟ้นและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยผู้ที่ชนะเลิศการ
ประกวดจะได้เดินทางไปทัศนศึกษา ณ เมืองลี่เจียง เพื่อเรียนรู้วัฒนธรรม เยี่ยมชม
เมืองมรดกโลกอันงดงาม และศึกษาความก้าวหน้าของวิท ยาการทางด้านดารา
ศาสตร์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่หอดูดาวเกาเหมยกู่ ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้าง
องค์ ค วามรู้ ประสบการณ์แ ละได้ มี โ อกาสถ่ า ยทอดความรู้ ประสบการณ์ และ
เรื่องราวที่ได้รับรู้และพบเห็นมายังเด็กและเยาวชนไทยต่อไป

        นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังจะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยได้มีโอกาส
สัมผัสองค์ความรู้ทางดาราศาสตร์ในระดับนานาชาติ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับ
เยาวชนไทย ในการนํ า องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากการทั ศ นศึ ก ษาที่ ส าธารณรั ฐ
ประชาชนจีน มาถ่ายทอดและส่งต่อให้แก่เยาวชนไทยทั้งประเทศ เพื่อสร้างความ
ตระหนั ก ทางด้ า นการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ และการพั ฒ นากํ า ลั ง คนทางด้ า น
ดาราศาสตร์ของประเทศให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศในระดับเวทีโลกต่อไป
ได้ในอนาคต จึงนับว่าเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในระยะยาว

                                                        ผมขอแสดงความยิ น ดี และ
                                              ขอชื่นชมในความสามารถและความ
                                              ตั้ ง ใจของเยาวชนผู้ ที่ ไ ด้ รั บ การ
                                              คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ยุ ว ทู ต ดาราศาสตร์
                                              ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน และผู้ชนะ
                                              การประกวดที่สามารถก้าวเข้ามาถึง


108     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
รอบชิงชนะเลิศทุกคน และขอเป็นกําลังใจให้น้องๆ ที่ได้รับรางวัลทุกคนจะมีความ
มุ่งมั่นและตั้งใจศึกษา ค้ นคว้า หาความรู้และประสบการณ์ทางด้านดาราศาสตร์
และวิทยาการแขนงต่างๆ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์และเป็นที่น่าภูมิใจ
ของตนเอง ครอบครัว และสังคมต่อไป ในอนาคต

         สุ ด ท้ า ย นี้ ผ ม ต้ อ ง
ขอขอบคุณสถาบันวิจัยดารา
ศาสตร์ แ ห่ ง ชาติ สมาคม
ศู น ย์ ข่ า ว เ ย า ว ช น ไ ท ย
คณะกรรมการตั ด สิ น การ
ประกวดโครงการ และผู้ มี
ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทุ ก ๆ ฝ่ า ย
ที่ได้มีส่วนช่วยผลักดันให้เกิดโครงการที่ดีและสร้างสรรค์เช่นนี้ ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่ง
เวทีที่จะช่วยส่งเสริม สนับสนุน เยาวชนให้มีโอกาสแสดงความสามารถตามความ
สนใจอย่างเหมาะสม และยังมีส่วนช่วยให้เยาวชนหันมาตื่นตั วและให้ความสนใจ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีส่วนทําให้สังคมไทยก้าวไปสู่สังคม
แห่งการเรียนรู้ และนําเศรษฐกิจไทยก้าวไปอีกระดับอย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งยังจะมี
ส่วนในการผลักดันให้เยาวชนไทยได้มีการพัฒนาและเติบโตอย่างเหมาะสม และ
นําความรู้ความสามารถมาพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปได้อย่างยั่งยืน

       ขอบคุณครับ

                                              เรียบเรียงโดย : เฉลียว แสนดี


                                                ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย    109
Public Seminar : The Futures of Low-Carbon Society :
An Asia-Pacific Vision Beyond 2050
27 August 2010
Opening Remarks by
H.E. Dr. Virachai Virameteekul
Minister of Science and Technology


• Dr. Pichet Durongkaveroj,
• Distinguished Guests,
• Ladies and Gentlemen,

        It is both an honour and a pleasure for me to be here at this
important international gathering. I am here to talk about what the Ministry
of Science and Technology is doing or not doing on the issue of climate
change.




110    ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
Climate change poses a real threat to us and our future hangs in
the balance. As powerful storm becomes even more powerful, severe
flooding becomes even more severe; truth is, we are facing potential
disasters threatening us more and more. This is not fiction. This is fact.
This is real science.

          Before it is too late, international co-operation, with strong will and
full determination, is needed to tackle the global issue of climate change.
So far – from Bali to Copenhagen, and recently in Bonn – the past two
years have witnessed some progress in certain areas, while in some other
areas, less progress have been made.
          This is simply unacceptable. There is so much more work to be
done if we are to come up with a mechanism to implement this common
goal towards a “low-carbon” society. And there is also so much more
progress to be made if we are to save this planet for our future generation.

         Ladies and gentlemen,
         Thailand shares the vision with other ASEAN countries in driving
the ASEAN community resilient to climate change. We have incorporated
the agenda of climate change into the national development and planning
process since 2007. These plans aim to move our economy towards a low
carbon economy by restructuring the production sector towards being low
carbon/ promoting green transportation and logistics/ remodeling the
agricultural sector to promote sustainable and organic agriculture/



                                                ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย    111
increasing the share of alternative energy, particularly renewable energy
and perhaps most importantly : changing the pattern of public consumption
towards more environmental-friendly products.

        In accordance with the national development plan, the Ministry of
Science and Technology is committed to moving Thailand towards a low-
carbon society. We are now conducting and providing supports for many
R&D projects and activities to mitigate and adapt to the impact of climate
change. They can be grouped into three main areas.

        The first area is related to the preparation for the impact of climate
change and adaptation strategies, especially for the agricultural sector.
This area of work covers a wide range of R&D projects.

                                          For example, the National
                                  Science and Technology Development
                                  Agency or NSTDA has been working on
                                  crop improvements by making our crop
                                  becoming more resilient to stresses that
                                  have tendency to increase due to climate
change, such as drought and flooding, and improve crops to become more
resistant to insects and diseases that come naturally with climate change.
Technically speaking this is done by using DNA marker-assisted breeding
in combination with conventional breeding technology. R&D in crop
improvements needs greenhouse environment, so does the cultivation of


112     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
some crop plants to give them suitable environment for optimal growth.
Therefore, NSTDA has conducted R&D on greenhouse materials,
greenhouse design for tropical plants, and environmental control system for
greenhouses.

         Another good example is the work done by the Hydro and Agro
Informatics Institute or HAII. This Institute has developed a forecasting
model for flood and drought risk analysis for 25 basins in Thailand based
on irrigation infrastructure and rainfall. In addition, through the use
telemetry technology, the Institute has also developed a flood warning
system which can be used anywhere in Thailand.

        Ladies and gentlemen,
        The second area is concerned with mathematical modeling of
climate change. This work involves the development of climate change
models that use remote sensing data such as sea surface temperature,
and geographical information. These data are provided by the satellite of
the Geo-Informatics and Space Technology Development Agency or
GISTDA and fed into the model developed by the Climate Change
Knowledge Management Center or CCKM within our ministry.

         Results from these models are very important in developing
adaptation strategies. For example, it can be used to identify “Hot Spot”
areas that are vulnerable due to high risk from climate change impact or



                                            ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย   113
having low coping capacity, or both. Identifying these areas is becoming
increasingly important because they need proper management of resources
and a certain level of investment. In the future, the models can also be
used for the planning of potential reduction of greenhouse gas emissions.

         Again, HAII is currently involved in a research on wind map, and
together with the capability to trace the circulation of water in the region
using isotope hydrology research by the Thailand Institute of Nuclear
Technology or TINT, and the satellite data from GISTDA, we can make an
even more reliable prediction model of the whole system of rainfall, wind,
and temperature.

         Apart from this, we are incorporating the use of satellite imaging to
directly monitor actual change in coastal erosion and the identification of
proper areas of plantation.

         Now we come to the third area. This involves the development of
Life Cycle Assessment or LCA database, in which the Ministry of Science
and Technology, particularly NSTDA, is playing the leading role. As we all
know, LCA database can be used for many applications such as calculating
carbon footprint of a product or an organization. The LCA database also
provides a basis for further development of Life Cycle Inventory (LCI)
system or emission inventory (EI) system. The ultimate goal of this area of
work is to develop cross-cutting body of knowledge and information that are
essential for setting national target for greenhouse gases emission.


114     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
But ladies and gentlemen,
          The Ministry of Science and Technology does not limit itself only
to these in-house activities. For I am a strong believer of collaboration and
alliance, I deem it of vital importance that we reach out to other agencies to
address this very issue. In this light, we also provide R&D groundwork and
support information to the National Climate Change Committee for the
development of the National Strategy for Climate Change for 2008 – 2012.
Equally substantial is our undertaking of R&D programs to acquire a better
understanding of the impact of climate change, including the development
and collection of important indicators for policy planning and management,
as well as adaptation, development and transfer of relevant technology.

         As far as relevant technology
is concerned, the National Science
Technology and Innovation Policy
Office (STI) has been cooperating with
the Office of National Resources and
Environmental Policy and Planning
(ONEP) to establish a project on Technology Needs Assessment (TNA) for
Thailand. Assessing technology needs is the first step in making a practical
action plan in the context of the United Nations Framework Convention on
Climate Change process. In the end, we aim to have a national roadmap
for technology development and technology transfer using international
mechanisms such as Clean Technology Fund, among many others.



                                              ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย   115
The ultimate goal is to accomplish Thailand’s technology
development priorities for climate change adaptation and mitigation in a
sustainable manner.

           Ladies and Gentlemen,
           Despite all these R&D programs within our ministry, there are still
many new areas to be explored and to expand on. In fact, with reference to
the report of the foresight work, capacity building at the very local level is
emphasized. This is why I have asked relevant agencies in our ministry to
seriously work closer with local leaders who are in fact our perfect and best
resource to reach out to the communities and their people. They are the
ones who will help make a difference… make a change. We should not
overlook their enormous potential in fostering innovation and adopting
appropriate technologies in order to enable the grass roots to be climate-
resilient.

         To this end, the government must facilitate the design of
technology roadmaps at the national level to allocate resources with the
focus to induce private investment accordingly, and work with local
industries and local governments to make sure that such innovation takes
place and reaches local users in the right place at the right time. The
Ministry of Science and Technology has many examples in working with
the locals such as the community water resource management by HAII,
community biodiesel by NSTDA, community zero-waste rice mill by Office



116     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
of Technology Promotion and Transfer, and the Bioplastic Initiative by
National Innovation Agency.

         I would like to specifically emphasize the work of NSTDA on
Industrial Technology Assistance Program or ITAP that has been very
successful in helping, by way of matching grants, small and medium
enterprises throughout the country to conserve energy in the local factory
production process. These are some examples that have been launched
and implemented along this strategic direction, in the spirit of Public-Private
Partnership, or PPP.




                                               ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย   117
Ladies and Gentlemen,
         We should not, however, let the effort of combating climate
change hinder the attainment of the effort to fight poverty and enhance
quality of life. The choice is not between climate change and Millennium
Development Goals. We are not asking any country whether or not they
want to grow their economy; but we are asking them to find ways and
means to grow the economy with more care and love for the environment.
There is no other way forward.

         I regard this Low-Carbon Society initiative by the APEC Center for
Technology Foresight, hosted by the National Science Technology and
Innovation Policy Office, as an important joint vision statement that
responds to both the need to mitigate the impact of climate change, and to
achieve development goals at the same time. I reckon that this vision
together with its pathways to the futures of low-carbon society is
comprehensive and sustainable because it integrates, with foresight, all
imaginable aspects of life in the year 2050.

         In conclusion, ladies and gentlemen, it is important that we
unleash the creative mind of our best scientists, for we do strongly believe
that science, technology and innovation will play a powerful role to
overcome the climate change challenges. They are key to moving towards
a low-carbon society.
         Sawasdee krub.
                                          เรียบรียงโดย : ทีมงานรัฐมนตรี


118    ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
บรรยายเรื่อง "แนวทางนโยบายการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี"
วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 - 15.00 น
ณ ห้องประชุมสารสนเทศ อาคารบริหารชั้น 2
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา

ท่านประธานที่ประชุมคณบดีคณะวิทยาศาสตร์
ท่านคณบดีคณะวิทยาศาสตร์
ท่านที่ปรึกษารัฐมนตรี (นายสันติ สาทิพย์พงษ์)
ท่านรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ (ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ)
เพื่อนๆ อาจารย์ และแขกผู้มเกียรติทุกท่าน
                           ี

                                                              วัน นี้ผ มดี ใจและรู้ สึก
                                             เป็ น เกี ย รติ อ ย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ ม า
                                             เยี่ยมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
                                             สุ ร นารี ซึ่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย
                                             ที่ มี ชื่ อ เสี ย งวั น นี้ อ ย่ า เรี ย กว่ า
                                             บรรยายเรี ย กว่ า มาพู ด คุ ย กั น
                                             ดีกว่า ผมเองก็เคยเป็นอาจารย์
สอนอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงระยะเวลา 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา ผมได้มี
โอกาสไปเยี่ยมชมงานมหกรรมวิทยาศาสตร์ที่ไบเทคบางนา ผมเชื่อว่าอาจารย์
หลายคนก็มีโอกาสได้ไป และนอกจากนั้น ผมก็มีโอกาสไปเยี่ยมชมงานที่จัดขึ้น
โดยสถาบันอื่นๆ อีกหลายงาน ผมได้เห็นงานวิจัยต่างๆ ผมมีความรู้สึกส่วนตัว อยู่


                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย        119
2 เรื่อง อาจจะถูกบ้างไม่ถูกบ้างก็มาลองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ผมรู้สึกว่า
งานวิจัยที่ผมไปดู เท่าที่จัดในบู๊ทต่างๆ ที่ผมเห็นผมคิดว่าเรื่องที่หนึ่ง คือเรื่องโจทย์
ของประเทศ ผมคิดว่าตรงนี้อาจจะยังปัญหาความไม่เข้าใจกันอยู่บ้าง เช่น โจทย์
ของประเทศโจทย์ ใ หญ่ ๆ ของเราคื อ อะไร เราสามารถระบุ โ จทย์ ใ หญ่ ๆ ของ
ประเทศเราได้ เรามั่นใจหรือเปล่าว่าเรามีนักวิจัยของเราเพียงพอ โดยเฉพาะใน
สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านนั้นๆ ผมเคยได้รับเชิญไปบรรยาย เรื่องการ
ทํางานวิจัยหลายครั้ง ครั้งหนึ่งที่ผมพูดเรื่องโจทย์ ผมพูดทํานองที่ว่ามันคงต้องไป
ดูโจทย์ใหญ่ของประเทศกันว่ามีอะไร โจทย์แรกสุดก็คือโครงการพระราชดําริต่างๆ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมวงศานุวงศ์ฯ
คืออะไร เรื่องที่สองเราคงต้องไปดูก่อนนะว่าแนวนโยบายที่สําคัญของรัฐบาลคือ
อะไร เรื่องที่สามเราไปดูว่าแผนพัฒนาของสภาพัฒน์ฯ คืออะไร เรื่องสุดท้ายก็คือ
ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากงานวิจัยคืออะไร วันนี้ผมไม่ได้ตั้งใจจะมาลงรายละเอียดพวกนี้
แต่ว่าเกริ่นให้ฟังว่า การที่ผมมาเป็นรัฐมนตรีและไปดูงานวิจัย เท่าที่ผมได้เห็นมา
ผมมีความรู้สึกอยู่สองอย่าง อย่างแรกก็คือผมรู้สึกว่าเรื่องโจทย์ใหญ่ของประเทศ
ที่จะมาทําเรื่องงานวิจัย เรื่อ งนี้น่าจะมาพูดคุยกันต่อไป เราควรที่จะพูดคุยเรื่อง
ต่างๆ เหล่านี้ ผมคิดว่าคนที่ดีที่สุดก็คือพวกท่านทั้งหลายที่นั่งอยู่ในห้องนี้ ที่เป็น
อาจารย์สอนหนังสือวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องที่สองผมย้ําอีกครั้ง นี่เป็นความรู้สึก
ส่ว นตั ว ของผมที่ ผ มเห็ น ผมรู้ สึก ว่ า งานวิ จั ย ที่ ผ มเห็ น ออกมาแสดงในบู๊ ท ต่ า งๆ
มีความใกล้เคี ยงกั น หรือว่ าการต่อ ยอดจากปี ที่แล้ วหรื อปีที่ ผ่านๆ มาอาจจะมี
ไม่มากนัก อาจจะเป็นเพราะความรู้อันจํากัดของผมก็ได้ เท่าที่ผมดูผมบอกได้เลย
นะครับ อย่างผมไปเห็นเรื่องงานอันนี้ แล้วผมไปอีกงานหนึ่งผมแทบจะบรรยาย
แทนได้มากพอสมควรเลย งานวิจัยอาจจะมีชื่อไม่เหมือนกัน คนทําไม่เหมือนกัน


