SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยที่ 3 เรื่อง ซอฟแวร์ เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์โปรแกรม Microsoft Excel เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
สอนวันที่............เดือน.................................................พ.ศ. .................... ภาคเรียนที่.............
____________________________________________________________________________
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ง.3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้ซอฟแวร์ในการประยุกต์ใช้ในการทางานการเรียนรู้ การ
สื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
สาระสาคัญ
สูตรคานวณ คือ การนาเอาข้อมูลในแผ่นงานหรือค่าคงที่มาคานวณกันแล้ว แสดงผลลัพธ์เป็นค่าต่าง ๆ ได้
ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับค่าคงที่หรือตัวแปรที่นามาใช้ในสูตรนั้น
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
สามารถบอกชนิด กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ ปฏิบัติและอธิบายวิธีการป้ อนสูตรคานวณ คัดลอกสูตร
คานวณ พร้อมทั้งใช้การอ้างอิงเซลล์หรือระหว่างเซลล์ในการคานวณ
สาระการเรียนรู้
1. ความหมาย การใช้สูตรคานวณ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ
2. ชนิดของสูตรคานวณ และวิธีการป้อนสูตรคานวณ
3. ความผิดพลาดของสูตรคานวณ การแก้ไขสูตรคานวณ
4. การคัดลอกสูตรคานวณ การตั้งชื่อเซลล์ และการอ้างอิงสูตรคานวณในแผ่นงาน และระหว่าง
แผ่นงาน
กระบวนจัดการเรียนรู้
- จัดเตรียมใบความรู้ที่ 1ตามจานวนผู้เรียน
-จัดเตรียมใบงานที่1 ตามจานวนนักเรียน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
-ใบความรู้ที่1 การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน
การวัดผลและประเมินผล
ตรวจผลงานจากใบงาน
กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก
(..................................)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา.................
............/............/.............
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข)
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก
(..................................)
ตาแหน่ง............................
............/............/.............
ใบความรู้ที่ 1
การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน
สูตรคานวณ (Formula)
สูตรคานวณ คือ การนาเอาข้อมูลในแผ่นงานหรือค่าคงที่มาคานวณกันแล้ว แสดงผลลัพธ์เป็นค่า
ต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับค่าคงที่หรือตัวแปรที่นามาใช้ในสูตรนั้น ในสูตรที่ใช้คานวณจะมีการอ้างถึงเซลล์
ที่นามาคานวณด้วย ซึ่งสามารถตั้งชื่อให้กับเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ใหม่เพื่อให้เขียนสูตรได้ง่ายขึ้น
การใช้สูตรคานวณ
สูตรคานวณจะหมายถึงข้อมูลที่ประกอบขึ้นด้วยตัวถูกดาเนินการ (Operand) ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขที่
เป็นค่าคงที่ ชื่อเดิมของเซลล์ ชื่อที่ตั้งให้เซลล์ หรือฟังก์ชันก็ได้และตัวดาเนินการ (Operator) ซึ่งส่วนใหญ่ก็
คือเครื่องหมายคานวณต่าง ๆ โดยตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการจะเรียงลาดับกันอยู่อย่างเป็นระเบียบมี
กฎเกณฑ์ที่แน่นอน และให้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลใหม่ ตามผลการคานวณนั้น ตัวอย่างแสดงสูตรคานวณบาง
แบบโดยจะแยกให้เห็นตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการในแต่ละสูตรอย่างชัดเจน
สูตรคานวณ ตัวถูกดาเนินการ ตัวดาเนินการ
=5+2*3.25 ตัวเลข 5 2 และ 3.25 + และ *
=(B4+25)/SUM(D5:F5) ชื่อเซลล์ B4 ตัวเลขคงที่ 25 และฟังก์ชัน
SUM(D5:F5)
+ และ /
=F5*(1-5%) ชื่อเซลล์ F5 ตัวเลข 1 และ 5 * - และ %
=D5& “-” &E5 ชื่อเซลล์ D5 และ E5 ตัวอักษร “-” & และ &
=5 2/3 * 6 1/2 เลขเศษส่วน 5 3
2
และ 6 2
1
*
=ราคาต่อหน่วย * จานวน
สินค้า
ชื่อเซลล์ “ราคาต่อหน่วย” และ “จานวน
สินค้า”
*
= SUM(มกราคม) ฟังก์ชัน SUM ชื่อเซลล์ มกราคม +
=รายรับมกราคม/31 ชื่อเซลล์รายรับมกราคม และ ตัวเลข 31 /
=สินค้าคงเหลือ-ราคาสินค้า ชื่อเซลล์สินค้าคงเหลือ และชื่อเซลล์ราค่าสินค้า -
กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ
1. การพิมพ์สูตรคานวณลงในเซลล์จะต้องขึ้นต้นด้วยการป้ อนสูตรในตารางให้ใส่เครื่องหมาย =
(เท่ากับ) นาหน้าเสมอ เพื่อให้โปรแกรม Microsoft Excel สามารถแยกได้ว่าเป็นสูตรคานวณไม่ใช่ข้อความ
หรือตัวเลขธรรมดา และจะไม่นาไปคานวณให้ เช่น 2*3 โปรแกรม Microsoft Excel จะถือเป็นข้อความ “2*
3” ไม่ใช่สูตรที่นา 2 มาคูณกับ 3
2. ตัวถูกดาเนินการแต่ละตัวมีระดับความสาคัญไม่เท่ากัน หากจะให้คานวณข้อมูลใดก่อนให้ใส่
วงเล็บ () คร่อมไว้ โปรแกรม Microsoft Excel จะคานวณสูตรในวงเล็บก่อนเสมอ และหากใส่วงเล็บหลาย
ชั้นก็จะคานวณจากชั้นในสุดออกมา
3. ระหว่างตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการจะพิมพ์ติดกันหรือมีช่องว่างคั่นกี่ช่องก็ได้ แต่สูตรที่
ซับซ้อนควรใส่ช่องว่างคั่นเพื่อให้อ่านได้ง่ายขึ้น
4. ข้อความที่จะเป็นตัวถูกดาเนินการในสูตรต้องอยู่ในเครื่องหมายคาพูด (“ ” ) เสมอ ไม่เช่นนั้น
โปรแกรม Microsoft Excel จะถือว่าเป็นชื่อเซลล์
5. ตัวถูกดาเนินการที่เป็นตัวเลขให้พิมพ์เข้าไปเหมือนปกติคือไม่ต้องใส่รูปแบบ เช่น 2300 ถูก แต่
2,300 ผิด ส่วนจุดทศนิยมหรือเครื่องหมายลบจะใช้ได้ตามปกติ
6. ชื่อเซลล์ที่จะใช้สูตรจะต้องเป็นชื่อเดิมหรือเป็นชื่อที่ตั้งไว้แล้ว ส่วนชื่อฟังก์ชันนอกจากจะต้อง
ใช้ให้ถูกต้องแล้ว อาร์กิวเมนต์ (ที่อยู่ในวงเล็บท้ายฟังก์ชัน) ก็จะต้องเป็นไปตามรูปแบบของแต่ละฟังก์ชัน
สูตรในโปรแกรม Microsoft Excel
1. สูตรในการคานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Formula) คือ ตัวดาเนินการที่ใช้กับข้อมูล
ประเภทตัวเลขหรือเซลล์ที่เก็บค่าตัวเลขและจะให้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขเสมอ
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตรและผลลัพธ์
+ บวก =40+10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 50
- ลบ =40-10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 30
* คูณ =40*2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 80
/ หาร =40/2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 20
% เปอร์เซ็นต์ =40% จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 0.4
^ ยกกาลัง =40^2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1600
2. สูตรในการเปรียบเทียบ (Comparison Formula) คือ เป็นตัวดาเนินการที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูล 2
ตัว ว่ามีความเท่าหรือไม่เท่ากันอย่างไร โดยให้ผลลัพธ์เป็นค่าทางตรรกะ (Logical value) ว่า จริง (TRUE)
หรือ เท็จ (FALSE)
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตรและผลลัพธ์
= เท่ากับ =40=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
> มากกว่า =40>3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับTrue
< น้อยกว่า =40<30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
>= มากกว่าหรือเท่ากับ =40>=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ True
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ =40<=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
<> ไม่เท่ากับ 40<>40 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False
3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น (Text Formula) ข้อความในที่นี้
อาจจะเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้(Null
string) ซึ่งการเขียนจะใช้เครื่องหมายคาพูดเปิดและปิดติดกันดังนี้
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร
&
เชื่อมหรือนาคาสองคามาต่อ
กันให้เกิดค่าข้อความต่อเนื่อง
“STORY”&“BOARD” จะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ STORYBOARD หรือ
ที่เป็นค่าเดียว A1&A2&A3
4. สูตรในการอ้างอิง (Refers Formula) เป็นสูตรคานวณที่สร้างขึ้นโดยใช้ฟังก์ชันร่วมกับการ
อ้างอิงถึงข้อมูลที่อยู่ภายในวงเล็บ ()
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร
: (Colon)
เว้นวรรค
(Insection)
, (Comma)
บอกช่วงของข้อมูล
กาหนดพื้นที่ทับกับ
2 ช่วง เอาข้อมูลทั้ง
2 ช่วงมาเชื่อมต่อกัน
=(B1:B5)
=SUM(B1:C1 D1:E5)
=SUM(C1:C5, D7:D8)
ตัวอย่างสูตร = (2*3)^2/4+7 จะมีขั้นตอนการคานวณตามลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการดังนี้
ลาดับที่ 1 = 6^2/4+7 ลาดับที่ 2 = 36/4+7 ลาดับที่ 3 = 9+7 และลาดับที่ 4 = 16
กรณีที่เครื่องหมายที่ใช้ในสูตรคานวณมีลาดับความสาคัญเท่ากันโปรแกรม Microsoft Excel จะ
คานวณโดยกระทาจากซ้ายไปทางขวาของสูตร แต่ถ้าต้องการเปลี่ยนลาดับการคานวณ ให้ใส่วงเล็บครอบ
ส่วนที่ต้องการคานวณก่อน เช่น = 2*3^2/4+7 จะให้ผลต่างกับสูตร = (2*3)^2/4+7
การป้ อนสูตรคานวณด้วยแป้ นิิมิ์
การสร้างสูตรคานวณคือการพิมพ์ทุกอย่างลงไปเองไม่ว่าจะเป็นชื่อเซลล์ ตัวเลข หรือเครื่องหมาย
คานวณต่าง ๆ มีวิธีการสร้างดังนี้
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้ อนสูตรเพื่อหาผลการคานวณ
2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตาแหน่งของเซลล์ที่ต้องการนามาคานวณหาผลรวม =C4+D4+E4
3. กดปุ่ม Enter เมื่อป้อนสูตรเสร็จ โปรแกรม Microsoft Excel จะนาสูตรไปคานวณและแสดงผล
รวมที่ได้
1
2
หมายเหตุ ถ้าพิมพ์สูตรผิดโปรแกรม Microsoft Excel จะไม่สามารถคานวณได้และจะแสดง ERR! ใน
เซลล์ที่สูตรคานวณนั้นผิด
การป้ อนสูตรคานวณโดยใช้เมาส์ช่วย
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้ อนสูตรเพื่อหาผลการคานวณ
2. พิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=)
3. คลิกเมาส์เลือกเซลล์แรกที่จะนามาหาผลรวม
4. พิมพ์เครื่องหมายบวก (+)
5. ทาตามข้อที่ 3 และ 4 เพื่อเลือกเซลล์อื่นๆ อีก
6. หลังจากเลือกเซลล์ครบให้กดปุ่ม Enter โปรแกรม Microsoft Excel จะนาสูตรไปคานวณและ
แสดงผลรวมที่ได้
1
6
3 55
2
4
ความผิดิลาดของสูตรคานวณ
การใส่สูตรคานวณผิดนั้นถือเป็นเรื่องปกติ และมีได้หลายลักษณะด้วยกัน ลักษณะหนึ่งคือสูตรที่
ผิดหลักภาษาหรือไวยากรณ์ (Syntax error) เช่น ใช้สูตร =E7+/35 โปรแกรม Microsoft Excel จะสามารถ
ตรวจพบและรายงานออกมาทันทีที่กดปุ่ม Enter ในบางกรณีก็จะมีคาแนะนาให้ด้วยว่าสูตรที่ถูกต้องควรเป็น
อย่างไร ดังรูป ซึ่งหากยอมรับสูตรที่โปรแกรม Microsoft Excel แนะนาก็คลิกที่ ใช่ หรือคลิกที่ ไม่ใช่ แล้วไป
แก้ไขสูตรให้ถูกต้อง
อีกลักษณะหนึ่งเป็นความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างคานวณทาให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องไม่ได้โปรแกรม