120      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
แต่ว่าฟังดู concept แล้วมีความใกล้เคียงกันมาก อันนี้ก็เป็นความรู้สึกส่วนตัวของ
ผมที่อยากจะเล่าให้ฟัง เพราะฉะนั้นวันนี้ที่ผมได้มีโอกาสจะมาพบปะกับพวกท่าน
ผมก็เลยอยากจะขอพูดเรื่องการทําวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ งการทําวิจัยเรื่องของ
วิ ท ยาศาสตร์ ท่ า นนายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ พู ด เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ผ่ า นมาหลายเรื่ อ ง
เรื่องหนึ่งที่ท่านพูดคือเรื่องของการทําวิจัย จริงๆ ท่านพูดสองเรื่อง เรื่องหนึ่งก็คือ
เรื่องของท่านรองปลัดวีระพงษ์ ได้เสนอท่านนายกเกี่ยวกับเรื่องการบูรณาการ
การทํา งานวิจัย แต่ผมจะขอไม่พูดในประเด็นนั้น แต่ผมขอพูดอีกประเด็นหนึ่ ง
ที่ท่านนายกได้ให้ความสนใจมากก็คือเรื่องของการใช้ประโยชน์จากการทํางานวิจย                 ั




และท่านพูดชัดว่าท่านอยากเห็นการใช้ประโยชน์จากการทําวิจัย เช่น ต่อยอดของ
ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ที่พูดอย่างนี้ไม่ได้หมายความว่าภาคชุมชนหรือภาคอื่นๆ
ไม่ มีค วามสํ า คัญ แต่ ว่า เผอิ ญท่ านนายกพู ดถึ งเรื่อ งนี้ วัน นี้ผ มก็ เลยอยากจะขอ



                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       121
อนุญาตเล่าให้ฟังถึงความคิดเห็นของผม ในเรื่องที่การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
ที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งในที่นี้ผมคิดว่าจําเป็นต้อง
เชื่อมโยงกับทางด้านของภาคธุรกิจ ภาคเอกชนได้ และผมคิดว่าไม่มีใครรู้ดีในเรื่อง
นี้มากไปกว่า การที่เราไปถามภาคเอกชน ผมได้มีโอกาสพบปะกับภาคเอกชนกลุ่ม
หนึ่ง อาจจะไม่ใช่ ทั้ง หมด แต่ มีกลุ่ มหนึ่ งได้ฝากประเด็ นให้ กับ ผมมาหลายเรื่อ ง
แต่ ผ มคิ ด ว่ า ที่ อ ยากมาพู ด กั บ ท่ า นในวั น นี้ มี อ ยู่ 4 – 5 เรื่ อ งที่ มี ค วามน่ า สนใจ
เขาฝากมาเขาบอกว่า คุณมาเป็นรัฐมนตรีคุณน่าจะผลักดันพวกเรื่องต่างๆ เหล่านี้
ที่จะสามารถทําให้งานวิจัยของผมมีประโยชน์ จับต้องได้และเรื่องของการได้รับ
การยอมรับในสังคมก็จะตามมา เมื่อเกิดการใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง หลายท่าน
ที่นั่งอยู่ตรงนี้เป็น นักวิท ยาศาสตร์ ต้องขอพูด ไว้ก่อ นเลยนะครับว่า การทํ าวิจั ย
ทางด้านพื้นฐานสําคัญ รัฐบาลต้องสนับสนุนเพราะเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ภาคเอกชน
คงมาสนับสนุนไม่ได้ และตรงนี้เรายังทําวิจัยไม่พอ เราก็ต้องทําวิจัยเพิ่ม เวลาที่เรา
บอกว่าอยากจะเห็นภาคเอกชนเข้ามาทํางานวิจัยตามแผนวาระแห่งชาติอันใหม่
ที่เราอยากจะเห็นภาคเอกชนมาทํางานวิจัยมากขึ้นมีสัดส่วนที่มากขึ้นมากกว่า
ภาครัฐ แต่ไม่ได้หมายความว่าเราจะลดบทบาทภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง
ของการทําวิจัยขั้นพื้นฐาน แต่ว่าวันนี้เรามาเซ็ตพารามิเตอร์ให้ชัดว่าสิ่งที่ผมอยาก
พูดกับท่านในวันนี้คือเรื่องของการใช้ประโยชน์จากการทําวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
งานวิจั ย ด้า นวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม ที่ จ ะนํ า ไปก่ อประโยชน์
ทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นที่ฝากมาบางเรื่องก็เข้าตัวผมโดยตรง บางเรื่องก็จะเป็น
เรื่องของพวกเราทุกคน ในฐานะที่เป็นเจ้าของประเทศ เรื่องแรกสุดที่ผมจะพูดถึงที่
ทางภาคเอกชนฝากมา เขาพู ดถึ ง เรื่ อ งของปัญ หา มุ ม มองแนวคิ ด และการให้
ความสําคัญของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ต่อเรื่องของวิทยาศาสตร์ คําถามล่าสุด


122       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ก็คือผู้นําประเทศสูงสุดได้ให้ความสําคัญกับทางด้านของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวั ต กรรมแค่ ไ หน ผมตอบได้ เ ลยว่ า ทางด้ า นท่ า นนายกรั ฐมนตรี อ ภิ สิ ท ธิ์
เวชชาชี ว ะ ท่ า นเป็ น นายกรั ฐ มนตรี ที่ ผ มพู ด ได้ เ ลยว่ า ให้ ค วามสํ า คั ญ
ด้านวิทยาศาสตร์มากกว่ารัฐมนตรีท่านอื่นๆ ที่ผ่านมาหลายท่านในอดีต ผมเองก็มี
โอกาสทํางานการเมืองกับนายกหลายท่าน แต่ละท่านก็จะมีมุมมองในเรื่อ งที่จะ
                                                  เน้ น จะทํ า ไม่ เ หมื อ นกั น แต่ ท่ า น
                                                  นายกอภิ สิ ท ธิ์ ไ ด้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ
                                                  กับเรื่องวิทยาศาสตร์ ก่อนที่ผมจะ
                                                  มาเป็น รั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวง
                                                  วิทยาศาสตร์ฯ ท่านพูดกับผมเรื่อง
                                                  หนึ่ ง ซึ่ ง ผมก็ ไ ด้ มี โ อกาสคุ ย กั บ
ผู้บริหารกระทรวงหลายครั้งแล้วว่าคุณจะทําอย่างไรให้การบูรณาการทางด้านการ
วิจัยเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประโยชน์สูงสุด เพราะคุณก็รู้ว่างบประมาณ
ของประเทศเราไม่มีมากมายขนาดนั้น ให้ใช้งบเท่าที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ อันนี้
ผมตอบได้ ว่ า ท่ า นนายกให้ ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยีมาก

                เรื่องต่อมาที่เขาอยากจะพูดถึงอาจจะเกี่ ยวข้องกับตัวผมโดยตรงแต่ว่า
สิ่ ง นี้ ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาผ่ า นไปแล้ ว ก็ ต้ อ งกลั บ มาดู เขาบอกว่ า อยากเห็ น
รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ เป็ น คนที่ มี ศั ก ยภาพที่ จ ะเชื่ อ มโยง
และต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ ผมย้ําอีกครั้งนะครับว่า กลุ่มที่ผมพูดด้วยนี่มาจาก
ภาคเอกชน เพราะฉะนั้นมุมมองเขาก็จะเน้นไปในด้านนี้ ถ้าท่านพูดกับพวก NGO


                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       123
เขาก็อยากเห็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ความสําคัญใน
เรื่องการต่อยอดเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิต เรื่องของการที่จะแก้ปัญหาใน
เรื่องของความเหลื่อมล้ําทางสังคม เขาอยากเห็นรัฐมนตรีที่จะสามารถเชื่อมโยง
และต่อยอดในเชิงพาณิชย์ เรื่องต่อไปที่เขาพูด เขาก็บอกว่า ทั้งนายกรัฐมนตรี
ทั้งรัฐมนตรีเดี๋ยวมาเดี๋ยวก็ไป คือจะทํายังไงให้มันยั่งยืนได้ เขาก็บอกว่าอยากเห็น
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม อยู่ในหน้าแรกคําใหญ่ๆ เลยอยู่ในแผนของ
สภาพัฒน์ฯ อันนี้มันจะเป็นเครื่องการันตีว่าพวกคุณอยู่หรือไม่อยู่ก็ไม่เป็นไร เราจะ
เดินไปในแนวทางอย่างนี้ ผมว่าสิ่งนี้ก็เป็นเรื่องที่สะท้อนมุมมองว่า ภาคเอกชน
อยากเห็นเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่เราพยายามให้ความสนใจ
และผมในฐานะที่เป็นรัฐมนตรี ตั้งใจที่จะขับเคลื่อนเรื่องนี้ด้วย เรื่องที่สองที่เขาพูด
ถึงก็คือเรื่องของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการทําวิจัยพูดให้
ชัดไปกว่านี้เลยนะครับ เขาตั้งใจที่จะเน้นในเรื่องของคนและบุคลากร บางคนก็
บอกว่าทําไม่ได้ แต่มีมหาวิทยาลัยบางแห่งทําได้ เรื่องแรกที่เขาพูดถึงเลย คือเขา
อยากให้ภาครัฐเปิดโอกาสให้นักเรียนทุน และนักวิจัยภาครัฐให้สามารถทําวิจัย
ร่วมกับภาคเอกชน อันนี้ย้อนมาที่มหาวิทยาลัยของท่าน พวกท่านทั้งหลายที่เป็น
อาจารย์ ผมเข้าใจนะครับว่าบางแห่งสามารถทําเรื่องนี้ได้ คือท่านปล่อยให้นักวิจัย
ของท่านออกมาทํางานกับภาคเอกชน ทําเสร็จแล้วเขาก็สามารถที่จะเอาความรู้
ต่างๆ กลับเข้ามาในมหาวิทยาลัยเดิมได้และตรงนี้กลุ่มภาคเอกชนเขาเชื่อว่าจะ
เป็นกลไกที่ดีที่สุด ในการที่จะสามารถเชื่อมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน จะเป็น
กลไกที่ดีที่สุดคือ ทําให้นักวิจัยของเราสามารถตั้งโจทย์และทํางานวิจัยเชื่อมโยง
กับภาคธุรกิจเพื่อไปเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ อีกเรื่อง
หนึ่งที่เขาพูดถึง ยังอยู่ภายใต้แนวความคิดที่ใกล้เคียงกัน ก็คือเรื่องของนักเรียน


124     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ทุน เขาก็อ ยากที่ จะเห็ นนั ก เรี ยนทุน เวลากลับ มาแล้ว แทนที่ จะกลั บมาทํ างาน
ภาครัฐโดยตรงก็สามารถทํางานกับภาคเอกชนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนทุน
ที่ทํางานอยู่ต่างประเทศอยากจะเปิดช่อง ให้เขาสามารถที่จะทํางานในต่างประเทศได้
สักระยะเวลาหนึ่ ง และตรงนี้ให้คิ ดถึงเรื่องของสิท ธิประโยชน์ ระยะเวลาในการ
ทํ า งานด้ ว ย สิ่ ง นี้ ผ มคิ ด ว่ า สํ า คั ญ ในความเห็ น ส่ ว นตั ว ของผม คื อ คนที่ จ บกลั บ
มาแล้วหรือคนที่เพิ่งจบมา ถ้ากลับมาทํางานในประเทศไทยก็จะกลายเป็นสภาพ
การทํ า งานอี ก แบบหนึ่ ง แต่ ถ้ า ท่ า นสามารถเปิ ด โอกาสให้ กั บ เขาทํ า งานใน
ต่า งประเทศได้ ใ นเรื่ อ งที่ เ ขาทํ า อยู่ ผมคิ ด ว่ า จะสามารถได้ ค วามรู้ อี ก มากมาย
มหาศาลก่ อ นกลั บ มาประเทศไทย อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ เ ขาพู ด ถึ ง สิ่ ง นี้ก็ จ ะเกี่ ย วกั บ
มหาวิทยาลัยโดยตรง อาจจะไม่เกี่ยวกับนักวิจัยโดยตรง แต่เกี่ยวกับเขาอยากเห็น
การจัดตั้งศูนย์วิจัยร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและที่เขาอยากเห็นอยากให้
มันตั้งอยู่ใน Science park ตั้งอยู่ในที่ที่มันมีมหาวิทยาลัยที่มีนักวิทยาศาสตร์
นักวิจัยที่มาช่วยพัฒนาตรงนี้ได้ ซึ่งเป็นเรื่ องที่ผมเอง ท่านปลัดฯ ท่านรองปลัดฯ
ก็กําลังผลักดันอยู่ในเรื่องของอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ที่จะเน้นในเรื่องของ
นิคมการทําวิจัย ก่อนที่ผมเข้ามาในห้องนี้ก็มีอาจารย์ หลายท่านเข้ามาพูดกับผม
เรื่องนี้ว่าเราจะขับเคลื่อนไปได้อย่างไร เท่าที่ผมคุยกับท่านปลัดฯ เมื่อไม่ กี่วันมานี้
เข้าใจว่าเรื่องนี้ประมาณไม่เกินเดือนพฤศจิกายน เราจะมีความคืบหน้าบางอย่าง
เข้า ครม. เพื่อรับการพิจารณาเรื่องนี้ก็เป็นอีกเรื่องที่ไม่ควรจะรอถ้าตั้งใจจะทํา
ประเด็นที่ผมพูดถึงประเด็นที่สองในความรู้สึกส่วนตัวผม ผมคิดว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องที่
สําคัญมาก เป็นเรื่องที่ควรจะผลักดันในระยะสั้นและผมคิดว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง
กับพวกท่านโดยตรง ในฐานะที่อยู่ในประชาคมวิจัย แวดวงคณาจารย์ก็คือในเรื่อง
ตัวนักวิจัย นักเรียนทุน ในเรื่องของศูนย์การวิจัย เรื่องที่สามเป็นเรื่องปัญหาที่