Microsoft Excel จึงแสดงข้อความบอกความผิดพลาด (Error message) ออกมาแทน ซึ่งสาเหตุก็มีได้หลาย
อย่างที่จะแจ้งให้ทราบดังนี้
ความผิดพลาด สาเหตุ วิธีแก้ไข
#####  ตัวเลขที่พิมพ์ลงในเซลล์หรือผล
จากสูตรคานวณ ยาวเกินกว่าที่จะ
แสดงในเซลล์ได้
 เกิดจากนาวันที่มาลบกันแล้วมี
ค่าติดลบ
 ปรับให้คอลัมน์กว้างขึ้น หรือ
เปลี่ยนรูปแบบตัวเลขให้สั้นลง เช่น
ลดจานวนจุดทศนิยม
 สลับค่าที่นามาลบกัน เพื่อให้ได้
ค่าที่ไม่ติดลบ
#VALUE!  ใช้ operand ผิดประเภท เช่น  แก้ไข operand หรืออาร์กิวเมนต์
สูตรที่ โปรแกรม Microsoft Excel แก้ไขให้
นาข้อความไปคานวณร่วมกับตัวเลข
หรือใช้อาร์กิวเมนต์ผิดประเภท คือ
ฟังก์ชันต้องการ อาร์กิวเมนต์ที่เป็น
ตัวเลขแต่ใส่เป็นข้อความ
ให้ถูกประเภท
#DIV/0!  ตัวหารมีค่า 0 เช่น =5/(A1-3)
หาก A1 เป็น 3 สูตรนี้จะผิดพลาด
ส่วนกรณีอื่น คือ ตัวหารเป็นเซลล์ว่าง
ๆ หรืออาร์กิวเมนต์ของบางฟังก์ชันมี
ค่าไม่ถูกต้อง
 ตรวจสอบตัวหารทุกตัวในสูตร
คานวณและอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชัน
ต่าง ๆ
#NULL!  ใช้การอ้างอิงเซลล์ผิดทาให้
โปรแกรมไม่สามารถกาหนดเซลล์ที่
ต้องการได้
 แก้ไขเซลล์การอ้างอิงเซลล์ให้
ถูกต้อง
ความผิดพลาด สาเหตุ วิธีแก้ไข
#NAME?  ชื่อเซลล์ที่ใช้ในสูตรสะกดไม่
ถูกต้อง หรือไม่มีชื่อนั้น
 ชื่อฟังก์ชันที่ใช้ในสูตรและ
สะกดไม่ถูกต้อง
 ใช้ข้อความในสูตรโดยไม่ใส่
เครื่องหมาย “ ” คร่อมข้อความนั้น
ซึ่งโปรแกรม Microsoft Excel เป็นชื่อ
เซลล์
 ไม่ใส่เครื่องหมาย : เมื่อมีการ
อ้างถึงเซลล์เป็นช่วง เช่น (A1:A20)
 ตรวจสอบชื่อเซลล์ต่าง ๆ ว่าใช้
ถูกต้องหรือชื่อนั้นเคยมีแต่ถูกลบไป
 ตรวจชื่อฟังก์ชันที่ใช้ และหาก
ไม่ใส่ฟังก์ชันหลัก คือเป็นส่วนของ
โปรแกรมเสริม (add-in) ก็ต้องเรียก
โปรแกรมนั้นก่อน
 ตรวจดูข้อความที่ใช้ในสูตร
คานวณ
 ตรวจดูเซลล์ที่มีการอ้างเป็นช่วง
ต้องมีเครื่องหมาย : อยู่ด้วย
#N/A  ใส่อาร์กิวเมนต์ให้ฟังก์ชันไม่
ครบ หรือใช้อาร์กิวเมนต์ที่ไม่ถูกกับ
ฟังก์ชัน LOOKUP VLOOKUP
LOOKUP และ MATCH
 ตรวจสอบอาร์กิวเมนต์ของ
ฟังก์ชันต่าง ๆ
 เซลล์ใดเซลล์หนึ่งมีค่าเป็น
#N/A
 ตรวจสอบค่าของ operand และ
อาร์กิวเมนต์ในสูตร
#REF!  เซลล์ใดเซลล์หนึ่งในสูตรถูก
ลบไปหรือถูกข้อมูลจากเซลล์อื่นย้าย
มาทับ
 มีการอ้างถึงข้อมูลของ
โปรแกรมอื่นที่ไม่ได้กาลังทางานอยู่
 ใช้ปุ่มเลิกทายกเลิกการลบเซลล์
หรือย้ายข้อมูลหรือทาการแก้ไขชื่อ
เซลล์ในสูตรเป็นเซลล์อื่นให้ถูกต้อง
 เรียกโปรแกรมนั้นขึ้นมาทางาน
#NUM!  ใช้อาร์กิวเมนต์ผิดประเภท คือ
ต้องเป็นข้อมูลตัวเลขแต่กลับไปใช้
ข้อมูลชนิดอื่น
 ผลของสูตรคานวณได้ตัวเลขที่มี
ค่ามากหรือน้อยเกินไป
 แก้ไขอาร์กิวเมนต์ให้ถูก
ประเภท
 แก้ไขสูตร (ตัวเลขต้องมีค่า
ระหว่าง -1*10307 ถึง 1*10307)
การแก้ไขสูตรคานวณ
1. เลือกเซลล์ที่ต้องการแก้ไข
2. กด F2 หรือ ดับเบิ้ลคลิก
3. โปรแกรม Microsoft Excel จะแสดงสูตรแทนผลลัพธ์ให้แก้ไข เสร็จแล้วกด Enter โปรแกรม
Microsoft Excel จะคานวณสูตรนั้นใหม่ และแสดงผลลัพธ์ที่ได้
1
2
การคัดลอกสูตร การย้ายหรือคัดลอกสูตรในโปรแกรม Microsoft Excel สามารถทาได้เหมือนกับการ
คัดลอกข้อมูลธรรมดา แต่เพื่อให้ผลลัพธ์ถูกต้องจะต้องทาความเข้าใจกับการตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ และ
การอ้างอิงชื่อเซลล์แบบสัมพัทธ์ (Relative Reference) และ การอ้างอิงชื่อเซลล์แบบสัมบูรณ์ (Absolute
Reference)
การตั้งชื่อเซลล์
การตั้งชื่อเซลล์เป็นวิธีการที่ใช้ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์วิธีนี้เป็นวิธีที่สามารถใช้การจัดการกับ
เซลล์ได้ในทุกกรณีไม่ว่าจะเป็นการลบหรือการเปลี่ยนชื่อหรือจะเป็นการทางานอ้างอิงต่างแผ่นงานก็ได้มี
ขั้นตอนการตั้งชื่อเซลล์ดังนี้
1. คลิกเลือกเมนูแทรกบนแถบเมนูคาสั่งเลื่อนไปชื่อและเลือกกาหนด
2. พิมพ์ชื่อเซลล์ลงในช่องกาหนดชื่อ
3. คลิกปุ่มพับ เพื่อพับไดอะล็อกบอกซ์กาหนดชื่อ (เพื่อความสะดวกให้ในการกลับไปเลือกเซลล์
หรือกลุ่มเซลล์ในแผ่นงาน)
4. เลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ในแผ่นงาน
5. คลิกปุ่มคลี่ เพื่อคลี่ไดอะล็อกบอกซ์กาหนดชื่อ
6. คลิกปุ่มเพิ่ม เพื่อให้โปรแกรมเก็บชื่อเซลล์ที่ตั้งใหม่
7. ทาข้อ 2-6 เพื่อตั้งชื่อเซลล์อื่น ๆ อีกจนครบตามต้องการ
8. คลิกปุ่มตกลง
1
3
4
2
5
การอ้างอิงแบบสัมิัทธ์
สาหรับสูตรที่มีเฉพาะตัวเลข เช่น =12+5*2 จะคัดลอกหรือย้ายสูตรจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์
หนึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณจะไม่เปลี่ยนแปลง เพราะไม่ว่าสูตรจะอยู่เซลล์ใด ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังเท่ากับ
12+5*2=34 แต่สาหรับสูตรที่ใช้ตาแหน่งอ้างอิงของเซลล์ เช่น =A3*A4 เมื่อมีการคัดลอกสูตรไปยังเซลล์อื่น
ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณจะเปลี่ยนแปลงไป เพราะโปรแกรม Microsoft Excel จะเปลี่ยนตาแหน่งอ้างอิง
ของเซลล์ในสูตรเป็นสัดส่วนตามระยะทางที่เซลล์ถูกคัดลอกไป แต่ถ้าย้ายสูตรไปวางที่อื่นโดยวิธีการตัดไป
สูตรจะยังอ้างอิงที่เซลล์เดิมอยู่
ตัวอย่าง เช่น ถ้าเซลล์ F4 =C4+D4+E4 เมื่อคัดลอกเซลล์ F4 ไปวางไว้ที่เซลล์ F5:F10 ที่เซลล์ F5
สูตรจะเปลี่ยนเป็น =C5+D5+E5 และและจะถูกอ้างอิงเปลี่ยนไปในเซลล์ F6:F10
การย้ายสูตรในเซลล์ F4 ไปไว้ที่ F5 สูตรจะยังคงเป็น =C4+D4+E4 อยู่เหมือนเดิม ลักษณะการ
อ้างอิงตาแหน่งของเซลล์ที่ใช้ในสูตรที่เปลี่ยนแปลงได้ดังนี้เรียกว่าการอ้างอิงแบบสัมพัทธ์
สูตรที่ต้องการคัดลอกของเซลล์F4 =C4+D4+E4
คัดลอกสูตรของเซลล์F4 ไปยัง F5:F10
แสดงผลของเซลล์ F5 ที่ได้จากการคัดลอกสูตรในเซลล์ F4
สูตรเดิมแต่ตาแหน่งอ้างอิงจะเปลี่ยนไป
สูตรที่ต้องการย้ายของเซลล์ F4 =C4+D4+E4
วิธีคัดลอกสูตรแบบนี้เหมาะสาหรับการคานวณในตารางที่มีรูปแบบที่ซ้า ๆ กัน ทาให้สามารถป้ อนสูตร
คานวณเพียงครั้งเดียว แล้วคัดลอกสูตรนั้นไปใช้กับเซลล์อื่น โดยสูตรจะเปลี่ยนเซลล์ที่อ้างอิงเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์
เมื่อคัดลอกสูตรในตารางแล้วพบว่าวิธีการอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ไม่สามารถใช้ได้เพราะไม่ต้องการ
ให้ตาแหน่งอ้างอิงของเซลล์เปลี่ยน
ตัวอย่าง เช่น การคิดสัดส่วนร้อยละของแต่ละรายการจากจานวนรวมทั้งหมดจะไม่สามารถคัดลอก
สูตรที่อ้างอิงเซลล์ C7 ได้เพราะตาแหน่ง C7 ที่อ้างอิงในสูตรจะเปลี่ยนไป แก้ไขได้โดยใช้การอ้างอิงแบบ
สัมบูรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหานี้ โดยใช้เครื่องหมาย $ นาหน้าชื่อแถวหรือชื่อคอลัมน์ที่ไม่ต้องการให้เปลี่ยน เช่น
ถ้าต้องการให้สูตรอ้างอิงเซลล์ C7 แต่ไม่ต้องการให้แถวเปลี่ยนไปเมื่อคัดลอกให้ใช้เครื่องหมาย C$7 และใน
กรณีที่ไม่ต้องการให้เปลี่ยนทั้งแถวและคอลัมน์ให้ใช้ $C$7 เมื่อคัดลอกสูตรก็จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดย
รูปแบบ C$7 แถวไม่เปลี่ยนเมื่อคัดลอก $C7 คอลัมน์ไม่เปลี่ยนเมื่อคัดลอก $C$7 ทั้งแถวและคอลัมน์ไม่
เปลี่ยนเมื่อคัดลอก
แสดงผลสูตรของเซลล์ F4 ที่ย้ายมา
แสดงสูตรของเซลล์ F3 ที่ย้ายมา
ผลลัพธ์ของสูตรของเซลล์ F3 ที่คัดลอก
การคัดลอกสูตรอย่างเร็วด้วย Auto Fill
ถ้าต้องการคัดลอกสูตรไปใช้ในเซลล์ที่อยู่ติดต่อกันมีวิธีคัดลอกสูตรที่เร็วกว่าการใช้ "คัดลอก" และ
"วาง" วิธีนี้ใช้ได้กับสูตรทั้งแบบที่ใช้การอ้างอิงแบบสัมพัทธ์และอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ มีวิธีดังนี้
1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่มีสูตรที่จะคัดลอกไปใช้กับเซลล์อื่น
2. คลิกเมาส์ที่มุมขวาล่างของเซลล์
3. กดปุ่มซ้ายมือค้างไว้แล้วลากไปยังเซลล์ที่ต้องการ
4. ปล่อยเมาส์ สูตรจะถูกคัดลอกไปยังเซลล์ที่เลือกและแสดงผลลัพธ์ออกมา
การใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน
การป้ อนสูตรวิธีที่ผ่านมาทาได้ยากเพราะต้องจาตาแหน่งเซลล์ในแต่ละแผ่นงานการใช้เมาส์อ้างอิง
เซลล์เมื่อป้ อนสูตรจะสะดวกกว่า
1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนสูตรและพิมพ์=
2. คลิกแถบชื่อแผ่นงานที่ต้องการอ้างอิงในสูตร
1
2
3
4 ผลลัพธ์จะแสดงหลังกดปุ่ม Enter
3. คลิกเลือกเซลล์ที่ต้องการอ้างอิงในสูตรและกดปุ่ม Enter
1
3
ผลหลังจากกดปุ่ม
Enter
2
การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงาน
ขอบเขตการอ้างอิงเซลล์ ไม่ได้ถูกจากัดอยู่กับแผ่นงานใดแผ่นงานหนึ่งเท่านั้น ยังสามารถอ้างอิงเซลล์ที่อยู่ต่าง
แผ่นงานได้ด้วย โดยใช้ชื่อของแผ่นงานนาหน้าตาแหน่งอ้างอิงเซลล์ที่ต้องการอ้างอิงในสูตร เช่น ต้องการอ้างอิงเซลล์จาก
แผ่นงาน TEST1 มาคานวณในแผ่นงาน TEST2 ก็สามารถทาได้โดยป้ อนสูตร =TEST1!C3*100/TEST1!C$11
การอ้างอิงเซลล์ที่อยู่ต่างสมุดงาน ก็ให้ใช้รูปแบบดังนี้[สมุดงาน.xls]!แผ่นงาน+CELL เช่น =[ราคาสินค้าประจาเดือน
มกราคม.xls]TEST1!F3
สูตรการอ้างอิงจากแผ่นงาน
สูตรการอ้างอิงจากต่างสมุดงาน
ผลลัพธ์ที่ได้จากการอ้างอิงสมุดงาน
แสดงสูตรที่อ้างอิงจากสมุดงาน
ใบงานที่ 1 การใช้สูตรในการคานวณและการคัดลอกสูตร
การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน
1. ให้นักเรียนป้ อนข้อมูลลงในแผ่นงานในโปรแกรม Microsoft Excel ตามแผ่นงานที่กาหนดให้ และปฏิบัติ
ตามคาถามในข้อ 1.1- 1.5 พร้อมกับอภิปรายผลที่ได้จากการปฏิบัติงาน และบันทึกสมุดงานในชื่อ เลขที่_4-
3_formulatest-1 (ตัวอย่างการบันทึกแฟ้มข้อมูลนักเรียนเลขที่ 20 ห้อง 4/3 ได้เป็น 20_4-3_formulatest-1)
1.1 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ F4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ C4:E4
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
1.2 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ I4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ G4:H4
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
1.3 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ J4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ F4 และ I4
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
1.4 ให้คัดลอกสูตรคานวณในเซลล์ F4 ไปยังเซลล์ F5:F16
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
1.5 ให้คัดลอกสูตรคานวณในเซลล์ I4 และ J4 ไปยังเซลล์ I5:J16
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
แบบสังเกตฟฤติกรรมการเรียน
เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนน
ที่ได้
ผ่าน ไม่ผ่าน
เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ให้ 1 ควรปรับปรุงให้ 0
สังเกตฟฤติกรรม ความสนใจในการปฏิบัต
ความกระตืนรือร้น
ความเสียสละ
ข้อเสนอแนะเิิ่มเติม............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ).......................................................................ผู้ประเมิน (ผู้สอน)
(..........................................................................)
..................../...................../.................
แผนการซอฟแวร์