                                                         ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย         125
ละเอียดอ่อนมากๆ และผมเชื่อว่า รมว.วท. ทุกคนก็ไม่อยากพูดถึง แต่เป็นเรื่องที่
สําคัญและต้องทํา คือเรื่องของเงินทุน เรื่องของงบประมาณทางด้านการทําวิจัย
ผมย้ําอีกครั้งหนึ่งเลยว่าทุกคนที่มาเป็น รมว.วท. รวมถึงตัวผมด้วย ทุกคนมีความ
พยายามที่จะผลักดันงบประมาณในเรื่องที่จะสนับสนุนการทําวิจัย อย่างในแง่ของ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เอง ท่านรองปลัดฯ ก็บอกผมว่างบประมาณส่วนใหญ่ที่
ตั้งอยู่ในสํานักงานปลัดฯ มากกว่าพันล้าน ประมาณพันห้าร้อยล้าน เราใช้ในเรื่อง
ของนั ก เรี ย นทุ น นั ก เรี ย นทุ น ก็ ไ ด้ ค วามรู้ ใ หม่ ก ลั บ มา ที่ อ ยากจะพู ด ก็ คื อ ว่ า
ทุกรัฐมนตรีผลักดัน สนับสนุนงบประมาณเรื่องการทํางานวิจัย เรามาดูความเป็น
จริงของประเทศไทย ในเรื่องการจัดทํางบประมาณ คือบังเอิญที่พวกท่านทั้งหลาย
และผมไม่ได้นั่งอยู่ในกรรมาธิการงบประมาณ วิธีคิดหรืออะไร บางทีแตกต่างกัน
จะไปบอกว่าเขาผิดผมไม่อยากพูดอย่างนั้น จะไปบอกว่าเขาไม่ถูกก็จะไปพูดอย่าง
นั้นไม่ได้ เขาก็มีการจัดลําดับความสําคัญของเขาว่าอะไรสําคัญก่อน อะไรสําคัญ
หลัง ก็เอาเป็นว่าในเรื่องของการจัดทํางบประมาณก็จะพยายามผลักดันให้ได้รับ
งบประมาณที่มากขึ้น ท่านนายกรัฐมนตรีก็พยายามพูดถึงตัวเลขที่เป็นสัดส่วนต่อ
GDP ซึ่ง อัน นั้น เป็น แผนระยะยาว รัฐมนตรีทุก คนที่ม าทํา งานตรงนี้ ก็มีห น้า ที่
ผลักดันสิ่งที่รัฐมนตรีได้ประกาศเป็นนโยบายเอาไว้ แต่ว่าสิ่งที่ผมอยากจะพูดที่
สําคัญกว่า แล้วก็เป็นสิ่งที่ภาคเอกชนเขาพูดถึงมาก และดูเหมือนจะมากกว่า เรื่อง
งบประมาณโดยตรงด้วยซ้ํา ก็คือเรื่องของการหักสิทธิประโยชน์ทางภาษีต่างๆ
อย่างตอนนี้เราให้ 200 % และเมื่อเร็วๆ นี้ ทาง สวทน. ก็ได้ทําแผนขึ้นมาผลักดัน
ให้คณะกรรมการไปเรียบร้อยแล้ว เราต้องการที่จะลดหย่อนภาษีตรงนี้ไปถึง 300 %
ของการทําวิจัย ตรงนี้ผมก็คิดว่าเป็นความคืบหน้าในระดับหนึ่ง ความคืบหน้าที่
สําคัญกว่านั้น ก็คือการที่เราจะสามารถบังคับในสิทธิประโยชน์นี้ ได้อย่างจริงจัง


126       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
อันดับต่อไปคือเขาอยากเห็นภาครัฐและเอกชนจับมือกันจัดตั้งกองทุนทางด้าน
R&D และก็มีความคิดเห็นเพิ่มเติมอีกว่าเมื่ อจัดตั้งกองทุนนี้แล้ว เวลาภาคเอกชน
เอาเงินเข้ามาใส่ตรงนี้แล้วลดหย่อนภาษีได้เลยหรือไม่ คือไม่ต้องไปใช้ระยะเวลา
2 - 3 ปี หลังจากไปวิจัยและพัฒนาแล้ว อันนี้ก็ฝากไว้ ท่านทั้งหลายที่นั่งอยู่ที่นี่เป็น
ผู้นําในแวดวงวิชาการก็ฝากช่วยกันคิด เขาก็บอกว่าถ้าทําอย่างนี้ได้เอกชนใส่เงิน
เข้ามาได้เลย จะเจาะจงเป็นเรื่องๆ หรือว่าจะเป็นเรื่องใหญ่เลยก็ ได้ ยกตัวอย่าง
เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี คือเขาใส่เงินเข้ามาเลย กองทุนนี้ทําเรื่องของปิโตรเคมี
                                                           อะไรก็ ไ ด้ ห รื อ ไม่ ก็ จ ะ
                                                           เป็นบางเรื่องของปิโตร
                                                           เค มี อั น นี้ ก็ แ ล้ ว แ ต่
                                                           อีกเรื่องหนึ่งที่ผมคิดว่า
                                                           สํ า คั ญ ม า ก แ ล ะ มั น
                                                           เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร
                                                           ทํางานของผม ซึ่งอันนี้
                                                           ผมจะต้ อ งพู ด คุ ย กั บ
รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องด้วยนะครับ คือเขาบอกว่าถ้ารัฐบาลเพิ่ม งบประมาณการทํา
วิจัยได้ก็ดี ถ้าเพิ่มไม่ได้เอาอันที่คุณเคย commit ไว้ได้หรือไม่ว่าคุณเคยบอกว่า
จะต้องทําอยู่แล้ว คุณทําให้ได้ตอนนั้น ยกตัวอย่างเช่น รัฐวิสาหกิจ คุณกําหนดไป
เลยว่ า คุ ณ จะต้ อ งใช้ ง บประมาณในการวิ จั ย พั ฒ นาเท่ า ไร เป็ น กี่ เ ปอร์ เ ซ็ น ต์
ซึ่งเดี๋ยวนี้เขาบอกว่ามี 3 % ผมคิดว่าอันนี้ค่อนข้างน่าสนใจ มันไม่ได้ใช้งบประมาณ
อะไรเพิ่ม เพียงแต่เกลี่ย งบประมาณที่ต้องทําอยู่แล้ วในรัฐวิสาหกิจ ตัดออกมา
สมมุติว่า 3 % ทันทีไม่ได้ไม่เป็นไรคุณบอกมา รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งให้คุณทําแผนมา


                                                     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย      127
ว่าเมื่อไรคุณจะถึง 3 % คือปีนี้อาจจะไม่ได้ขอ 3 ปีได้ไหม หรืออย่างช้าสุด 4 ปี
ผมว่าสิ่งนี้ค่อนข้างน่า สนใจ อาจจะไม่ได้เป็นความคิดอะไรที่ใหม่ร้อยเปอร์เซ็นต์
แต่ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่จับต้องได้

            เรื่องต่อไปจะพูดถึงปัญหาด้านนโยบายและโครงสร้างขององค์กร อันนี้
ผมรู้สึกว่ าภาครั ฐ คนที่ ทํา งานวิ จั ยในแวดวงของรัฐจะค่ อนข้า งให้ ความสํา คั ญ
ในเรื่องนี้ และสิ่งที่ผมไปพูดกับภาคเอกชน เขาคิดว่าเป็นปัญหาและอยากให้แก้ไข
แต่เขาไม่รู้จะไปคุยอย่างไรก็ฝากลองไปคิดกันดู อย่างตอนนี้เรามีหน่วยงานวิจัย
หรือที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย จะพูดง่ายๆ จะแบ่งเป็น 4 ระดับ ในระดับแรกเป็นเรื่อง
ทิศ ทางของนโยบายซึ่ งตอนนี้ เ รามี วช. เป็น หลัก และถ้า เราลงไปแต่ ละสาขา
ยกตัวอย่างเช่น วิทยาศาสตร์ เราก็จะมี สวทน. เป็นตัวหลัก ในเรื่องอื่นเขาก็จะมี
ตัวอื่นเป็นหลัก ระดับที่สองหน่วยงานที่ให้ทุนหน่วยงานที่สนับสนุนต่างๆ ตอนนี้ก็
มีความคืบหน้าระดับหนึ่ง คือตอนนี้ทุกสองเดือนทางสํานักงาน สวทน. มานั่งกิน
ข้าวกินกาแฟและสิ่งที่เขาพยายามจะทํา สิ่งแรกที่เขาทําได้จะเป็นก้าวแรกที่สําคัญ
ที่ผ่านมาเขากําลังจะทําเรื่องฐานข้อมูล ซึ่งเรื่องนี้ทางเลขาธิการ วช. หรือท่านรอง
ปลัดฯ วีระพงษ์ ให้ความสําคัญกับเรื่องนี้มาก เรื่องที่สามคือหน่วยงานที่ทําวิจัย
ต่างๆ พวกท่านทั้งหลายส่วนใหญ่ที่นั่งอยู่ในห้องนี้ ที่อยู่มหาวิทยาลัยต่างๆ รวมถึง
หน่วยงานในภาครัฐอื่นๆ รวมถึงหน่วยงานในภาคเอกชน และเรื่องที่สี่ที่ผมคิดว่ามี
ความสําคัญอย่างยิ่งเลย ก็คือหน่วยงานที่จะมาใช้ประโยชน์จากการวิจัย ถ้ าท่าน
มาดูโครงสร้างต่างๆ ที่ผมพูดอาจจะพูดไม่หมดด้วยซ้ํา แต่ของผมคิดว่ามีสี่เรื่อง
นี่แหละ เรื่องนโยบาย เรื่องสนับสนุนให้ทุน เรื่องหน่วยปฏิบัติที่ทํางานวิจัย และผู้ที่
ใช้ประโยชน์จ ากการวิจัย ในแต่ละเรื่องท่ านจะบู รณาการ การทํางานของท่า น



128     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
อย่ า งไร บางเรื่ อ งก็ เ กี่ ย วกั บ หลายเลเยอร์ ม าก สิ่ ง นี้ ท่ า นจะทํ า อย่ า งไร
ซึ่ ง ภาคเอกชนเขาก็ ฝ ากมาถามว่ า สามารถจะบู ร ณาการโครงสร้ า งองค์ ก ร
ของหน่ว ยงานที่ทํ าวิ จัย ก็จ ะเป็ นประโยชน์ มาก และอีก เรื่ องหนึ่ งพู ดถึ งในด้ า น
โครงสร้าง แต่ย้ําอีกทีอันนี้ฝากมาจากภาคเอกชน เขาก็บอกว่าถ้าเป็น ไปได้ อยาก
ให้ท่านนายกมากํากับดูแลงาน ทางด้านการวิจัยโดยตรง ไม่ใช่มอบท่านรองนายก
และก็มีข้อสังเกตต่อไปอีกว่า ถ้ามอบท่านรองนายก อันนี้ผมพูดในเชิงหลักการ
ไม่ได้พูดเชิงตัวบุคคล ขอไม่ให้มอบรองนายกที่ดูแลด้านสังคมได้หรือไม่ ขอให้
มอบรองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านเศรษฐกิจ พวกที่เข้ามาคือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ
เขาก็อยากจะเห็นแบบนี้ ผมเชื่อว่าถ้าท่านไปถามคนอีกกลุ่มหนึ่ง เขาก็อาจจะไม่
เห็นด้วย การที่เราจัดให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อยู่ในสายงานก็มีประวัติศาสตร์
มีความเป็นมา มีเหตุผลของมัน ไม่ใช่ว่าไม่ถูกต้อง ขึ้นอยู่กับมุมมองเพราะว่าเป็น
มุมมองด้านโครงสร้าง เรื่องสุดท้ายที่ผมอยากพูดถึง เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัวท่านมาก
คือเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา พูดถึงเรื่องที่เขาอยากเห็น พูดถึงเรื่องการมาทํางาน
ร่วมกันและใครเป็นเจ้าของสิทธิประโยชน์ตรงนี้ มุมมองก็เลยต่างกัน ในส่วนของ
มหาวิทยาลัย ท่านอาจจะต้องการความเป็นเจ้าของ เพื่อที่ท่านจะสามารถไปต่อ
ยอดงานวิจัยของท่านได้ต่อไปและเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับสาธารณะ แต่ว่าใน
ด้านของเอกชน เขาอาจจะต้องการความเป็นเจ้าของ ไม่ใช่ไปต่อยอดแต่เพื่อไป
ผลิตหรือปรับปรุงสินค้าของเขา และเขาก็ไม่ต้องการเผยแพร่เพราะเป็นความลั บ
ทางธุรกิจ ตรงนี้ต้องหาจุดสมดุลที่ดี ผมอยากเห็นทําวิจัยมาแล้วก่อให้เกิดสิทธิบัตร
หรือทรัพย์สินทางปัญญา ผมอยากที่จะใช้ประโยชน์จากตรงนี้ได้ ผมว่าอันนี้ทาง
มหาวิทยาลัยก็ต้องคิดเหมือนกันว่าจะทํากันอย่างไร เท่าที่ผมเห็นว่าในประเทศ
ไทยมีรูปแบบหลากหลายมาก ใช้ดุลพินิจมากพอสมควร หลักๆ วันนี้ที่อยากมาคุย


                                                   ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย      129
ก็ เ ป็ น เรื่ อ งของการวิ จั ย
                                                               อ ย่ า ง ที่ ผ ม พู ด ท่ า น
                                                               นายกรั ฐ มนตรี ท่ า นเน้ น
                                                               ในเรื่ อ งของการวิ จั ย และ
                                                               บั ง เอิ ญ เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่
                                                               ผ่ า นมา ท่ า นบอกว่ า ทํ า
                                                               อย่ า งไรที่จ ะใช้ป ระโยชน์
จากการวิ จั ย ให้ ม ากที่ สุ ด และท่ า นก็ เ น้ น ถึ ง การต่ อ ยอดภาคเอกชนเพิ่ ม ขี ด
ความสามารถในด้านการแข่งขันของประเทศ ผมก็เลยขออนุญาตนําความคิดเห็น
ของบางกลุ่มในภาคธุรกิจ ซึ่งเขาสะท้อนมาให้ผมยี่สิบกว่าเรื่อง แต่ผมยกมาแค่
ห้าเรื่องที่ผ มคิด ว่ามั นมี ความสํา คัญ เรื่ องที่ อยากจะฝากไว้ให้ ท่านช่ว ยคิด เป็ น
พิเ ศษเลย ก็ คื อ ความร่ ว มมือ ภาครั ฐภาคเอกชน ในเรื่ อ งการทํ าวิ จั ย เรื่ องของ
บุค ลากร ตรงนี้ผ มคิด ว่ าถ้ าทํ า ตรงนี้ไ ด้ ดีจ ะเห็ นผลเลยภายใน 10 ปี วั น นี้ต้ อ ง
ขอขอบคุณนะครับ สิ่งที่ผมมาพูดเชื่อว่าทุกท่านทั้งหลายคงจะมีความรู้มากกว่าผม
แต่ครั้งนี้ผมขออนุญาตเล่าให้ฟังในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
นี่คือสิ่งที่ผมเห็นเมื่อ 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา ผมไปดูงานต่างๆ มีมุมมองเรื่องการ
วิจัยและได้คุยกับภาคเอกชนบางส่วนและนํามาเล่าให้ฟังแต่ขอย้ําอีกที ผมก็คุยกับ
NGO ภาคประชาสังคม ผมก็คุยกับอาจารย์อย่างท่าน แต่วันนี้เอามุมมองอันนี้มา
สะท้อนให้พวกท่านฟัง ก็หวังว่าจะเป็นประโยชน์บ้าง

           ขอบคุณครับ

                                                         เรียบเรียงโดย : เฉลียว แสนดี


130       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
งานแถลงข่าว “ศูนย์เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของไทย”
วันพุธที่ 8 กันยายน 2553 เวลา 10.00 – 11.30 น.
ณ ห้องโถง ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ


          พิ ธี ก ร : ขอเรี ย นเชิ ญ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยี ดร. วี ร ะชั ย วี ร ะเมธี กุ ล ได้ ก ล่ า วถึ ง ความสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น
“ศูนย์ฯ เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของไทยและของเอเชียด้วยค่ะ”

             รมว.วท. : บั ง เอิ ญ กระทรวงวิ ท ย์ ฯ เราโชคดี น ะครั บ เรามี ท่ า นปลั ด
สุจินดาซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องเซรามิกและเรื่องแก้ว ทําให้ผมได้รับรู้รับทราบถึง
เรื่องของอุตสาหกรรมแก้วมาบ้างพอสมควร จริงๆ แล้วแก้วมีคุณสมบัติที่สําคัญๆ
หลายประการแต่ ผ มอยากขอใช้
โอกาสนี้ พู ด ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ
เพี ย งแค่ ป ระการเดี ย ว ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า
เหมาะกั บ เรื่ อ งที่ กํ า ลั ง เกิ ด ขึ้ น ใน
ปั จ จุ บั น นั่ น ก็ คื อ แก้ ว ถื อ เป็ น วั ส ดุ ที่
เป็นมิ ตรต่ อสิ่งแวดล้ อม สามารถนํ า
กลับมารีไซเคิลได้ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถ้าเราไปดูวัสดุที่ใช้ในชีวิตประจําวั น
ต่างๆ ผมคิดว่ามีวัสดุน้อยมากที่จะมีคุณสมบัติเช่นนี้ ถ้ามาพูดถึงเรื่องความสําคัญ
ของเรื่องอุตสาหกรรมแก้วในวีดีทัศน์ได้พูดไปแล้ว บางประการผมขอยกตัวอย่าง
2 – 3 เรื่อง




                                                    ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย      131
ในเรื่องแรก ”อุตสาหกรรมแก้ว ” ถือว่าเป็นอุตสาหกรรมที่สําคัญของ
ประเทศมีมูลค่าการส่งออกไม่น้อยกว่า 20,000 ล้านบาทและที่สําคัญมีแนวโน้มที่
จะเติบโตอย่างก้าวกระโดดต่อไปในอนาคต คํา ว่า “ก้า วกระโดด” ในที่นี้ไ ม่ไ ด้
หมายถึง เติ บโตไปเพีย ง 10 เปอร์เ ซ็น ต์ 15 เปอร์ เซ็ นต์ แต่ ว่า อาจจะเติบ โตถึ ง
30, 40, 50 เปอร์เซ็นต์ด้วยอันนี้คือเรื่องที่หนึ่ง

                                                  เรื่องที่สอง “อุตสาหกรรมแก้ว”
                                        หลายท่านอาจยังไม่ทราบว่าอุตสาหกรรม
                                        แก้วถือเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ
                                        อุ ต สาหกรรมที่ สํ า คั ญ ๆ ในประเทศ
                                        หลายอุตสาหกรรมเลยไม่ว่าจะเป็นใน
                                        เรื่องอุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรม
เครื่องใช้ไฟฟ้า ท่านลองไปดูเกือบทุกอย่างมีแก้วทั้งนั้น

         และเรื่อ งสุ ดท้ า ยที่อ ยากจะพู ดในที่ นี้ คื อ “อุต สาหกรรมแก้ ว ” ถื อ เป็ น
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานค่อนข้างมาก ซึ่งตรงนี้มีหลายมุมมองแต่ถ้ามุมมองของ
ผมซึ่งเป็นรัฐบาลผมถือว่าเป็นเรื่องที่สําคัญเพราะว่าเป็นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิด
การจ้างงานมาก เพราะเป็นอุตสาหกรรมที่จ้างงานเสร็จแล้วก็จะมีเรื่องของการ
กระจายรายได้ หลักๆ ก็สามสี่เรื่องครับ

         พิธีกร : ค่ะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนะคะ เรื่องของการรีไซเคิล 100 เปอร์เซ็นต์
จากอุ ต สาหกรรมแก้ ว มู ล ค่ า การส่ ง ออกไม่ ต่ํ า กว่ า 20,000 ล้ า นบาทต่ อ ปี
มีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอีกมากมายและการใช้งานก็จะเยอะ ถ้าอุตสาหกรรมนี้โต



132      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ท่านบอกว่าแนวโน้มสดใสในการเติบโตนั้นมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่องด้วย
ที่นี้ บทบาทของสื่อนี้ในการทําหน้าที่และการสนับสนุนให้อุตสาหกรรมนี้เติบโตใน
มุมมองของท่านรัฐมนตรีในแนวนโยบายตรงนี้เป็น อย่างไรคะ

            รมว.วท. : กระทรวงวิทย์ฯ
โชคดีคือเรามีปลัดกระทรวงซึ่งมา
จากอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ
เก่า ผมขอตอบคําถามนี้ในสองมิติ
ว่ า ใ น ปั จ จุ บั น แ ล้ ว ท า ง ก ร ม
วิทยาศาสตร์บริการทําอะไรไปแล้ว
บ้างและกรมวิทยาศาสตร์บริการกําลังจะทําอะไรต่อไปในอนาคต หลังจากที่เรามี
ศูนย์เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของประเทศไทยและของอาเซียน คนส่วนใหญ่คง
ไม่ทราบว่ากรมวิทยาศาสตร์บริการถือว่าเป็นกรมหลักของกระทรวงวิทย์ฯ ของเรา
เลยนะครับ เป็นกรมที่มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยตรงและมีความเชี่ยวชาญในเรื่องของ
แก้ว แต่ที่คนส่วนใหญ่จะรู้จักบทบาทมากๆ เลยจะเป็นเรื่องมิติของการวิเคราะห์
การทดสอบ ซึงในวีดีทัศน์มีพูดไปแล้วนะครับ เราดูเครื่องมือที่มาทดสอบเรื่องแก้ว
                  ่
มีราคาค่อนข้ างแพงถ้าให้ เอกชนบริษัท ใดบริษัทหนึ่ง มาลงทุน ตรงนี้อาจจะยั ง
ไม่คุ้ม และอันที่สองคือในเรื่องของห้อง LAB ที่จะมาใช้ในการทําการทดลองจําเป็น
จะต้องได้รับการรับรองจากมาตรฐานจากระดับนานาประเทศ เพราะฉะนั้นตรงนี้
เป็ น หน้ า ที่ ข องรั ฐ บาล เป็ น หน้ า ที่ ข องกระทรวงวิ ท ย์ ฯ เป็ น หน้ า ที่ ข องกรม
วิทยาศาสตร์บริการที่จะให้บริการเรื่องนี้ แต่จริงๆ แล้ว กรมวิทยาศาสตร์บริการมี
มิติอื่นๆ อีกซึ่งคนทั่วไปอาจจะไม่ค่อยทราบมากนัก นั่นก็คือเรื่องของการวิจัย การ


                                                     ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย      133
พัฒนา จริงๆ แล้วตรงนี้เราก็ทําอยู่แต่ว่าที่ทํามาในอดีตอาจเป็นเรื่องของ in house
มากกว่ า เป็ น เรื่ อ งการทํ า วิ จั ย ภายในนะครั บ อั น นี้ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราทํ า มาในอดี ต
ในปัจจุบันหลังจากที่เรามีศูนย์เชี่ยวชาญ แห่งแรกด้านแก้วแล้วนะครับบทบาทที่จะ
ทําต่อไป

                                                      1 ) ศู น ย์ เ ชี่ ย ว ช า ญ
                                            คุณอลิ ศราพูด ไปแล้ ว ว่า เป็ นศู น ย์
                                            เชี่ ย วชาญด้ า นแก้ ว แห่ ง แรกของ
                                            ประเทศไทยและของอาเซียนด้วย
                                            ตรงนี้จะมีประโยชน์กับที่คนค้าขาย
                                            กั บ เรา ทํ า ให้ มี ค วามมั่ น ใจมาก
ยิ่งขึ้นในเรื่องของคุณภาพมาตรฐานแก้วของเรา ที่นี้ถามว่าจะทําอย่างไรต่อไป
ในอนาคต อันหนึ่งที่เราจะทําเรื่องของการวิเคราะห์ การทดสอบต่อไป เพียงแต่ว่า
ตอนนี้ศูนย์ฯ เชี่ยวชาญแห่งนี้ได้รับมาตรฐานจาก BAS ของประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็น
ที่ยอมรับกันทั่วโลกนะครับ การที่เราจะวิเคราะห์ ทดสอบอะไรต่อไปจะมีความ
มั่นใจยิ่งขึ้น

           2) เรื่องการวิจัยและพัฒนาตรงนี้ผมอยากเน้นย้ําให้ความสําคัญเป็น
พิเศษ ผมได้คุยกับผู้บริหารของกระทรวงฯ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องนี้หรือเรื่องอื่นๆ ว่า
ผมอยากเน้นย้ําในเรื่องการทําวิจัย การตอบโจทย์อย่างในกรณีนี้ตอบโจทย์ของ
ภาคเอกชนได้ ภาคชุมชนได้ ซึ่งตรงนี้ต้องลงในรายละเอียดว่าในชุมชนเราจะทํา
อะไร ในเอกชนเราจะทํ า อะไร ส่ ว นเรื่ อ งต่ อ ไปซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น คื อ
หลังจากที่เราทําการวิเคราะห์ เราทําการตรวจสอบแล้ว เราก็หวังว่าเวลาวิเคราะห์


134      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
ไปแล้ วอาจจะมีปั ญหาขึ้น มา เราก็ห วัง ว่ าเราจะให้ บริ การในลัก ษณะที่ เป็ นเชิ ง
แนะนําได้นะครับ พอวิเคราะห์มาแล้วมีปัญหาอย่างนี้กรมวิทยาศาสตร์บริการเข้า
มาเป็น Partner กับผมช่วยแก้ปัญหาหลักๆ ก็ประมาณสองสามเรื่องนี้ครับ

        พิธีกร : วิเคราะห์เพื่อตอบ รู้จักพัฒนาที่ท่านเน้นว่าจะต้องตอบโจทย์ทั้ง
ภาคอุตสาหกรรม ทั้งชุมชนด้วยและการแก้ไขปัญหา สิ่งที่ท่านคาดหวังอยากจะ
เห็นแนวทางการดําเนินการของศูนย์ฯ นี้มีอะไรบ้างคะ

          รมว.วท. : ความคาดหวั ง ของผมคิ ด ว่ า ปั จ จุ บั น ศู น ย์ ฯ แห่ ง นี้ ถื อ เป็ น
ศูนย์ฯ แห่งแรกในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน อุตสาหกรรมนี้จะเติบโตต่อไป
ข้างหน้าในอนาคต ทางกรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทย์ฯ อยากเป็นส่วน
หนึ่งที่อยากเห็นอุตสาหกรรมนี้เติบโตไปได้ในอนาคตซึ่งจะสอดคล้องกับนโยบายที่
ท่านนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ท่านพูดอยู่เสมอว่าอยากให้การวิจัย การ
                                                 พัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
                                                 เรื่องของวิทยาศาสตร์มาเป็น
                                                 ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น ก า ร เ พิ่ ม ขี ด
                                                 ความสามารถในการแข่งขัน
                                                 ของประเทศ และนี่คือเหตุผล
                                                 ของความคาดหวั งของพวก
                                                 เราทุกคนว่าหลังจากที่เรามี
ศูนย์ฯ อันนี้แล้วเราจะสามารถมาช่วยภาคเอกชนในการพัฒนาศักยภาพของพวก
ท่านทั้งหลายได้ครับ



                                                      ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย       135
พิธีกร : เป็นส่วนหนึ่งที่จะทําให้อุตสาหกรรมเติบโตค่ะ ขอบพระคุณท่าน
รัฐมนตรีค่ะ เรียนถามท่านอธิบดีบ้างนะคะ อย่างที่เราได้ชม VTR ตั้งแต่ปี 43 เรามี
ห้องปฏิบัติการแก้วและทําหน้าที่เรื่องนี้มาตลอดจนวันนี้มาเป็นศูนย์ฯ อยากให้
ท่านเล่าให้ฟังว่าที่ผ่านมาเราได้ทํางานอย่างไรบ้าง

          อวศ. : ตามที่ท่านรัฐมนตรีได้กล่าวไปหมดแล้วนะครับซึ่งค่อนข้างจะ
ครอบคลุม ในส่วนของการจัดตั้งเป็นศูนย์ฯ เชี่ยวชาญแก้วแห่งแรกของไทยคือเดิม
ทีเดียวปี 2543 เราได้จัดตั้งโครงการห้องปฏิบัติการแก้ว ประจวบกับเรามีบุคลากร
ที่จบปริญญาเอกและปริญญาโทด้านนี้ อีกประเด็นหนึ่งก็คือในช่วงนั้นเราได้มีการ
ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบงานวิจัยและให้คําปรึกษาแนะนําเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
จนกระทั่งปี 2551 – 2553 ทางกรมฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลให้
มาจัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ที่ค่อนข้างมีราคาแพง ค่อนข้างจะครบ ดังนั้นการบริการ
ของเราจะบริการค่อนข้างจะครบวงจรทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นงานทดสอบการวิจัยหรือ
งานให้ ป รึ ก ษาคํ า แนะนํ า คิ ด ว่ า ในจุ ด นี้ท างกรมฯ จึ ง คิ ด ว่ า การจั ด ตั้ ง เป็ น ศู น ย์
เชี่ยวชาญแก้วแห่งแรกของประเทศไทยในอาเซียนน่าจะพร้อมแล้วนะครับ

        พิธีกร : โดยมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ด้วยใช่ไหมคะจากการ
ทํางานของศูนย์ฯ นี้ค่ะ

         อวศ. : ระดับประเทศเรามีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างๆ
อย่างเช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ส่วนในระดับต่างประเทศ
กรมวิทยาศาสตร์บริการได้มีการลงนาม MOU กับหน่วยงานเป็นมหาวิทยาลัย


136       ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
RWTH, Aachen ของประเทศเยอรมนีมีการวิจัยร่วมกันและมีการแลกเปลี่ยน
ความรู้ ความสามารถและความคิดเห็นต่างๆ และทางมหาวิทยาลัยของ Aachen
ได้ให้คําปรึกษาแนะนํากับเรา และเราได้ไปจัดแสดงผลงานทางวิชาการและทาง
ศูนย์ฯ ยังเป็นสมาชิก เรียกว่า “Technical Committee” กับ International Commission
on Glass ซึ่งเป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญสูงมากครับ

         พิธีกร : ถ้าทางผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมสนใจที่อยากจะเข้ามาขอ
ใช้บริการต้องเข้ามาติดต่ออย่างไรบ้างคะ

          อวศ. : ครับมาติดต่อที่กรมวิทยาศาสตร์บริการ เราพร้อมให้บริการขณะนี้
เราก็ดําเนินการจะเป็น One Stop Service ซึ่งกําลังจะเริ่มปรับปรุงครับ

         พิธีกร : อัตราค่าบริการเป็นอย่างไรบ้างคะ ระยะเวลาด้วยค่ะ

          อวศ. : สํา หรับ อัต ราค่ าบริ การเราถือว่ าเราเป็ นภาครัฐบาล เพราะ
อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ที่เราได้รับการจัดสรรมาจากเงินงบประมาณของรัฐบาล
ดังนั้น อัตราค่าธรรมเนียมหรือว่าอัตราค่าบริการจะไม่สูงนะครับและพร้อมที่จะ
ให้บริการกับโรงงานอุตสาหกรรมและ SMEs และผมถือว่ารายได้ที่เข้าไปที่ กรมฯ
ไม่สูงแต่ในทาง Indirect Income โรงงานอุตสาหกรรมที่ส่งออกไปยังต่างประเทศก็
ได้เงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศ ถือว่าคุ้มค่า

            พิธีกร : ได้ทราบข้อมูลว่าเครื่องบางเครื่องจะมีที่ศูนย์เชี่ยวชาญฯ แห่ง
เดียวที่อื่นไม่มีเลย




                                                ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย    137
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532
V532

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

Scius55 1-out-most
Scius55 1-out-mostScius55 1-out-most
Scius55 1-out-most
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
Barbergals Info No.12
Barbergals Info No.12Barbergals Info No.12
Barbergals Info No.12
 
Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009Us Stem Cells Report 2009
Us Stem Cells Report 2009
 
gakveTilis prezentacia
gakveTilis prezentaciagakveTilis prezentacia
gakveTilis prezentacia
 
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
รายงานประจำปี 2558 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Annual report 2015
 

Similar to V532

Foresight and technology foresight for scg
Foresight and technology foresight for scgForesight and technology foresight for scg
Foresight and technology foresight for scgNares Damrongchai
 
International collaboration in science technology and innovation
International collaboration in science technology and innovationInternational collaboration in science technology and innovation
International collaboration in science technology and innovationNares Damrongchai
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 

Similar to V532 (20)

National Innovation Award 2014
National Innovation Award 2014National Innovation Award 2014
National Innovation Award 2014
 
Foresight and technology foresight for scg
Foresight and technology foresight for scgForesight and technology foresight for scg
Foresight and technology foresight for scg
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
International collaboration in science technology and innovation
International collaboration in science technology and innovationInternational collaboration in science technology and innovation
International collaboration in science technology and innovation
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2562
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010MOST-Annual-report-2010
MOST-Annual-report-2010
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 

More from Ministry of Science and Technology

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...Ministry of Science and Technology
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีMinistry of Science and Technology
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTMinistry of Science and Technology
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯMinistry of Science and Technology
 

More from Ministry of Science and Technology (13)

ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
ผลการดำเนินงาน ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ประจำ...
 