More Related Content

Similar to แผนการซอฟแวร์

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์เทวัญ ภูพานทอง
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3Surapong Jakang
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์piyaphon502
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Chuthamani Phromduangdi
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nfeirockjock
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Similar to แผนการซอฟแวร์ (20)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2ใบความรู้ที่ 3.2
ใบความรู้ที่ 3.2
 
แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3แผนคอมฯ ม.2 3
แผนคอมฯ ม.2 3
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
เส็ดแล้ว
เส็ดแล้วเส็ดแล้ว
เส็ดแล้ว
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ Nการเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ N
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

More from ment1823

ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3ment1823
 
ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3ment1823
 
ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3ment1823
 
ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2ment1823
 
ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2ment1823
 
ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3ment1823
 
ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2ment1823
 
ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1ment1823
 
ประวัติย่อ
ประวัติย่อประวัติย่อ
ประวัติย่อment1823
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารment1823
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2ment1823
 

More from ment1823 (11)

ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3
 
ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3
 
ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3
 
ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2
 
ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2
 
ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3
 
ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2
 
ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1
 
ประวัติย่อ
ประวัติย่อประวัติย่อ
ประวัติย่อ
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 

แผนการซอฟแวร์

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี(คอมพิวเตอร์) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยที่ 3 เรื่อง ซอฟแวร์ เวลาเรียน 12 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์โปรแกรม Microsoft Excel เวลาเรียน 2 ชั่วโมง สอนวันที่............เดือน.................................................พ.ศ. .................... ภาคเรียนที่............. ____________________________________________________________________________ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ง.3.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้ซอฟแวร์ในการประยุกต์ใช้ในการทางานการเรียนรู้ การ สื่อสาร การแก้ปัญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม สาระสาคัญ สูตรคานวณ คือ การนาเอาข้อมูลในแผ่นงานหรือค่าคงที่มาคานวณกันแล้ว แสดงผลลัพธ์เป็นค่าต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับค่าคงที่หรือตัวแปรที่นามาใช้ในสูตรนั้น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สามารถบอกชนิด กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ ปฏิบัติและอธิบายวิธีการป้ อนสูตรคานวณ คัดลอกสูตร คานวณ พร้อมทั้งใช้การอ้างอิงเซลล์หรือระหว่างเซลล์ในการคานวณ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมาย การใช้สูตรคานวณ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ 2. ชนิดของสูตรคานวณ และวิธีการป้อนสูตรคานวณ 3. ความผิดพลาดของสูตรคานวณ การแก้ไขสูตรคานวณ 4. การคัดลอกสูตรคานวณ การตั้งชื่อเซลล์ และการอ้างอิงสูตรคานวณในแผ่นงาน และระหว่าง แผ่นงาน
  • 2. กระบวนจัดการเรียนรู้ - จัดเตรียมใบความรู้ที่ 1ตามจานวนผู้เรียน -จัดเตรียมใบงานที่1 ตามจานวนนักเรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ -ใบความรู้ที่1 การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน การวัดผลและประเมินผล ตรวจผลงานจากใบงาน กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... บันทึกข้อเสนอแนะ ของผู้บริหาร ............................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก (..................................) ตาแหน่ง ผู้อานวยการสถานศึกษา................. ............/............/.............
  • 3. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน (เก่ง ดี มีสุข) ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ปัญหา/อุปสรรค ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.........................................ผู้บันทึก (..................................) ตาแหน่ง............................ ............/............/.............
  • 4. ใบความรู้ที่ 1 การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน สูตรคานวณ (Formula) สูตรคานวณ คือ การนาเอาข้อมูลในแผ่นงานหรือค่าคงที่มาคานวณกันแล้ว แสดงผลลัพธ์เป็นค่า ต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับค่าคงที่หรือตัวแปรที่นามาใช้ในสูตรนั้น ในสูตรที่ใช้คานวณจะมีการอ้างถึงเซลล์ ที่นามาคานวณด้วย ซึ่งสามารถตั้งชื่อให้กับเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ใหม่เพื่อให้เขียนสูตรได้ง่ายขึ้น การใช้สูตรคานวณ สูตรคานวณจะหมายถึงข้อมูลที่ประกอบขึ้นด้วยตัวถูกดาเนินการ (Operand) ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขที่ เป็นค่าคงที่ ชื่อเดิมของเซลล์ ชื่อที่ตั้งให้เซลล์ หรือฟังก์ชันก็ได้และตัวดาเนินการ (Operator) ซึ่งส่วนใหญ่ก็ คือเครื่องหมายคานวณต่าง ๆ โดยตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการจะเรียงลาดับกันอยู่อย่างเป็นระเบียบมี กฎเกณฑ์ที่แน่นอน และให้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลใหม่ ตามผลการคานวณนั้น ตัวอย่างแสดงสูตรคานวณบาง แบบโดยจะแยกให้เห็นตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการในแต่ละสูตรอย่างชัดเจน สูตรคานวณ ตัวถูกดาเนินการ ตัวดาเนินการ =5+2*3.25 ตัวเลข 5 2 และ 3.25 + และ * =(B4+25)/SUM(D5:F5) ชื่อเซลล์ B4 ตัวเลขคงที่ 25 และฟังก์ชัน SUM(D5:F5) + และ / =F5*(1-5%) ชื่อเซลล์ F5 ตัวเลข 1 และ 5 * - และ % =D5& “-” &E5 ชื่อเซลล์ D5 และ E5 ตัวอักษร “-” & และ & =5 2/3 * 6 1/2 เลขเศษส่วน 5 3 2 และ 6 2 1 * =ราคาต่อหน่วย * จานวน สินค้า ชื่อเซลล์ “ราคาต่อหน่วย” และ “จานวน สินค้า” * = SUM(มกราคม) ฟังก์ชัน SUM ชื่อเซลล์ มกราคม +
  • 5. =รายรับมกราคม/31 ชื่อเซลล์รายรับมกราคม และ ตัวเลข 31 / =สินค้าคงเหลือ-ราคาสินค้า ชื่อเซลล์สินค้าคงเหลือ และชื่อเซลล์ราค่าสินค้า - กฎเกณฑ์เกี่ยวกับสูตรคานวณ 1. การพิมพ์สูตรคานวณลงในเซลล์จะต้องขึ้นต้นด้วยการป้ อนสูตรในตารางให้ใส่เครื่องหมาย = (เท่ากับ) นาหน้าเสมอ เพื่อให้โปรแกรม Microsoft Excel สามารถแยกได้ว่าเป็นสูตรคานวณไม่ใช่ข้อความ หรือตัวเลขธรรมดา และจะไม่นาไปคานวณให้ เช่น 2*3 โปรแกรม Microsoft Excel จะถือเป็นข้อความ “2* 3” ไม่ใช่สูตรที่นา 2 มาคูณกับ 3 2. ตัวถูกดาเนินการแต่ละตัวมีระดับความสาคัญไม่เท่ากัน หากจะให้คานวณข้อมูลใดก่อนให้ใส่ วงเล็บ () คร่อมไว้ โปรแกรม Microsoft Excel จะคานวณสูตรในวงเล็บก่อนเสมอ และหากใส่วงเล็บหลาย ชั้นก็จะคานวณจากชั้นในสุดออกมา 3. ระหว่างตัวถูกดาเนินการและตัวดาเนินการจะพิมพ์ติดกันหรือมีช่องว่างคั่นกี่ช่องก็ได้ แต่สูตรที่ ซับซ้อนควรใส่ช่องว่างคั่นเพื่อให้อ่านได้ง่ายขึ้น 4. ข้อความที่จะเป็นตัวถูกดาเนินการในสูตรต้องอยู่ในเครื่องหมายคาพูด (“ ” ) เสมอ ไม่เช่นนั้น โปรแกรม Microsoft Excel จะถือว่าเป็นชื่อเซลล์ 5. ตัวถูกดาเนินการที่เป็นตัวเลขให้พิมพ์เข้าไปเหมือนปกติคือไม่ต้องใส่รูปแบบ เช่น 2300 ถูก แต่ 2,300 ผิด ส่วนจุดทศนิยมหรือเครื่องหมายลบจะใช้ได้ตามปกติ 6. ชื่อเซลล์ที่จะใช้สูตรจะต้องเป็นชื่อเดิมหรือเป็นชื่อที่ตั้งไว้แล้ว ส่วนชื่อฟังก์ชันนอกจากจะต้อง ใช้ให้ถูกต้องแล้ว อาร์กิวเมนต์ (ที่อยู่ในวงเล็บท้ายฟังก์ชัน) ก็จะต้องเป็นไปตามรูปแบบของแต่ละฟังก์ชัน สูตรในโปรแกรม Microsoft Excel 1. สูตรในการคานวณทางคณิตศาสตร์ (Arithmetic Formula) คือ ตัวดาเนินการที่ใช้กับข้อมูล ประเภทตัวเลขหรือเซลล์ที่เก็บค่าตัวเลขและจะให้ผลลัพธ์เป็นตัวเลขเสมอ
  • 6. เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตรและผลลัพธ์ + บวก =40+10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 50 - ลบ =40-10 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 30 * คูณ =40*2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 80 / หาร =40/2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 20 % เปอร์เซ็นต์ =40% จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 0.4 ^ ยกกาลัง =40^2 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1600 2. สูตรในการเปรียบเทียบ (Comparison Formula) คือ เป็นตัวดาเนินการที่ใช้เปรียบเทียบข้อมูล 2 ตัว ว่ามีความเท่าหรือไม่เท่ากันอย่างไร โดยให้ผลลัพธ์เป็นค่าทางตรรกะ (Logical value) ว่า จริง (TRUE) หรือ เท็จ (FALSE) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตรและผลลัพธ์ = เท่ากับ =40=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False > มากกว่า =40>3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับTrue < น้อยกว่า =40<30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False >= มากกว่าหรือเท่ากับ =40>=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ True <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ =40<=30 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False <> ไม่เท่ากับ 40<>40 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False 3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น (Text Formula) ข้อความในที่นี้ อาจจะเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้(Null string) ซึ่งการเขียนจะใช้เครื่องหมายคาพูดเปิดและปิดติดกันดังนี้ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร & เชื่อมหรือนาคาสองคามาต่อ กันให้เกิดค่าข้อความต่อเนื่อง “STORY”&“BOARD” จะได้ผลลัพธ์ เท่ากับ STORYBOARD หรือ
  • 7. ที่เป็นค่าเดียว A1&A2&A3 4. สูตรในการอ้างอิง (Refers Formula) เป็นสูตรคานวณที่สร้างขึ้นโดยใช้ฟังก์ชันร่วมกับการ อ้างอิงถึงข้อมูลที่อยู่ภายในวงเล็บ () เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร : (Colon) เว้นวรรค (Insection) , (Comma) บอกช่วงของข้อมูล กาหนดพื้นที่ทับกับ 2 ช่วง เอาข้อมูลทั้ง 2 ช่วงมาเชื่อมต่อกัน =(B1:B5) =SUM(B1:C1 D1:E5) =SUM(C1:C5, D7:D8) ตัวอย่างสูตร = (2*3)^2/4+7 จะมีขั้นตอนการคานวณตามลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการดังนี้ ลาดับที่ 1 = 6^2/4+7 ลาดับที่ 2 = 36/4+7 ลาดับที่ 3 = 9+7 และลาดับที่ 4 = 16 กรณีที่เครื่องหมายที่ใช้ในสูตรคานวณมีลาดับความสาคัญเท่ากันโปรแกรม Microsoft Excel จะ คานวณโดยกระทาจากซ้ายไปทางขวาของสูตร แต่ถ้าต้องการเปลี่ยนลาดับการคานวณ ให้ใส่วงเล็บครอบ ส่วนที่ต้องการคานวณก่อน เช่น = 2*3^2/4+7 จะให้ผลต่างกับสูตร = (2*3)^2/4+7 การป้ อนสูตรคานวณด้วยแป้ นิิมิ์ การสร้างสูตรคานวณคือการพิมพ์ทุกอย่างลงไปเองไม่ว่าจะเป็นชื่อเซลล์ ตัวเลข หรือเครื่องหมาย คานวณต่าง ๆ มีวิธีการสร้างดังนี้ 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้ อนสูตรเพื่อหาผลการคานวณ 2. พิมพ์เครื่องหมาย = ตาแหน่งของเซลล์ที่ต้องการนามาคานวณหาผลรวม =C4+D4+E4 3. กดปุ่ม Enter เมื่อป้อนสูตรเสร็จ โปรแกรม Microsoft Excel จะนาสูตรไปคานวณและแสดงผล รวมที่ได้ 1 2