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2561 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
 
Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558Mos taction plan2555-2558
Mos taction plan2555-2558
 
Policy24jan55
Policy24jan55Policy24jan55
Policy24jan55
 
Semina boi
Semina boiSemina boi
Semina boi
 
S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2S ci us54-shift-2
S ci us54-shift-2
 
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOSTกรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
กรอบแนวทางในการทำงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Framework of MOST
 
Gov policy-55
Gov policy-55Gov policy-55
Gov policy-55
 
V531
V531V531
V531
 
Interview106magazine
Interview106magazineInterview106magazine
Interview106magazine
 
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯแบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
แบบตอบรับการเข้าสัมมนาฯ
 
กำหนดการ
กำหนดการกำหนดการ
กำหนดการ
 
Policy Drkalaya
Policy DrkalayaPolicy Drkalaya
Policy Drkalaya
 

V532

  • 1. พิธีมอบรางโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน วันอาทิตย์ที่ 22 สิงหาคม 2553 เวลา 15.00 - 16.00 น. ณ ศูนย์การประชุมและนิทรรศการไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ท่านเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีน ท่านที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ่ ท่านปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่านผู้อานวยการสถาบันวิจยดาราศาสตร์แห่งชาติ ั ท่านผู้บริหารของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่านผู้มีเกียรติ น้องๆ เยาวชน และสื่อมวลชนทุกท่าน ก่อนอื่น ผมขอขอบคุณท่านเอกอัครราชทูตแห่งสาธาราณรัฐประชาชนจีน เป็นอย่างสูง ที่กรุณาให้เกียรติมาเข้าร่วมเป็นสักขีพยาน ในพิธีมอบรางวัลให้แก่ ผู้ชนะเลิศการประกวดโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ “ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน” และร่วมแสดงความยินดีกับผู้ชนะการประกวดทุกท่านในวันนี้ การจัดโครงการยุวทูตดาราศาสตร์ ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน ในครั้งนี้ นั บ เป็ น การจั ด การประกวดขึ้ น เป็ น ค รั้ ง แ ร ก เ พื่ อ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น กิจกรรมเฉลิมฉลองโอกาสครบรอบ 35 ปี แห่ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง ราชอาณาจั ก รไทยกั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดยอาศั ย กิ จ กรรม ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 107
  • 2. ความร่ ว มมื อ ทางด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการส่ ง เสริ ม และกระชั บ ความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศ และสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนของ ทั้งสองประเทศให้มีความแน่นแฟ้นและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น โดยผู้ที่ชนะเลิศการ ประกวดจะได้เดินทางไปทัศนศึกษา ณ เมืองลี่เจียง เพื่อเรียนรู้วัฒนธรรม เยี่ยมชม เมืองมรดกโลกอันงดงาม และศึกษาความก้าวหน้าของวิท ยาการทางด้านดารา ศาสตร์ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่หอดูดาวเกาเหมยกู่ ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้าง องค์ ค วามรู้ ประสบการณ์แ ละได้ มี โ อกาสถ่ า ยทอดความรู้ ประสบการณ์ และ เรื่องราวที่ได้รับรู้และพบเห็นมายังเด็กและเยาวชนไทยต่อไป นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังจะช่วยส่งเสริมให้เยาวชนไทยได้มีโอกาส สัมผัสองค์ความรู้ทางดาราศาสตร์ในระดับนานาชาติ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับ เยาวชนไทย ในการนํ า องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากการทั ศ นศึ ก ษาที่ ส าธารณรั ฐ ประชาชนจีน มาถ่ายทอดและส่งต่อให้แก่เยาวชนไทยทั้งประเทศ เพื่อสร้างความ ตระหนั ก ทางด้ า นการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ และการพั ฒ นากํ า ลั ง คนทางด้ า น ดาราศาสตร์ของประเทศให้สามารถแข่งขันกับนานาประเทศในระดับเวทีโลกต่อไป ได้ในอนาคต จึงนับว่าเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในระยะยาว ผมขอแสดงความยิ น ดี และ ขอชื่นชมในความสามารถและความ ตั้ ง ใจของเยาวชนผู้ ที่ ไ ด้ รั บ การ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น ยุ ว ทู ต ดาราศาสตร์ ร้อยดาว ร้อยใจ ไทย - จีน และผู้ชนะ การประกวดที่สามารถก้าวเข้ามาถึง 108 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 3. รอบชิงชนะเลิศทุกคน และขอเป็นกําลังใจให้น้องๆ ที่ได้รับรางวัลทุกคนจะมีความ มุ่งมั่นและตั้งใจศึกษา ค้ นคว้า หาความรู้และประสบการณ์ทางด้านดาราศาสตร์ และวิทยาการแขนงต่างๆ เพื่อสร้างสรรค์ผลงานที่เป็นประโยชน์และเป็นที่น่าภูมิใจ ของตนเอง ครอบครัว และสังคมต่อไป ในอนาคต สุ ด ท้ า ย นี้ ผ ม ต้ อ ง ขอขอบคุณสถาบันวิจัยดารา ศาสตร์ แ ห่ ง ชาติ สมาคม ศู น ย์ ข่ า ว เ ย า ว ช น ไ ท ย คณะกรรมการตั ด สิ น การ ประกวดโครงการ และผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งทุ ก ๆ ฝ่ า ย ที่ได้มีส่วนช่วยผลักดันให้เกิดโครงการที่ดีและสร้างสรรค์เช่นนี้ ซึ่งจะเป็นอีกหนึ่ง เวทีที่จะช่วยส่งเสริม สนับสนุน เยาวชนให้มีโอกาสแสดงความสามารถตามความ สนใจอย่างเหมาะสม และยังมีส่วนช่วยให้เยาวชนหันมาตื่นตั วและให้ความสนใจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีส่วนทําให้สังคมไทยก้าวไปสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ และนําเศรษฐกิจไทยก้าวไปอีกระดับอย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งยังจะมี ส่วนในการผลักดันให้เยาวชนไทยได้มีการพัฒนาและเติบโตอย่างเหมาะสม และ นําความรู้ความสามารถมาพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปได้อย่างยั่งยืน ขอบคุณครับ เรียบเรียงโดย : เฉลียว แสนดี ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 109
  • 4. Public Seminar : The Futures of Low-Carbon Society : An Asia-Pacific Vision Beyond 2050 27 August 2010 Opening Remarks by H.E. Dr. Virachai Virameteekul Minister of Science and Technology • Dr. Pichet Durongkaveroj, • Distinguished Guests, • Ladies and Gentlemen, It is both an honour and a pleasure for me to be here at this important international gathering. I am here to talk about what the Ministry of Science and Technology is doing or not doing on the issue of climate change. 110 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 5. Climate change poses a real threat to us and our future hangs in the balance. As powerful storm becomes even more powerful, severe flooding becomes even more severe; truth is, we are facing potential disasters threatening us more and more. This is not fiction. This is fact. This is real science. Before it is too late, international co-operation, with strong will and full determination, is needed to tackle the global issue of climate change. So far – from Bali to Copenhagen, and recently in Bonn – the past two years have witnessed some progress in certain areas, while in some other areas, less progress have been made. This is simply unacceptable. There is so much more work to be done if we are to come up with a mechanism to implement this common goal towards a “low-carbon” society. And there is also so much more progress to be made if we are to save this planet for our future generation. Ladies and gentlemen, Thailand shares the vision with other ASEAN countries in driving the ASEAN community resilient to climate change. We have incorporated the agenda of climate change into the national development and planning process since 2007. These plans aim to move our economy towards a low carbon economy by restructuring the production sector towards being low carbon/ promoting green transportation and logistics/ remodeling the agricultural sector to promote sustainable and organic agriculture/ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 111
  • 6. increasing the share of alternative energy, particularly renewable energy and perhaps most importantly : changing the pattern of public consumption towards more environmental-friendly products. In accordance with the national development plan, the Ministry of Science and Technology is committed to moving Thailand towards a low- carbon society. We are now conducting and providing supports for many R&D projects and activities to mitigate and adapt to the impact of climate change. They can be grouped into three main areas. The first area is related to the preparation for the impact of climate change and adaptation strategies, especially for the agricultural sector. This area of work covers a wide range of R&D projects. For example, the National Science and Technology Development Agency or NSTDA has been working on crop improvements by making our crop becoming more resilient to stresses that have tendency to increase due to climate change, such as drought and flooding, and improve crops to become more resistant to insects and diseases that come naturally with climate change. Technically speaking this is done by using DNA marker-assisted breeding in combination with conventional breeding technology. R&D in crop improvements needs greenhouse environment, so does the cultivation of 112 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 7. some crop plants to give them suitable environment for optimal growth. Therefore, NSTDA has conducted R&D on greenhouse materials, greenhouse design for tropical plants, and environmental control system for greenhouses. Another good example is the work done by the Hydro and Agro Informatics Institute or HAII. This Institute has developed a forecasting model for flood and drought risk analysis for 25 basins in Thailand based on irrigation infrastructure and rainfall. In addition, through the use telemetry technology, the Institute has also developed a flood warning system which can be used anywhere in Thailand. Ladies and gentlemen, The second area is concerned with mathematical modeling of climate change. This work involves the development of climate change models that use remote sensing data such as sea surface temperature, and geographical information. These data are provided by the satellite of the Geo-Informatics and Space Technology Development Agency or GISTDA and fed into the model developed by the Climate Change Knowledge Management Center or CCKM within our ministry. Results from these models are very important in developing adaptation strategies. For example, it can be used to identify “Hot Spot” areas that are vulnerable due to high risk from climate change impact or ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 113
  • 8. having low coping capacity, or both. Identifying these areas is becoming increasingly important because they need proper management of resources and a certain level of investment. In the future, the models can also be used for the planning of potential reduction of greenhouse gas emissions. Again, HAII is currently involved in a research on wind map, and together with the capability to trace the circulation of water in the region using isotope hydrology research by the Thailand Institute of Nuclear Technology or TINT, and the satellite data from GISTDA, we can make an even more reliable prediction model of the whole system of rainfall, wind, and temperature. Apart from this, we are incorporating the use of satellite imaging to directly monitor actual change in coastal erosion and the identification of proper areas of plantation. Now we come to the third area. This involves the development of Life Cycle Assessment or LCA database, in which the Ministry of Science and Technology, particularly NSTDA, is playing the leading role. As we all know, LCA database can be used for many applications such as calculating carbon footprint of a product or an organization. The LCA database also provides a basis for further development of Life Cycle Inventory (LCI) system or emission inventory (EI) system. The ultimate goal of this area of work is to develop cross-cutting body of knowledge and information that are essential for setting national target for greenhouse gases emission. 114 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 9. But ladies and gentlemen, The Ministry of Science and Technology does not limit itself only to these in-house activities. For I am a strong believer of collaboration and alliance, I deem it of vital importance that we reach out to other agencies to address this very issue. In this light, we also provide R&D groundwork and support information to the National Climate Change Committee for the development of the National Strategy for Climate Change for 2008 – 2012. Equally substantial is our undertaking of R&D programs to acquire a better understanding of the impact of climate change, including the development and collection of important indicators for policy planning and management, as well as adaptation, development and transfer of relevant technology. As far as relevant technology is concerned, the National Science Technology and Innovation Policy Office (STI) has been cooperating with the Office of National Resources and Environmental Policy and Planning (ONEP) to establish a project on Technology Needs Assessment (TNA) for Thailand. Assessing technology needs is the first step in making a practical action plan in the context of the United Nations Framework Convention on Climate Change process. In the end, we aim to have a national roadmap for technology development and technology transfer using international mechanisms such as Clean Technology Fund, among many others. ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 115
  • 10. The ultimate goal is to accomplish Thailand’s technology development priorities for climate change adaptation and mitigation in a sustainable manner. Ladies and Gentlemen, Despite all these R&D programs within our ministry, there are still many new areas to be explored and to expand on. In fact, with reference to the report of the foresight work, capacity building at the very local level is emphasized. This is why I have asked relevant agencies in our ministry to seriously work closer with local leaders who are in fact our perfect and best resource to reach out to the communities and their people. They are the ones who will help make a difference… make a change. We should not overlook their enormous potential in fostering innovation and adopting appropriate technologies in order to enable the grass roots to be climate- resilient. To this end, the government must facilitate the design of technology roadmaps at the national level to allocate resources with the focus to induce private investment accordingly, and work with local industries and local governments to make sure that such innovation takes place and reaches local users in the right place at the right time. The Ministry of Science and Technology has many examples in working with the locals such as the community water resource management by HAII, community biodiesel by NSTDA, community zero-waste rice mill by Office 116 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 11. of Technology Promotion and Transfer, and the Bioplastic Initiative by National Innovation Agency. I would like to specifically emphasize the work of NSTDA on Industrial Technology Assistance Program or ITAP that has been very successful in helping, by way of matching grants, small and medium enterprises throughout the country to conserve energy in the local factory production process. These are some examples that have been launched and implemented along this strategic direction, in the spirit of Public-Private Partnership, or PPP. ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 117
  • 12. Ladies and Gentlemen, We should not, however, let the effort of combating climate change hinder the attainment of the effort to fight poverty and enhance quality of life. The choice is not between climate change and Millennium Development Goals. We are not asking any country whether or not they want to grow their economy; but we are asking them to find ways and means to grow the economy with more care and love for the environment. There is no other way forward. I regard this Low-Carbon Society initiative by the APEC Center for Technology Foresight, hosted by the National Science Technology and Innovation Policy Office, as an important joint vision statement that responds to both the need to mitigate the impact of climate change, and to achieve development goals at the same time. I reckon that this vision together with its pathways to the futures of low-carbon society is comprehensive and sustainable because it integrates, with foresight, all imaginable aspects of life in the year 2050. In conclusion, ladies and gentlemen, it is important that we unleash the creative mind of our best scientists, for we do strongly believe that science, technology and innovation will play a powerful role to overcome the climate change challenges. They are key to moving towards a low-carbon society. Sawasdee krub. เรียบรียงโดย : ทีมงานรัฐมนตรี 118 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 13. บรรยายเรื่อง "แนวทางนโยบายการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 14.00 - 15.00 น ณ ห้องประชุมสารสนเทศ อาคารบริหารชั้น 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ท่านประธานที่ประชุมคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ท่านคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ ท่านที่ปรึกษารัฐมนตรี (นายสันติ สาทิพย์พงษ์) ท่านรองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ (ดร. วีระพงษ์ แพสุวรรณ) เพื่อนๆ อาจารย์ และแขกผู้มเกียรติทุกท่าน ี วัน นี้ผ มดี ใจและรู้ สึก เป็ น เกี ย รติ อ ย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ ม า เยี่ยมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุ ร นารี ซึ่ ง เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย งวั น นี้ อ ย่ า เรี ย กว่ า บรรยายเรี ย กว่ า มาพู ด คุ ย กั น ดีกว่า ผมเองก็เคยเป็นอาจารย์ สอนอยู่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงระยะเวลา 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา ผมได้มี โอกาสไปเยี่ยมชมงานมหกรรมวิทยาศาสตร์ที่ไบเทคบางนา ผมเชื่อว่าอาจารย์ หลายคนก็มีโอกาสได้ไป และนอกจากนั้น ผมก็มีโอกาสไปเยี่ยมชมงานที่จัดขึ้น โดยสถาบันอื่นๆ อีกหลายงาน ผมได้เห็นงานวิจัยต่างๆ ผมมีความรู้สึกส่วนตัว อยู่ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 119
  • 14. 2 เรื่อง อาจจะถูกบ้างไม่ถูกบ้างก็มาลองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ผมรู้สึกว่า งานวิจัยที่ผมไปดู เท่าที่จัดในบู๊ทต่างๆ ที่ผมเห็นผมคิดว่าเรื่องที่หนึ่ง คือเรื่องโจทย์ ของประเทศ ผมคิดว่าตรงนี้อาจจะยังปัญหาความไม่เข้าใจกันอยู่บ้าง เช่น โจทย์ ของประเทศโจทย์ ใ หญ่ ๆ ของเราคื อ อะไร เราสามารถระบุ โ จทย์ ใ หญ่ ๆ ของ ประเทศเราได้ เรามั่นใจหรือเปล่าว่าเรามีนักวิจัยของเราเพียงพอ โดยเฉพาะใน สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านนั้นๆ ผมเคยได้รับเชิญไปบรรยาย เรื่องการ ทํางานวิจัยหลายครั้ง ครั้งหนึ่งที่ผมพูดเรื่องโจทย์ ผมพูดทํานองที่ว่ามันคงต้องไป ดูโจทย์ใหญ่ของประเทศกันว่ามีอะไร โจทย์แรกสุดก็คือโครงการพระราชดําริต่างๆ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมวงศานุวงศ์ฯ คืออะไร เรื่องที่สองเราคงต้องไปดูก่อนนะว่าแนวนโยบายที่สําคัญของรัฐบาลคือ อะไร เรื่องที่สามเราไปดูว่าแผนพัฒนาของสภาพัฒน์ฯ คืออะไร เรื่องสุดท้ายก็คือ ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากงานวิจัยคืออะไร วันนี้ผมไม่ได้ตั้งใจจะมาลงรายละเอียดพวกนี้ แต่ว่าเกริ่นให้ฟังว่า การที่ผมมาเป็นรัฐมนตรีและไปดูงานวิจัย เท่าที่ผมได้เห็นมา ผมมีความรู้สึกอยู่สองอย่าง อย่างแรกก็คือผมรู้สึกว่าเรื่องโจทย์ใหญ่ของประเทศ ที่จะมาทําเรื่องงานวิจัย เรื่อ งนี้น่าจะมาพูดคุยกันต่อไป เราควรที่จะพูดคุยเรื่อง ต่างๆ เหล่านี้ ผมคิดว่าคนที่ดีที่สุดก็คือพวกท่านทั้งหลายที่นั่งอยู่ในห้องนี้ ที่เป็น อาจารย์สอนหนังสือวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องที่สองผมย้ําอีกครั้ง นี่เป็นความรู้สึก ส่ว นตั ว ของผมที่ ผ มเห็ น ผมรู้ สึก ว่ า งานวิ จั ย ที่ ผ มเห็ น ออกมาแสดงในบู๊ ท ต่ า งๆ มีความใกล้เคี ยงกั น หรือว่ าการต่อ ยอดจากปี ที่แล้ วหรื อปีที่ ผ่านๆ มาอาจจะมี ไม่มากนัก อาจจะเป็นเพราะความรู้อันจํากัดของผมก็ได้ เท่าที่ผมดูผมบอกได้เลย นะครับ อย่างผมไปเห็นเรื่องงานอันนี้ แล้วผมไปอีกงานหนึ่งผมแทบจะบรรยาย แทนได้มากพอสมควรเลย งานวิจัยอาจจะมีชื่อไม่เหมือนกัน คนทําไม่เหมือนกัน 120 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 15. แต่ว่าฟังดู concept แล้วมีความใกล้เคียงกันมาก อันนี้ก็เป็นความรู้สึกส่วนตัวของ ผมที่อยากจะเล่าให้ฟัง เพราะฉะนั้นวันนี้ที่ผมได้มีโอกาสจะมาพบปะกับพวกท่าน ผมก็เลยอยากจะขอพูดเรื่องการทําวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ งการทําวิจัยเรื่องของ วิ ท ยาศาสตร์ ท่ า นนายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ พู ด เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ผ่ า นมาหลายเรื่ อ ง เรื่องหนึ่งที่ท่านพูดคือเรื่องของการทําวิจัย จริงๆ ท่านพูดสองเรื่อง เรื่องหนึ่งก็คือ เรื่องของท่านรองปลัดวีระพงษ์ ได้เสนอท่านนายกเกี่ยวกับเรื่องการบูรณาการ การทํา งานวิจัย แต่ผมจะขอไม่พูดในประเด็นนั้น แต่ผมขอพูดอีกประเด็นหนึ่ ง ที่ท่านนายกได้ให้ความสนใจมากก็คือเรื่องของการใช้ประโยชน์จากการทํางานวิจย ั และท่านพูดชัดว่าท่านอยากเห็นการใช้ประโยชน์จากการทําวิจัย เช่น ต่อยอดของ ภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ที่พูดอย่างนี้ไม่ได้หมายความว่าภาคชุมชนหรือภาคอื่นๆ ไม่ มีค วามสํ า คัญ แต่ ว่า เผอิ ญท่ านนายกพู ดถึ งเรื่อ งนี้ วัน นี้ผ มก็ เลยอยากจะขอ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 121
  • 16. อนุญาตเล่าให้ฟังถึงความคิดเห็นของผม ในเรื่องที่การใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งในที่นี้ผมคิดว่าจําเป็นต้อง เชื่อมโยงกับทางด้านของภาคธุรกิจ ภาคเอกชนได้ และผมคิดว่าไม่มีใครรู้ดีในเรื่อง นี้มากไปกว่า การที่เราไปถามภาคเอกชน ผมได้มีโอกาสพบปะกับภาคเอกชนกลุ่ม หนึ่ง อาจจะไม่ใช่ ทั้ง หมด แต่ มีกลุ่ มหนึ่ งได้ฝากประเด็ นให้ กับ ผมมาหลายเรื่อ ง แต่ ผ มคิ ด ว่ า ที่ อ ยากมาพู ด กั บ ท่ า นในวั น นี้ มี อ ยู่ 4 – 5 เรื่ อ งที่ มี ค วามน่ า สนใจ เขาฝากมาเขาบอกว่า คุณมาเป็นรัฐมนตรีคุณน่าจะผลักดันพวกเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ที่จะสามารถทําให้งานวิจัยของผมมีประโยชน์ จับต้องได้และเรื่องของการได้รับ การยอมรับในสังคมก็จะตามมา เมื่อเกิดการใช้ประโยชน์อย่างจริงจัง หลายท่าน ที่นั่งอยู่ตรงนี้เป็น นักวิท ยาศาสตร์ ต้องขอพูด ไว้ก่อ นเลยนะครับว่า การทํ าวิจั ย ทางด้านพื้นฐานสําคัญ รัฐบาลต้องสนับสนุนเพราะเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ภาคเอกชน คงมาสนับสนุนไม่ได้ และตรงนี้เรายังทําวิจัยไม่พอ เราก็ต้องทําวิจัยเพิ่ม เวลาที่เรา บอกว่าอยากจะเห็นภาคเอกชนเข้ามาทํางานวิจัยตามแผนวาระแห่งชาติอันใหม่ ที่เราอยากจะเห็นภาคเอกชนมาทํางานวิจัยมากขึ้นมีสัดส่วนที่มากขึ้นมากกว่า ภาครัฐ แต่ไม่ได้หมายความว่าเราจะลดบทบาทภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง ของการทําวิจัยขั้นพื้นฐาน แต่ว่าวันนี้เรามาเซ็ตพารามิเตอร์ให้ชัดว่าสิ่งที่ผมอยาก พูดกับท่านในวันนี้คือเรื่องของการใช้ประโยชน์จากการทําวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานวิจั ย ด้า นวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม ที่ จ ะนํ า ไปก่ อประโยชน์ ทางด้านเศรษฐกิจ ประเด็นที่ฝากมาบางเรื่องก็เข้าตัวผมโดยตรง บางเรื่องก็จะเป็น เรื่องของพวกเราทุกคน ในฐานะที่เป็นเจ้าของประเทศ เรื่องแรกสุดที่ผมจะพูดถึงที่ ทางภาคเอกชนฝากมา เขาพู ดถึ ง เรื่ อ งของปัญ หา มุ ม มองแนวคิ ด และการให้ ความสําคัญของทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ต่อเรื่องของวิทยาศาสตร์ คําถามล่าสุด 122 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 17. ก็คือผู้นําประเทศสูงสุดได้ให้ความสําคัญกับทางด้านของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรมแค่ ไ หน ผมตอบได้ เ ลยว่ า ทางด้ า นท่ า นนายกรั ฐมนตรี อ ภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ ท่ า นเป็ น นายกรั ฐ มนตรี ที่ ผ มพู ด ได้ เ ลยว่ า ให้ ค วามสํ า คั ญ ด้านวิทยาศาสตร์มากกว่ารัฐมนตรีท่านอื่นๆ ที่ผ่านมาหลายท่านในอดีต ผมเองก็มี โอกาสทํางานการเมืองกับนายกหลายท่าน แต่ละท่านก็จะมีมุมมองในเรื่อ งที่จะ เน้ น จะทํ า ไม่ เ หมื อ นกั น แต่ ท่ า น นายกอภิ สิ ท ธิ์ ไ ด้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ กับเรื่องวิทยาศาสตร์ ก่อนที่ผมจะ มาเป็น รั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวง วิทยาศาสตร์ฯ ท่านพูดกับผมเรื่อง หนึ่ ง ซึ่ ง ผมก็ ไ ด้ มี โ อกาสคุ ย กั บ ผู้บริหารกระทรวงหลายครั้งแล้วว่าคุณจะทําอย่างไรให้การบูรณาการทางด้านการ วิจัยเป็นไปในทิศทางเดียวกันและมีประโยชน์สูงสุด เพราะคุณก็รู้ว่างบประมาณ ของประเทศเราไม่มีมากมายขนาดนั้น ให้ใช้งบเท่าที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ อันนี้ ผมตอบได้ ว่ า ท่ า นนายกให้ ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งของวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีมาก เรื่องต่อมาที่เขาอยากจะพูดถึงอาจจะเกี่ ยวข้องกับตัวผมโดยตรงแต่ว่า สิ่ ง นี้ ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาผ่ า นไปแล้ ว ก็ ต้ อ งกลั บ มาดู เขาบอกว่ า อยากเห็ น รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ ฯ เป็ น คนที่ มี ศั ก ยภาพที่ จ ะเชื่ อ มโยง และต่อยอดในเชิงพาณิชย์ได้ ผมย้ําอีกครั้งนะครับว่า กลุ่มที่ผมพูดด้วยนี่มาจาก ภาคเอกชน เพราะฉะนั้นมุมมองเขาก็จะเน้นไปในด้านนี้ ถ้าท่านพูดกับพวก NGO ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 123