  • 8. หมายเหตุ ถ้าพิมพ์สูตรผิดโปรแกรม Microsoft Excel จะไม่สามารถคานวณได้และจะแสดง ERR! ใน เซลล์ที่สูตรคานวณนั้นผิด การป้ อนสูตรคานวณโดยใช้เมาส์ช่วย 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการป้ อนสูตรเพื่อหาผลการคานวณ 2. พิมพ์เครื่องหมายเท่ากับ (=) 3. คลิกเมาส์เลือกเซลล์แรกที่จะนามาหาผลรวม 4. พิมพ์เครื่องหมายบวก (+) 5. ทาตามข้อที่ 3 และ 4 เพื่อเลือกเซลล์อื่นๆ อีก 6. หลังจากเลือกเซลล์ครบให้กดปุ่ม Enter โปรแกรม Microsoft Excel จะนาสูตรไปคานวณและ แสดงผลรวมที่ได้ 1 6 3 55 2 4
  • 9. ความผิดิลาดของสูตรคานวณ การใส่สูตรคานวณผิดนั้นถือเป็นเรื่องปกติ และมีได้หลายลักษณะด้วยกัน ลักษณะหนึ่งคือสูตรที่ ผิดหลักภาษาหรือไวยากรณ์ (Syntax error) เช่น ใช้สูตร =E7+/35 โปรแกรม Microsoft Excel จะสามารถ ตรวจพบและรายงานออกมาทันทีที่กดปุ่ม Enter ในบางกรณีก็จะมีคาแนะนาให้ด้วยว่าสูตรที่ถูกต้องควรเป็น อย่างไร ดังรูป ซึ่งหากยอมรับสูตรที่โปรแกรม Microsoft Excel แนะนาก็คลิกที่ ใช่ หรือคลิกที่ ไม่ใช่ แล้วไป แก้ไขสูตรให้ถูกต้อง อีกลักษณะหนึ่งเป็นความผิดพลาดที่เกิดขึ้นระหว่างคานวณทาให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องไม่ได้โปรแกรม Microsoft Excel จึงแสดงข้อความบอกความผิดพลาด (Error message) ออกมาแทน ซึ่งสาเหตุก็มีได้หลาย อย่างที่จะแจ้งให้ทราบดังนี้ ความผิดพลาด สาเหตุ วิธีแก้ไข #####  ตัวเลขที่พิมพ์ลงในเซลล์หรือผล จากสูตรคานวณ ยาวเกินกว่าที่จะ แสดงในเซลล์ได้  เกิดจากนาวันที่มาลบกันแล้วมี ค่าติดลบ  ปรับให้คอลัมน์กว้างขึ้น หรือ เปลี่ยนรูปแบบตัวเลขให้สั้นลง เช่น ลดจานวนจุดทศนิยม  สลับค่าที่นามาลบกัน เพื่อให้ได้ ค่าที่ไม่ติดลบ #VALUE!  ใช้ operand ผิดประเภท เช่น  แก้ไข operand หรืออาร์กิวเมนต์ สูตรที่ โปรแกรม Microsoft Excel แก้ไขให้
  • 10. นาข้อความไปคานวณร่วมกับตัวเลข หรือใช้อาร์กิวเมนต์ผิดประเภท คือ ฟังก์ชันต้องการ อาร์กิวเมนต์ที่เป็น ตัวเลขแต่ใส่เป็นข้อความ ให้ถูกประเภท #DIV/0!  ตัวหารมีค่า 0 เช่น =5/(A1-3) หาก A1 เป็น 3 สูตรนี้จะผิดพลาด ส่วนกรณีอื่น คือ ตัวหารเป็นเซลล์ว่าง ๆ หรืออาร์กิวเมนต์ของบางฟังก์ชันมี ค่าไม่ถูกต้อง  ตรวจสอบตัวหารทุกตัวในสูตร คานวณและอาร์กิวเมนต์ของฟังก์ชัน ต่าง ๆ #NULL!  ใช้การอ้างอิงเซลล์ผิดทาให้ โปรแกรมไม่สามารถกาหนดเซลล์ที่ ต้องการได้  แก้ไขเซลล์การอ้างอิงเซลล์ให้ ถูกต้อง ความผิดพลาด สาเหตุ วิธีแก้ไข #NAME?  ชื่อเซลล์ที่ใช้ในสูตรสะกดไม่ ถูกต้อง หรือไม่มีชื่อนั้น  ชื่อฟังก์ชันที่ใช้ในสูตรและ สะกดไม่ถูกต้อง  ใช้ข้อความในสูตรโดยไม่ใส่ เครื่องหมาย “ ” คร่อมข้อความนั้น ซึ่งโปรแกรม Microsoft Excel เป็นชื่อ เซลล์  ไม่ใส่เครื่องหมาย : เมื่อมีการ อ้างถึงเซลล์เป็นช่วง เช่น (A1:A20)  ตรวจสอบชื่อเซลล์ต่าง ๆ ว่าใช้ ถูกต้องหรือชื่อนั้นเคยมีแต่ถูกลบไป  ตรวจชื่อฟังก์ชันที่ใช้ และหาก ไม่ใส่ฟังก์ชันหลัก คือเป็นส่วนของ โปรแกรมเสริม (add-in) ก็ต้องเรียก โปรแกรมนั้นก่อน  ตรวจดูข้อความที่ใช้ในสูตร คานวณ  ตรวจดูเซลล์ที่มีการอ้างเป็นช่วง ต้องมีเครื่องหมาย : อยู่ด้วย #N/A  ใส่อาร์กิวเมนต์ให้ฟังก์ชันไม่ ครบ หรือใช้อาร์กิวเมนต์ที่ไม่ถูกกับ ฟังก์ชัน LOOKUP VLOOKUP LOOKUP และ MATCH  ตรวจสอบอาร์กิวเมนต์ของ ฟังก์ชันต่าง ๆ
  • 11.  เซลล์ใดเซลล์หนึ่งมีค่าเป็น #N/A  ตรวจสอบค่าของ operand และ อาร์กิวเมนต์ในสูตร #REF!  เซลล์ใดเซลล์หนึ่งในสูตรถูก ลบไปหรือถูกข้อมูลจากเซลล์อื่นย้าย มาทับ  มีการอ้างถึงข้อมูลของ โปรแกรมอื่นที่ไม่ได้กาลังทางานอยู่  ใช้ปุ่มเลิกทายกเลิกการลบเซลล์ หรือย้ายข้อมูลหรือทาการแก้ไขชื่อ เซลล์ในสูตรเป็นเซลล์อื่นให้ถูกต้อง  เรียกโปรแกรมนั้นขึ้นมาทางาน #NUM!  ใช้อาร์กิวเมนต์ผิดประเภท คือ ต้องเป็นข้อมูลตัวเลขแต่กลับไปใช้ ข้อมูลชนิดอื่น  ผลของสูตรคานวณได้ตัวเลขที่มี ค่ามากหรือน้อยเกินไป  แก้ไขอาร์กิวเมนต์ให้ถูก ประเภท  แก้ไขสูตร (ตัวเลขต้องมีค่า ระหว่าง -1*10307 ถึง 1*10307) การแก้ไขสูตรคานวณ 1. เลือกเซลล์ที่ต้องการแก้ไข 2. กด F2 หรือ ดับเบิ้ลคลิก 3. โปรแกรม Microsoft Excel จะแสดงสูตรแทนผลลัพธ์ให้แก้ไข เสร็จแล้วกด Enter โปรแกรม Microsoft Excel จะคานวณสูตรนั้นใหม่ และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ 1 2
  • 12. การคัดลอกสูตร การย้ายหรือคัดลอกสูตรในโปรแกรม Microsoft Excel สามารถทาได้เหมือนกับการ คัดลอกข้อมูลธรรมดา แต่เพื่อให้ผลลัพธ์ถูกต้องจะต้องทาความเข้าใจกับการตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ และ การอ้างอิงชื่อเซลล์แบบสัมพัทธ์ (Relative Reference) และ การอ้างอิงชื่อเซลล์แบบสัมบูรณ์ (Absolute Reference) การตั้งชื่อเซลล์ การตั้งชื่อเซลล์เป็นวิธีการที่ใช้ตั้งชื่อเซลล์หรือกลุ่มเซลล์วิธีนี้เป็นวิธีที่สามารถใช้การจัดการกับ เซลล์ได้ในทุกกรณีไม่ว่าจะเป็นการลบหรือการเปลี่ยนชื่อหรือจะเป็นการทางานอ้างอิงต่างแผ่นงานก็ได้มี ขั้นตอนการตั้งชื่อเซลล์ดังนี้ 1. คลิกเลือกเมนูแทรกบนแถบเมนูคาสั่งเลื่อนไปชื่อและเลือกกาหนด 2. พิมพ์ชื่อเซลล์ลงในช่องกาหนดชื่อ 3. คลิกปุ่มพับ เพื่อพับไดอะล็อกบอกซ์กาหนดชื่อ (เพื่อความสะดวกให้ในการกลับไปเลือกเซลล์ หรือกลุ่มเซลล์ในแผ่นงาน) 4. เลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ในแผ่นงาน 5. คลิกปุ่มคลี่ เพื่อคลี่ไดอะล็อกบอกซ์กาหนดชื่อ 6. คลิกปุ่มเพิ่ม เพื่อให้โปรแกรมเก็บชื่อเซลล์ที่ตั้งใหม่
  • 13. 7. ทาข้อ 2-6 เพื่อตั้งชื่อเซลล์อื่น ๆ อีกจนครบตามต้องการ 8. คลิกปุ่มตกลง 1 3 4 2 5