  • 18. เขาก็อยากเห็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ความสําคัญใน เรื่องการต่อยอดเรื่องของการพัฒนาคุณภาพชีวิต เรื่องของการที่จะแก้ปัญหาใน เรื่องของความเหลื่อมล้ําทางสังคม เขาอยากเห็นรัฐมนตรีที่จะสามารถเชื่อมโยง และต่อยอดในเชิงพาณิชย์ เรื่องต่อไปที่เขาพูด เขาก็บอกว่า ทั้งนายกรัฐมนตรี ทั้งรัฐมนตรีเดี๋ยวมาเดี๋ยวก็ไป คือจะทํายังไงให้มันยั่งยืนได้ เขาก็บอกว่าอยากเห็น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม อยู่ในหน้าแรกคําใหญ่ๆ เลยอยู่ในแผนของ สภาพัฒน์ฯ อันนี้มันจะเป็นเครื่องการันตีว่าพวกคุณอยู่หรือไม่อยู่ก็ไม่เป็นไร เราจะ เดินไปในแนวทางอย่างนี้ ผมว่าสิ่งนี้ก็เป็นเรื่องที่สะท้อนมุมมองว่า ภาคเอกชน อยากเห็นเรื่องต่างๆ เหล่านี้ ผมคิดว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องที่เราพยายามให้ความสนใจ และผมในฐานะที่เป็นรัฐมนตรี ตั้งใจที่จะขับเคลื่อนเรื่องนี้ด้วย เรื่องที่สองที่เขาพูด ถึงก็คือเรื่องของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการทําวิจัยพูดให้ ชัดไปกว่านี้เลยนะครับ เขาตั้งใจที่จะเน้นในเรื่องของคนและบุคลากร บางคนก็ บอกว่าทําไม่ได้ แต่มีมหาวิทยาลัยบางแห่งทําได้ เรื่องแรกที่เขาพูดถึงเลย คือเขา อยากให้ภาครัฐเปิดโอกาสให้นักเรียนทุน และนักวิจัยภาครัฐให้สามารถทําวิจัย ร่วมกับภาคเอกชน อันนี้ย้อนมาที่มหาวิทยาลัยของท่าน พวกท่านทั้งหลายที่เป็น อาจารย์ ผมเข้าใจนะครับว่าบางแห่งสามารถทําเรื่องนี้ได้ คือท่านปล่อยให้นักวิจัย ของท่านออกมาทํางานกับภาคเอกชน ทําเสร็จแล้วเขาก็สามารถที่จะเอาความรู้ ต่างๆ กลับเข้ามาในมหาวิทยาลัยเดิมได้และตรงนี้กลุ่มภาคเอกชนเขาเชื่อว่าจะ เป็นกลไกที่ดีที่สุด ในการที่จะสามารถเชื่อมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน จะเป็น กลไกที่ดีที่สุดคือ ทําให้นักวิจัยของเราสามารถตั้งโจทย์และทํางานวิจัยเชื่อมโยง กับภาคธุรกิจเพื่อไปเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ อีกเรื่อง หนึ่งที่เขาพูดถึง ยังอยู่ภายใต้แนวความคิดที่ใกล้เคียงกัน ก็คือเรื่องของนักเรียน 124 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 19. ทุน เขาก็อ ยากที่ จะเห็ นนั ก เรี ยนทุน เวลากลับ มาแล้ว แทนที่ จะกลั บมาทํ างาน ภาครัฐโดยตรงก็สามารถทํางานกับภาคเอกชนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนทุน ที่ทํางานอยู่ต่างประเทศอยากจะเปิดช่อง ให้เขาสามารถที่จะทํางานในต่างประเทศได้ สักระยะเวลาหนึ่ ง และตรงนี้ให้คิ ดถึงเรื่องของสิท ธิประโยชน์ ระยะเวลาในการ ทํ า งานด้ ว ย สิ่ ง นี้ ผ มคิ ด ว่ า สํ า คั ญ ในความเห็ น ส่ ว นตั ว ของผม คื อ คนที่ จ บกลั บ มาแล้วหรือคนที่เพิ่งจบมา ถ้ากลับมาทํางานในประเทศไทยก็จะกลายเป็นสภาพ การทํ า งานอี ก แบบหนึ่ ง แต่ ถ้ า ท่ า นสามารถเปิ ด โอกาสให้ กั บ เขาทํ า งานใน ต่า งประเทศได้ ใ นเรื่ อ งที่ เ ขาทํ า อยู่ ผมคิ ด ว่ า จะสามารถได้ ค วามรู้ อี ก มากมาย มหาศาลก่ อ นกลั บ มาประเทศไทย อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ เ ขาพู ด ถึ ง สิ่ ง นี้ก็ จ ะเกี่ ย วกั บ มหาวิทยาลัยโดยตรง อาจจะไม่เกี่ยวกับนักวิจัยโดยตรง แต่เกี่ยวกับเขาอยากเห็น การจัดตั้งศูนย์วิจัยร่วมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและที่เขาอยากเห็นอยากให้ มันตั้งอยู่ใน Science park ตั้งอยู่ในที่ที่มันมีมหาวิทยาลัยที่มีนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัยที่มาช่วยพัฒนาตรงนี้ได้ ซึ่งเป็นเรื่ องที่ผมเอง ท่านปลัดฯ ท่านรองปลัดฯ ก็กําลังผลักดันอยู่ในเรื่องของอุทยานวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ที่จะเน้นในเรื่องของ นิคมการทําวิจัย ก่อนที่ผมเข้ามาในห้องนี้ก็มีอาจารย์ หลายท่านเข้ามาพูดกับผม เรื่องนี้ว่าเราจะขับเคลื่อนไปได้อย่างไร เท่าที่ผมคุยกับท่านปลัดฯ เมื่อไม่ กี่วันมานี้ เข้าใจว่าเรื่องนี้ประมาณไม่เกินเดือนพฤศจิกายน เราจะมีความคืบหน้าบางอย่าง เข้า ครม. เพื่อรับการพิจารณาเรื่องนี้ก็เป็นอีกเรื่องที่ไม่ควรจะรอถ้าตั้งใจจะทํา ประเด็นที่ผมพูดถึงประเด็นที่สองในความรู้สึกส่วนตัวผม ผมคิดว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องที่ สําคัญมาก เป็นเรื่องที่ควรจะผลักดันในระยะสั้นและผมคิดว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับพวกท่านโดยตรง ในฐานะที่อยู่ในประชาคมวิจัย แวดวงคณาจารย์ก็คือในเรื่อง ตัวนักวิจัย นักเรียนทุน ในเรื่องของศูนย์การวิจัย เรื่องที่สามเป็นเรื่องปัญหาที่ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 125
  • 20. ละเอียดอ่อนมากๆ และผมเชื่อว่า รมว.วท. ทุกคนก็ไม่อยากพูดถึง แต่เป็นเรื่องที่ สําคัญและต้องทํา คือเรื่องของเงินทุน เรื่องของงบประมาณทางด้านการทําวิจัย ผมย้ําอีกครั้งหนึ่งเลยว่าทุกคนที่มาเป็น รมว.วท. รวมถึงตัวผมด้วย ทุกคนมีความ พยายามที่จะผลักดันงบประมาณในเรื่องที่จะสนับสนุนการทําวิจัย อย่างในแง่ของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เอง ท่านรองปลัดฯ ก็บอกผมว่างบประมาณส่วนใหญ่ที่ ตั้งอยู่ในสํานักงานปลัดฯ มากกว่าพันล้าน ประมาณพันห้าร้อยล้าน เราใช้ในเรื่อง ของนั ก เรี ย นทุ น นั ก เรี ย นทุ น ก็ ไ ด้ ค วามรู้ ใ หม่ ก ลั บ มา ที่ อ ยากจะพู ด ก็ คื อ ว่ า ทุกรัฐมนตรีผลักดัน สนับสนุนงบประมาณเรื่องการทํางานวิจัย เรามาดูความเป็น จริงของประเทศไทย ในเรื่องการจัดทํางบประมาณ คือบังเอิญที่พวกท่านทั้งหลาย และผมไม่ได้นั่งอยู่ในกรรมาธิการงบประมาณ วิธีคิดหรืออะไร บางทีแตกต่างกัน จะไปบอกว่าเขาผิดผมไม่อยากพูดอย่างนั้น จะไปบอกว่าเขาไม่ถูกก็จะไปพูดอย่าง นั้นไม่ได้ เขาก็มีการจัดลําดับความสําคัญของเขาว่าอะไรสําคัญก่อน อะไรสําคัญ หลัง ก็เอาเป็นว่าในเรื่องของการจัดทํางบประมาณก็จะพยายามผลักดันให้ได้รับ งบประมาณที่มากขึ้น ท่านนายกรัฐมนตรีก็พยายามพูดถึงตัวเลขที่เป็นสัดส่วนต่อ GDP ซึ่ง อัน นั้น เป็น แผนระยะยาว รัฐมนตรีทุก คนที่ม าทํา งานตรงนี้ ก็มีห น้า ที่ ผลักดันสิ่งที่รัฐมนตรีได้ประกาศเป็นนโยบายเอาไว้ แต่ว่าสิ่งที่ผมอยากจะพูดที่ สําคัญกว่า แล้วก็เป็นสิ่งที่ภาคเอกชนเขาพูดถึงมาก และดูเหมือนจะมากกว่า เรื่อง งบประมาณโดยตรงด้วยซ้ํา ก็คือเรื่องของการหักสิทธิประโยชน์ทางภาษีต่างๆ อย่างตอนนี้เราให้ 200 % และเมื่อเร็วๆ นี้ ทาง สวทน. ก็ได้ทําแผนขึ้นมาผลักดัน ให้คณะกรรมการไปเรียบร้อยแล้ว เราต้องการที่จะลดหย่อนภาษีตรงนี้ไปถึง 300 % ของการทําวิจัย ตรงนี้ผมก็คิดว่าเป็นความคืบหน้าในระดับหนึ่ง ความคืบหน้าที่ สําคัญกว่านั้น ก็คือการที่เราจะสามารถบังคับในสิทธิประโยชน์นี้ ได้อย่างจริงจัง 126 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 21. อันดับต่อไปคือเขาอยากเห็นภาครัฐและเอกชนจับมือกันจัดตั้งกองทุนทางด้าน R&D และก็มีความคิดเห็นเพิ่มเติมอีกว่าเมื่ อจัดตั้งกองทุนนี้แล้ว เวลาภาคเอกชน เอาเงินเข้ามาใส่ตรงนี้แล้วลดหย่อนภาษีได้เลยหรือไม่ คือไม่ต้องไปใช้ระยะเวลา 2 - 3 ปี หลังจากไปวิจัยและพัฒนาแล้ว อันนี้ก็ฝากไว้ ท่านทั้งหลายที่นั่งอยู่ที่นี่เป็น ผู้นําในแวดวงวิชาการก็ฝากช่วยกันคิด เขาก็บอกว่าถ้าทําอย่างนี้ได้เอกชนใส่เงิน เข้ามาได้เลย จะเจาะจงเป็นเรื่องๆ หรือว่าจะเป็นเรื่องใหญ่เลยก็ ได้ ยกตัวอย่าง เช่น อุตสาหกรรมปิโตรเคมี คือเขาใส่เงินเข้ามาเลย กองทุนนี้ทําเรื่องของปิโตรเคมี อะไรก็ ไ ด้ ห รื อ ไม่ ก็ จ ะ เป็นบางเรื่องของปิโตร เค มี อั น นี้ ก็ แ ล้ ว แ ต่ อีกเรื่องหนึ่งที่ผมคิดว่า สํ า คั ญ ม า ก แ ล ะ มั น เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ทํางานของผม ซึ่งอันนี้ ผมจะต้ อ งพู ด คุ ย กั บ รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องด้วยนะครับ คือเขาบอกว่าถ้ารัฐบาลเพิ่ม งบประมาณการทํา วิจัยได้ก็ดี ถ้าเพิ่มไม่ได้เอาอันที่คุณเคย commit ไว้ได้หรือไม่ว่าคุณเคยบอกว่า จะต้องทําอยู่แล้ว คุณทําให้ได้ตอนนั้น ยกตัวอย่างเช่น รัฐวิสาหกิจ คุณกําหนดไป เลยว่ า คุ ณ จะต้ อ งใช้ ง บประมาณในการวิ จั ย พั ฒ นาเท่ า ไร เป็ น กี่ เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ซึ่งเดี๋ยวนี้เขาบอกว่ามี 3 % ผมคิดว่าอันนี้ค่อนข้างน่าสนใจ มันไม่ได้ใช้งบประมาณ อะไรเพิ่ม เพียงแต่เกลี่ย งบประมาณที่ต้องทําอยู่แล้ วในรัฐวิสาหกิจ ตัดออกมา สมมุติว่า 3 % ทันทีไม่ได้ไม่เป็นไรคุณบอกมา รัฐวิสาหกิจแต่ละแห่งให้คุณทําแผนมา ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 127
  • 22. ว่าเมื่อไรคุณจะถึง 3 % คือปีนี้อาจจะไม่ได้ขอ 3 ปีได้ไหม หรืออย่างช้าสุด 4 ปี ผมว่าสิ่งนี้ค่อนข้างน่า สนใจ อาจจะไม่ได้เป็นความคิดอะไรที่ใหม่ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ผมคิดว่าเป็นสิ่งที่จับต้องได้ เรื่องต่อไปจะพูดถึงปัญหาด้านนโยบายและโครงสร้างขององค์กร อันนี้ ผมรู้สึกว่ าภาครั ฐ คนที่ ทํา งานวิ จั ยในแวดวงของรัฐจะค่ อนข้า งให้ ความสํา คั ญ ในเรื่องนี้ และสิ่งที่ผมไปพูดกับภาคเอกชน เขาคิดว่าเป็นปัญหาและอยากให้แก้ไข แต่เขาไม่รู้จะไปคุยอย่างไรก็ฝากลองไปคิดกันดู อย่างตอนนี้เรามีหน่วยงานวิจัย หรือที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย จะพูดง่ายๆ จะแบ่งเป็น 4 ระดับ ในระดับแรกเป็นเรื่อง ทิศ ทางของนโยบายซึ่ งตอนนี้ เ รามี วช. เป็น หลัก และถ้า เราลงไปแต่ ละสาขา ยกตัวอย่างเช่น วิทยาศาสตร์ เราก็จะมี สวทน. เป็นตัวหลัก ในเรื่องอื่นเขาก็จะมี ตัวอื่นเป็นหลัก ระดับที่สองหน่วยงานที่ให้ทุนหน่วยงานที่สนับสนุนต่างๆ ตอนนี้ก็ มีความคืบหน้าระดับหนึ่ง คือตอนนี้ทุกสองเดือนทางสํานักงาน สวทน. มานั่งกิน ข้าวกินกาแฟและสิ่งที่เขาพยายามจะทํา สิ่งแรกที่เขาทําได้จะเป็นก้าวแรกที่สําคัญ ที่ผ่านมาเขากําลังจะทําเรื่องฐานข้อมูล ซึ่งเรื่องนี้ทางเลขาธิการ วช. หรือท่านรอง ปลัดฯ วีระพงษ์ ให้ความสําคัญกับเรื่องนี้มาก เรื่องที่สามคือหน่วยงานที่ทําวิจัย ต่างๆ พวกท่านทั้งหลายส่วนใหญ่ที่นั่งอยู่ในห้องนี้ ที่อยู่มหาวิทยาลัยต่างๆ รวมถึง หน่วยงานในภาครัฐอื่นๆ รวมถึงหน่วยงานในภาคเอกชน และเรื่องที่สี่ที่ผมคิดว่ามี ความสําคัญอย่างยิ่งเลย ก็คือหน่วยงานที่จะมาใช้ประโยชน์จากการวิจัย ถ้ าท่าน มาดูโครงสร้างต่างๆ ที่ผมพูดอาจจะพูดไม่หมดด้วยซ้ํา แต่ของผมคิดว่ามีสี่เรื่อง นี่แหละ เรื่องนโยบาย เรื่องสนับสนุนให้ทุน เรื่องหน่วยปฏิบัติที่ทํางานวิจัย และผู้ที่ ใช้ประโยชน์จ ากการวิจัย ในแต่ละเรื่องท่ านจะบู รณาการ การทํางานของท่า น 128 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 23. อย่ า งไร บางเรื่ อ งก็ เ กี่ ย วกั บ หลายเลเยอร์ ม าก สิ่ ง นี้ ท่ า นจะทํ า อย่ า งไร ซึ่ ง ภาคเอกชนเขาก็ ฝ ากมาถามว่ า สามารถจะบู ร ณาการโครงสร้ า งองค์ ก ร ของหน่ว ยงานที่ทํ าวิ จัย ก็จ ะเป็ นประโยชน์ มาก และอีก เรื่ องหนึ่ งพู ดถึ งในด้ า น โครงสร้าง แต่ย้ําอีกทีอันนี้ฝากมาจากภาคเอกชน เขาก็บอกว่าถ้าเป็น ไปได้ อยาก ให้ท่านนายกมากํากับดูแลงาน ทางด้านการวิจัยโดยตรง ไม่ใช่มอบท่านรองนายก และก็มีข้อสังเกตต่อไปอีกว่า ถ้ามอบท่านรองนายก อันนี้ผมพูดในเชิงหลักการ ไม่ได้พูดเชิงตัวบุคคล ขอไม่ให้มอบรองนายกที่ดูแลด้านสังคมได้หรือไม่ ขอให้ มอบรองนายกรัฐมนตรีที่ดูแลด้านเศรษฐกิจ พวกที่เข้ามาคือภาคเอกชน ภาคธุรกิจ เขาก็อยากจะเห็นแบบนี้ ผมเชื่อว่าถ้าท่านไปถามคนอีกกลุ่มหนึ่ง เขาก็อาจจะไม่ เห็นด้วย การที่เราจัดให้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ อยู่ในสายงานก็มีประวัติศาสตร์ มีความเป็นมา มีเหตุผลของมัน ไม่ใช่ว่าไม่ถูกต้อง ขึ้นอยู่กับมุมมองเพราะว่าเป็น มุมมองด้านโครงสร้าง เรื่องสุดท้ายที่ผมอยากพูดถึง เป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัวท่านมาก คือเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา พูดถึงเรื่องที่เขาอยากเห็น พูดถึงเรื่องการมาทํางาน ร่วมกันและใครเป็นเจ้าของสิทธิประโยชน์ตรงนี้ มุมมองก็เลยต่างกัน ในส่วนของ มหาวิทยาลัย ท่านอาจจะต้องการความเป็นเจ้าของ เพื่อที่ท่านจะสามารถไปต่อ ยอดงานวิจัยของท่านได้ต่อไปและเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับสาธารณะ แต่ว่าใน ด้านของเอกชน เขาอาจจะต้องการความเป็นเจ้าของ ไม่ใช่ไปต่อยอดแต่เพื่อไป ผลิตหรือปรับปรุงสินค้าของเขา และเขาก็ไม่ต้องการเผยแพร่เพราะเป็นความลั บ ทางธุรกิจ ตรงนี้ต้องหาจุดสมดุลที่ดี ผมอยากเห็นทําวิจัยมาแล้วก่อให้เกิดสิทธิบัตร หรือทรัพย์สินทางปัญญา ผมอยากที่จะใช้ประโยชน์จากตรงนี้ได้ ผมว่าอันนี้ทาง มหาวิทยาลัยก็ต้องคิดเหมือนกันว่าจะทํากันอย่างไร เท่าที่ผมเห็นว่าในประเทศ ไทยมีรูปแบบหลากหลายมาก ใช้ดุลพินิจมากพอสมควร หลักๆ วันนี้ที่อยากมาคุย ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 129