  • 14. การอ้างอิงแบบสัมิัทธ์ สาหรับสูตรที่มีเฉพาะตัวเลข เช่น =12+5*2 จะคัดลอกหรือย้ายสูตรจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์ หนึ่ง ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณจะไม่เปลี่ยนแปลง เพราะไม่ว่าสูตรจะอยู่เซลล์ใด ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังเท่ากับ 12+5*2=34 แต่สาหรับสูตรที่ใช้ตาแหน่งอ้างอิงของเซลล์ เช่น =A3*A4 เมื่อมีการคัดลอกสูตรไปยังเซลล์อื่น ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณจะเปลี่ยนแปลงไป เพราะโปรแกรม Microsoft Excel จะเปลี่ยนตาแหน่งอ้างอิง ของเซลล์ในสูตรเป็นสัดส่วนตามระยะทางที่เซลล์ถูกคัดลอกไป แต่ถ้าย้ายสูตรไปวางที่อื่นโดยวิธีการตัดไป สูตรจะยังอ้างอิงที่เซลล์เดิมอยู่
  • 15. ตัวอย่าง เช่น ถ้าเซลล์ F4 =C4+D4+E4 เมื่อคัดลอกเซลล์ F4 ไปวางไว้ที่เซลล์ F5:F10 ที่เซลล์ F5 สูตรจะเปลี่ยนเป็น =C5+D5+E5 และและจะถูกอ้างอิงเปลี่ยนไปในเซลล์ F6:F10 การย้ายสูตรในเซลล์ F4 ไปไว้ที่ F5 สูตรจะยังคงเป็น =C4+D4+E4 อยู่เหมือนเดิม ลักษณะการ อ้างอิงตาแหน่งของเซลล์ที่ใช้ในสูตรที่เปลี่ยนแปลงได้ดังนี้เรียกว่าการอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ สูตรที่ต้องการคัดลอกของเซลล์F4 =C4+D4+E4 คัดลอกสูตรของเซลล์F4 ไปยัง F5:F10 แสดงผลของเซลล์ F5 ที่ได้จากการคัดลอกสูตรในเซลล์ F4 สูตรเดิมแต่ตาแหน่งอ้างอิงจะเปลี่ยนไป สูตรที่ต้องการย้ายของเซลล์ F4 =C4+D4+E4
  • 16. วิธีคัดลอกสูตรแบบนี้เหมาะสาหรับการคานวณในตารางที่มีรูปแบบที่ซ้า ๆ กัน ทาให้สามารถป้ อนสูตร คานวณเพียงครั้งเดียว แล้วคัดลอกสูตรนั้นไปใช้กับเซลล์อื่น โดยสูตรจะเปลี่ยนเซลล์ที่อ้างอิงเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง การอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ เมื่อคัดลอกสูตรในตารางแล้วพบว่าวิธีการอ้างอิงแบบสัมพัทธ์ไม่สามารถใช้ได้เพราะไม่ต้องการ ให้ตาแหน่งอ้างอิงของเซลล์เปลี่ยน ตัวอย่าง เช่น การคิดสัดส่วนร้อยละของแต่ละรายการจากจานวนรวมทั้งหมดจะไม่สามารถคัดลอก สูตรที่อ้างอิงเซลล์ C7 ได้เพราะตาแหน่ง C7 ที่อ้างอิงในสูตรจะเปลี่ยนไป แก้ไขได้โดยใช้การอ้างอิงแบบ สัมบูรณ์ เพื่อแก้ไขปัญหานี้ โดยใช้เครื่องหมาย $ นาหน้าชื่อแถวหรือชื่อคอลัมน์ที่ไม่ต้องการให้เปลี่ยน เช่น ถ้าต้องการให้สูตรอ้างอิงเซลล์ C7 แต่ไม่ต้องการให้แถวเปลี่ยนไปเมื่อคัดลอกให้ใช้เครื่องหมาย C$7 และใน กรณีที่ไม่ต้องการให้เปลี่ยนทั้งแถวและคอลัมน์ให้ใช้ $C$7 เมื่อคัดลอกสูตรก็จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดย รูปแบบ C$7 แถวไม่เปลี่ยนเมื่อคัดลอก $C7 คอลัมน์ไม่เปลี่ยนเมื่อคัดลอก $C$7 ทั้งแถวและคอลัมน์ไม่ เปลี่ยนเมื่อคัดลอก แสดงผลสูตรของเซลล์ F4 ที่ย้ายมา แสดงสูตรของเซลล์ F3 ที่ย้ายมา ผลลัพธ์ของสูตรของเซลล์ F3 ที่คัดลอก
  • 17. การคัดลอกสูตรอย่างเร็วด้วย Auto Fill ถ้าต้องการคัดลอกสูตรไปใช้ในเซลล์ที่อยู่ติดต่อกันมีวิธีคัดลอกสูตรที่เร็วกว่าการใช้ "คัดลอก" และ "วาง" วิธีนี้ใช้ได้กับสูตรทั้งแบบที่ใช้การอ้างอิงแบบสัมพัทธ์และอ้างอิงแบบสัมบูรณ์ มีวิธีดังนี้ 1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่มีสูตรที่จะคัดลอกไปใช้กับเซลล์อื่น 2. คลิกเมาส์ที่มุมขวาล่างของเซลล์ 3. กดปุ่มซ้ายมือค้างไว้แล้วลากไปยังเซลล์ที่ต้องการ 4. ปล่อยเมาส์ สูตรจะถูกคัดลอกไปยังเซลล์ที่เลือกและแสดงผลลัพธ์ออกมา การใช้เมาส์อ้างอิงเซลล์ข้ามแผ่นงาน การป้ อนสูตรวิธีที่ผ่านมาทาได้ยากเพราะต้องจาตาแหน่งเซลล์ในแต่ละแผ่นงานการใช้เมาส์อ้างอิง เซลล์เมื่อป้ อนสูตรจะสะดวกกว่า 1. คลิกเมาส์เลือกเซลล์ที่ต้องการป้อนสูตรและพิมพ์= 2. คลิกแถบชื่อแผ่นงานที่ต้องการอ้างอิงในสูตร 1 2 3 4 ผลลัพธ์จะแสดงหลังกดปุ่ม Enter
  • 19. การใช้สูตรกับข้อมูลที่อยู่ต่างแผ่นงาน ขอบเขตการอ้างอิงเซลล์ ไม่ได้ถูกจากัดอยู่กับแผ่นงานใดแผ่นงานหนึ่งเท่านั้น ยังสามารถอ้างอิงเซลล์ที่อยู่ต่าง แผ่นงานได้ด้วย โดยใช้ชื่อของแผ่นงานนาหน้าตาแหน่งอ้างอิงเซลล์ที่ต้องการอ้างอิงในสูตร เช่น ต้องการอ้างอิงเซลล์จาก แผ่นงาน TEST1 มาคานวณในแผ่นงาน TEST2 ก็สามารถทาได้โดยป้ อนสูตร =TEST1!C3*100/TEST1!C$11 การอ้างอิงเซลล์ที่อยู่ต่างสมุดงาน ก็ให้ใช้รูปแบบดังนี้[สมุดงาน.xls]!แผ่นงาน+CELL เช่น =[ราคาสินค้าประจาเดือน มกราคม.xls]TEST1!F3 สูตรการอ้างอิงจากแผ่นงาน สูตรการอ้างอิงจากต่างสมุดงาน
  • 21. ใบงานที่ 1 การใช้สูตรในการคานวณและการคัดลอกสูตร การใช้สูตรคานวณในตารางทางาน 1. ให้นักเรียนป้ อนข้อมูลลงในแผ่นงานในโปรแกรม Microsoft Excel ตามแผ่นงานที่กาหนดให้ และปฏิบัติ ตามคาถามในข้อ 1.1- 1.5 พร้อมกับอภิปรายผลที่ได้จากการปฏิบัติงาน และบันทึกสมุดงานในชื่อ เลขที่_4- 3_formulatest-1 (ตัวอย่างการบันทึกแฟ้มข้อมูลนักเรียนเลขที่ 20 ห้อง 4/3 ได้เป็น 20_4-3_formulatest-1) 1.1 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ F4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ C4:E4 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 22. 1.2 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ I4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ G4:H4 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 1.3 ให้ใช้สูตรคานวณในเซลล์ J4 โดยรวมค่าของคะแนนในเซลล์ F4 และ I4 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 1.4 ให้คัดลอกสูตรคานวณในเซลล์ F4 ไปยังเซลล์ F5:F16 ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 1.5 ให้คัดลอกสูตรคานวณในเซลล์ I4 และ J4 ไปยังเซลล์ I5:J16 ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 23. แบบสังเกตฟฤติกรรมการเรียน เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนน ที่ได้ ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การให้คะแนน ดี ให้ 2 พอใช้ให้ 1 ควรปรับปรุงให้ 0 สังเกตฟฤติกรรม ความสนใจในการปฏิบัต ความกระตืนรือร้น ความเสียสละ ข้อเสนอแนะเิิ่มเติม............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ).......................................................................ผู้ประเมิน (ผู้สอน) (..........................................................................) ..................../...................../.................