  • 24. ก็ เ ป็ น เรื่ อ งของการวิ จั ย อ ย่ า ง ที่ ผ ม พู ด ท่ า น นายกรั ฐ มนตรี ท่ า นเน้ น ในเรื่ อ งของการวิ จั ย และ บั ง เอิ ญ เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ผ่ า นมา ท่ า นบอกว่ า ทํ า อย่ า งไรที่จ ะใช้ป ระโยชน์ จากการวิ จั ย ให้ ม ากที่ สุ ด และท่ า นก็ เ น้ น ถึ ง การต่ อ ยอดภาคเอกชนเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในด้านการแข่งขันของประเทศ ผมก็เลยขออนุญาตนําความคิดเห็น ของบางกลุ่มในภาคธุรกิจ ซึ่งเขาสะท้อนมาให้ผมยี่สิบกว่าเรื่อง แต่ผมยกมาแค่ ห้าเรื่องที่ผ มคิด ว่ามั นมี ความสํา คัญ เรื่ องที่ อยากจะฝากไว้ให้ ท่านช่ว ยคิด เป็ น พิเ ศษเลย ก็ คื อ ความร่ ว มมือ ภาครั ฐภาคเอกชน ในเรื่ อ งการทํ าวิ จั ย เรื่ องของ บุค ลากร ตรงนี้ผ มคิด ว่ าถ้ าทํ า ตรงนี้ไ ด้ ดีจ ะเห็ นผลเลยภายใน 10 ปี วั น นี้ต้ อ ง ขอขอบคุณนะครับ สิ่งที่ผมมาพูดเชื่อว่าทุกท่านทั้งหลายคงจะมีความรู้มากกว่าผม แต่ครั้งนี้ผมขออนุญาตเล่าให้ฟังในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นี่คือสิ่งที่ผมเห็นเมื่อ 2 - 3 เดือนที่ผ่านมา ผมไปดูงานต่างๆ มีมุมมองเรื่องการ วิจัยและได้คุยกับภาคเอกชนบางส่วนและนํามาเล่าให้ฟังแต่ขอย้ําอีกที ผมก็คุยกับ NGO ภาคประชาสังคม ผมก็คุยกับอาจารย์อย่างท่าน แต่วันนี้เอามุมมองอันนี้มา สะท้อนให้พวกท่านฟัง ก็หวังว่าจะเป็นประโยชน์บ้าง ขอบคุณครับ เรียบเรียงโดย : เฉลียว แสนดี 130 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 25. งานแถลงข่าว “ศูนย์เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของไทย” วันพุธที่ 8 กันยายน 2553 เวลา 10.00 – 11.30 น. ณ ห้องโถง ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ พิ ธี ก ร : ขอเรี ย นเชิ ญ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ดร. วี ร ะชั ย วี ร ะเมธี กุ ล ได้ ก ล่ า วถึ ง ความสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น “ศูนย์ฯ เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของไทยและของเอเชียด้วยค่ะ” รมว.วท. : บั ง เอิ ญ กระทรวงวิ ท ย์ ฯ เราโชคดี น ะครั บ เรามี ท่ า นปลั ด สุจินดาซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องเซรามิกและเรื่องแก้ว ทําให้ผมได้รับรู้รับทราบถึง เรื่องของอุตสาหกรรมแก้วมาบ้างพอสมควร จริงๆ แล้วแก้วมีคุณสมบัติที่สําคัญๆ หลายประการแต่ ผ มอยากขอใช้ โอกาสนี้ พู ด ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ เพี ย งแค่ ป ระการเดี ย ว ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า เหมาะกั บ เรื่ อ งที่ กํ า ลั ง เกิ ด ขึ้ น ใน ปั จ จุ บั น นั่ น ก็ คื อ แก้ ว ถื อ เป็ น วั ส ดุ ที่ เป็นมิ ตรต่ อสิ่งแวดล้ อม สามารถนํ า กลับมารีไซเคิลได้ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งถ้าเราไปดูวัสดุที่ใช้ในชีวิตประจําวั น ต่างๆ ผมคิดว่ามีวัสดุน้อยมากที่จะมีคุณสมบัติเช่นนี้ ถ้ามาพูดถึงเรื่องความสําคัญ ของเรื่องอุตสาหกรรมแก้วในวีดีทัศน์ได้พูดไปแล้ว บางประการผมขอยกตัวอย่าง 2 – 3 เรื่อง ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 131
  • 26. ในเรื่องแรก ”อุตสาหกรรมแก้ว ” ถือว่าเป็นอุตสาหกรรมที่สําคัญของ ประเทศมีมูลค่าการส่งออกไม่น้อยกว่า 20,000 ล้านบาทและที่สําคัญมีแนวโน้มที่ จะเติบโตอย่างก้าวกระโดดต่อไปในอนาคต คํา ว่า “ก้า วกระโดด” ในที่นี้ไ ม่ไ ด้ หมายถึง เติ บโตไปเพีย ง 10 เปอร์เ ซ็น ต์ 15 เปอร์ เซ็ นต์ แต่ ว่า อาจจะเติบ โตถึ ง 30, 40, 50 เปอร์เซ็นต์ด้วยอันนี้คือเรื่องที่หนึ่ง เรื่องที่สอง “อุตสาหกรรมแก้ว” หลายท่านอาจยังไม่ทราบว่าอุตสาหกรรม แก้วถือเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับ อุ ต สาหกรรมที่ สํ า คั ญ ๆ ในประเทศ หลายอุตสาหกรรมเลยไม่ว่าจะเป็นใน เรื่องอุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรม เครื่องใช้ไฟฟ้า ท่านลองไปดูเกือบทุกอย่างมีแก้วทั้งนั้น และเรื่อ งสุ ดท้ า ยที่อ ยากจะพู ดในที่ นี้ คื อ “อุต สาหกรรมแก้ ว ” ถื อ เป็ น อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานค่อนข้างมาก ซึ่งตรงนี้มีหลายมุมมองแต่ถ้ามุมมองของ ผมซึ่งเป็นรัฐบาลผมถือว่าเป็นเรื่องที่สําคัญเพราะว่าเป็นอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิด การจ้างงานมาก เพราะเป็นอุตสาหกรรมที่จ้างงานเสร็จแล้วก็จะมีเรื่องของการ กระจายรายได้ หลักๆ ก็สามสี่เรื่องครับ พิธีกร : ค่ะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมนะคะ เรื่องของการรีไซเคิล 100 เปอร์เซ็นต์ จากอุ ต สาหกรรมแก้ ว มู ล ค่ า การส่ ง ออกไม่ ต่ํ า กว่ า 20,000 ล้ า นบาทต่ อ ปี มีอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอีกมากมายและการใช้งานก็จะเยอะ ถ้าอุตสาหกรรมนี้โต 132 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 27. ท่านบอกว่าแนวโน้มสดใสในการเติบโตนั้นมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่องด้วย ที่นี้ บทบาทของสื่อนี้ในการทําหน้าที่และการสนับสนุนให้อุตสาหกรรมนี้เติบโตใน มุมมองของท่านรัฐมนตรีในแนวนโยบายตรงนี้เป็น อย่างไรคะ รมว.วท. : กระทรวงวิทย์ฯ โชคดีคือเรามีปลัดกระทรวงซึ่งมา จากอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ เก่า ผมขอตอบคําถามนี้ในสองมิติ ว่ า ใ น ปั จ จุ บั น แ ล้ ว ท า ง ก ร ม วิทยาศาสตร์บริการทําอะไรไปแล้ว บ้างและกรมวิทยาศาสตร์บริการกําลังจะทําอะไรต่อไปในอนาคต หลังจากที่เรามี ศูนย์เชี่ยวชาญด้านแก้วแห่งแรกของประเทศไทยและของอาเซียน คนส่วนใหญ่คง ไม่ทราบว่ากรมวิทยาศาสตร์บริการถือว่าเป็นกรมหลักของกระทรวงวิทย์ฯ ของเรา เลยนะครับ เป็นกรมที่มีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยตรงและมีความเชี่ยวชาญในเรื่องของ แก้ว แต่ที่คนส่วนใหญ่จะรู้จักบทบาทมากๆ เลยจะเป็นเรื่องมิติของการวิเคราะห์ การทดสอบ ซึงในวีดีทัศน์มีพูดไปแล้วนะครับ เราดูเครื่องมือที่มาทดสอบเรื่องแก้ว ่ มีราคาค่อนข้ างแพงถ้าให้ เอกชนบริษัท ใดบริษัทหนึ่ง มาลงทุน ตรงนี้อาจจะยั ง ไม่คุ้ม และอันที่สองคือในเรื่องของห้อง LAB ที่จะมาใช้ในการทําการทดลองจําเป็น จะต้องได้รับการรับรองจากมาตรฐานจากระดับนานาประเทศ เพราะฉะนั้นตรงนี้ เป็ น หน้ า ที่ ข องรั ฐ บาล เป็ น หน้ า ที่ ข องกระทรวงวิ ท ย์ ฯ เป็ น หน้ า ที่ ข องกรม วิทยาศาสตร์บริการที่จะให้บริการเรื่องนี้ แต่จริงๆ แล้ว กรมวิทยาศาสตร์บริการมี มิติอื่นๆ อีกซึ่งคนทั่วไปอาจจะไม่ค่อยทราบมากนัก นั่นก็คือเรื่องของการวิจัย การ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 133
  • 28. พัฒนา จริงๆ แล้วตรงนี้เราก็ทําอยู่แต่ว่าที่ทํามาในอดีตอาจเป็นเรื่องของ in house มากกว่ า เป็ น เรื่ อ งการทํ า วิ จั ย ภายในนะครั บ อั น นี้ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราทํ า มาในอดี ต ในปัจจุบันหลังจากที่เรามีศูนย์เชี่ยวชาญ แห่งแรกด้านแก้วแล้วนะครับบทบาทที่จะ ทําต่อไป 1 ) ศู น ย์ เ ชี่ ย ว ช า ญ คุณอลิ ศราพูด ไปแล้ ว ว่า เป็ นศู น ย์ เชี่ ย วชาญด้ า นแก้ ว แห่ ง แรกของ ประเทศไทยและของอาเซียนด้วย ตรงนี้จะมีประโยชน์กับที่คนค้าขาย กั บ เรา ทํ า ให้ มี ค วามมั่ น ใจมาก ยิ่งขึ้นในเรื่องของคุณภาพมาตรฐานแก้วของเรา ที่นี้ถามว่าจะทําอย่างไรต่อไป ในอนาคต อันหนึ่งที่เราจะทําเรื่องของการวิเคราะห์ การทดสอบต่อไป เพียงแต่ว่า ตอนนี้ศูนย์ฯ เชี่ยวชาญแห่งนี้ได้รับมาตรฐานจาก BAS ของประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็น ที่ยอมรับกันทั่วโลกนะครับ การที่เราจะวิเคราะห์ ทดสอบอะไรต่อไปจะมีความ มั่นใจยิ่งขึ้น 2) เรื่องการวิจัยและพัฒนาตรงนี้ผมอยากเน้นย้ําให้ความสําคัญเป็น พิเศษ ผมได้คุยกับผู้บริหารของกระทรวงฯ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องนี้หรือเรื่องอื่นๆ ว่า ผมอยากเน้นย้ําในเรื่องการทําวิจัย การตอบโจทย์อย่างในกรณีนี้ตอบโจทย์ของ ภาคเอกชนได้ ภาคชุมชนได้ ซึ่งตรงนี้ต้องลงในรายละเอียดว่าในชุมชนเราจะทํา อะไร ในเอกชนเราจะทํ า อะไร ส่ ว นเรื่ อ งต่ อ ไปซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น คื อ หลังจากที่เราทําการวิเคราะห์ เราทําการตรวจสอบแล้ว เราก็หวังว่าเวลาวิเคราะห์ 134 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 29. ไปแล้ วอาจจะมีปั ญหาขึ้น มา เราก็ห วัง ว่ าเราจะให้ บริ การในลัก ษณะที่ เป็ นเชิ ง แนะนําได้นะครับ พอวิเคราะห์มาแล้วมีปัญหาอย่างนี้กรมวิทยาศาสตร์บริการเข้า มาเป็น Partner กับผมช่วยแก้ปัญหาหลักๆ ก็ประมาณสองสามเรื่องนี้ครับ พิธีกร : วิเคราะห์เพื่อตอบ รู้จักพัฒนาที่ท่านเน้นว่าจะต้องตอบโจทย์ทั้ง ภาคอุตสาหกรรม ทั้งชุมชนด้วยและการแก้ไขปัญหา สิ่งที่ท่านคาดหวังอยากจะ เห็นแนวทางการดําเนินการของศูนย์ฯ นี้มีอะไรบ้างคะ รมว.วท. : ความคาดหวั ง ของผมคิ ด ว่ า ปั จ จุ บั น ศู น ย์ ฯ แห่ ง นี้ ถื อ เป็ น ศูนย์ฯ แห่งแรกในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน อุตสาหกรรมนี้จะเติบโตต่อไป ข้างหน้าในอนาคต ทางกรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทย์ฯ อยากเป็นส่วน หนึ่งที่อยากเห็นอุตสาหกรรมนี้เติบโตไปได้ในอนาคตซึ่งจะสอดคล้องกับนโยบายที่ ท่านนายกรัฐมนตรีอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ท่านพูดอยู่เสมอว่าอยากให้การวิจัย การ พัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เรื่องของวิทยาศาสตร์มาเป็น ส่ ว น ห นึ่ ง ใ น ก า ร เ พิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ และนี่คือเหตุผล ของความคาดหวั งของพวก เราทุกคนว่าหลังจากที่เรามี ศูนย์ฯ อันนี้แล้วเราจะสามารถมาช่วยภาคเอกชนในการพัฒนาศักยภาพของพวก ท่านทั้งหลายได้ครับ ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 135
  • 30. พิธีกร : เป็นส่วนหนึ่งที่จะทําให้อุตสาหกรรมเติบโตค่ะ ขอบพระคุณท่าน รัฐมนตรีค่ะ เรียนถามท่านอธิบดีบ้างนะคะ อย่างที่เราได้ชม VTR ตั้งแต่ปี 43 เรามี ห้องปฏิบัติการแก้วและทําหน้าที่เรื่องนี้มาตลอดจนวันนี้มาเป็นศูนย์ฯ อยากให้ ท่านเล่าให้ฟังว่าที่ผ่านมาเราได้ทํางานอย่างไรบ้าง อวศ. : ตามที่ท่านรัฐมนตรีได้กล่าวไปหมดแล้วนะครับซึ่งค่อนข้างจะ ครอบคลุม ในส่วนของการจัดตั้งเป็นศูนย์ฯ เชี่ยวชาญแก้วแห่งแรกของไทยคือเดิม ทีเดียวปี 2543 เราได้จัดตั้งโครงการห้องปฏิบัติการแก้ว ประจวบกับเรามีบุคลากร ที่จบปริญญาเอกและปริญญาโทด้านนี้ อีกประเด็นหนึ่งก็คือในช่วงนั้นเราได้มีการ ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบงานวิจัยและให้คําปรึกษาแนะนําเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งปี 2551 – 2553 ทางกรมฯ ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากรัฐบาลให้ มาจัดซื้อเครื่องมืออุปกรณ์ที่ค่อนข้างมีราคาแพง ค่อนข้างจะครบ ดังนั้นการบริการ ของเราจะบริการค่อนข้างจะครบวงจรทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นงานทดสอบการวิจัยหรือ งานให้ ป รึ ก ษาคํ า แนะนํ า คิ ด ว่ า ในจุ ด นี้ท างกรมฯ จึ ง คิ ด ว่ า การจั ด ตั้ ง เป็ น ศู น ย์ เชี่ยวชาญแก้วแห่งแรกของประเทศไทยในอาเซียนน่าจะพร้อมแล้วนะครับ พิธีกร : โดยมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ด้วยใช่ไหมคะจากการ ทํางานของศูนย์ฯ นี้ค่ะ อวศ. : ระดับประเทศเรามีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างๆ อย่างเช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ส่วนในระดับต่างประเทศ กรมวิทยาศาสตร์บริการได้มีการลงนาม MOU กับหน่วยงานเป็นมหาวิทยาลัย 136 ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย
  • 31. RWTH, Aachen ของประเทศเยอรมนีมีการวิจัยร่วมกันและมีการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความสามารถและความคิดเห็นต่างๆ และทางมหาวิทยาลัยของ Aachen ได้ให้คําปรึกษาแนะนํากับเรา และเราได้ไปจัดแสดงผลงานทางวิชาการและทาง ศูนย์ฯ ยังเป็นสมาชิก เรียกว่า “Technical Committee” กับ International Commission on Glass ซึ่งเป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญสูงมากครับ พิธีกร : ถ้าทางผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมสนใจที่อยากจะเข้ามาขอ ใช้บริการต้องเข้ามาติดต่ออย่างไรบ้างคะ อวศ. : ครับมาติดต่อที่กรมวิทยาศาสตร์บริการ เราพร้อมให้บริการขณะนี้ เราก็ดําเนินการจะเป็น One Stop Service ซึ่งกําลังจะเริ่มปรับปรุงครับ พิธีกร : อัตราค่าบริการเป็นอย่างไรบ้างคะ ระยะเวลาด้วยค่ะ อวศ. : สํา หรับ อัต ราค่ าบริ การเราถือว่ าเราเป็ นภาครัฐบาล เพราะ อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ที่เราได้รับการจัดสรรมาจากเงินงบประมาณของรัฐบาล ดังนั้น อัตราค่าธรรมเนียมหรือว่าอัตราค่าบริการจะไม่สูงนะครับและพร้อมที่จะ ให้บริการกับโรงงานอุตสาหกรรมและ SMEs และผมถือว่ารายได้ที่เข้าไปที่ กรมฯ ไม่สูงแต่ในทาง Indirect Income โรงงานอุตสาหกรรมที่ส่งออกไปยังต่างประเทศก็ ได้เงินตราต่างประเทศเข้ามาในประเทศ ถือว่าคุ้มค่า พิธีกร : ได้ทราบข้อมูลว่าเครื่องบางเครื่องจะมีที่ศูนย์เชี่ยวชาญฯ แห่ง เดียวที่อื่นไม่มีเลย ประมวลคํากล่าว คําบรรยาย 137