SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างกว้างขวางในทุกวงการกลายเป็นเครื่องมือ
สาคัญของการทางาน
ทุกด้าน ตั้งแต่การ พาณิชยกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรมสาธารณสุข การวิจัยและพัฒนา
ตลอดจนด้านการเมือง
และราชการไม่มีงานด้านใดที่ไม่นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปช่วยในการทางานเลย และมี
ประสิทธิภาพ
ข้อมูลสารสนเทศ
ข้อมูล(Data) หมายถึงกลุ่มตัวอักขระที่เมื่อนามารวมกันแล้วมีความหมายและมีความสาคัญ
ควรค่าแก่การจัดเก็บ
เพื่อไปใช้ในโอกาสต่อๆไปอาจเป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ใดๆที่สามารถนาไป
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ได้
สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลข่าวสารความรู้ต่างๆที่ได้รับการสรุปคานาณจัดเรียงหรือ
ประมวลผลแล้วจากข้อมูลต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการจนได้ความรู้เพื่อนามาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ใน
ด้านต่างๆ
ข้อมูลและสารสนเทศนับว่ามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้บริหารงานด้านต่างๆมากมายเช่น
1.ด้านการวางแผน เกี่ยวกับการจัดการองค์การ การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์กระบวนการ
ผลิตสินค้า การตลาด
2.ด้านการตัดสินใจเพื่อเลือกแนวทางหรือทางเลือกที่มีปัญหาน้อยที่สุดมาการแก้ปัญญาต่างๆ
การมีสารสนเทศ
ที่สมบูรณ์ทันสมัยและครบถ้วนจะช่วยให้การตัดสินใจถูกต้องรวดเร็วมีประสิทธิภาพสูง
3.ด้านการดาเนินงาน นาสารสนเทศไปใช้ในการดาเนินงานต่างๆเช่นใช้เพื่อควบคุมหรือ
ติดตามผลการปฏิบัติงาน
ให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การ
พิจารณาในแง่ขององค์กร ข้อมูลแบ่งเป็น
1.ข้อมูลภายใน
๐ข้อมูลการปฎิบัติงานของฝ่ายต่างๆ
-งบประมาณ
-ค่าใช้จ่าย
-พัสดุคงคลัง
2.ข้อมูลภายนอก
๐ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจการดาเนินงานของหน่วยงานอื่น
๐ข้อมูลของบริษัทคู่แข่ง
แง่ของการบันทึกข้อมูล อาจจัดแบ่งเป็น
1.ข้อมูลเชิงจานวน(Number Data) ข้อมูลเชิงตัวเลข
2.ข้อมูลอักขระ(Character Data) หรือข้อความText
3.ข้อมูลกราฟฟิก(Graphial Data) มีพิกัดเป็นตัวบ่งบอก
4.ข้อมูลภาพลักษณ์(Image) ใช้เครื่องสแกนเนอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร
(Information and Communication Technologies : ICTs)ก็คือเทคโนโลยีสองด้านหลักๆที่
ประกอบด้วย
เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้ากันไม่ว่าจะเป็น
เสียง ภาพ
ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษรและตัวเลขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้องความแมน
ยาและความรวดเร็ว
ให้ทันต่อการนาไปใช้ประโยชน์
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการได้แก่
ประการแรก สิ่งสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ประกอบด้วย
Communication media,
การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms),และสารสนเทศ(IT)
ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปเช่น
แฟกซ์ อินเตอร์เน็ต
อีเมลล์ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่างๆได้สะดวก
ประการที่สาม มีผลให้การด้านต่างๆมีราคาถูกลง
ประการที่สี เครือข่ายสื่อสารได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก มีผู้ใช้เครือข่ายสูงขึ้น
ประการที่ห้า ทาให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์และต้นทุนการใช้ICT มีราคาถูกลงมาก
องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลัก คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสาร
โทรคมนาคม
1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูล
ต่างๆ และปฏิบัติตาม
คาสั่งที่บอกคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ต่อเชื่อม เรียกว่า ฮาร์ดแวร์(Hardware)
ทางานร่วมกับ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่าซอฟต์แวร์ (Software)
ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน
1.อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น Keyboard Mouse Scanner
2.อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output)เช่น Monitor Printer
3.หน่วยประมวลผลกลาง ปฏิบัติหน้าที่ตามคาสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยการดึงข้อมูล
และคาสั่งที่เก็บไว้
ในหน่วยความจาหลักมาประมวลผล
4.หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่มาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณและ
ผลลัพธ์
ของการคานวณก่อนที่จะจะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งข้อมูล
5.หน่วยความจารอง ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใช้งานเพื่อการใช้ใน
อนาคต
ซอฟต์แวร์ (Software)
องค์ประกอบสาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในระบบคอมพิวเตอร์และเป็นตัวกลาง
ระหว่างผู้ใช้กับ
คอมพิวเตอร์หรือฮาร์ตแวร์ระบบสามารถแบ่งเป็น3 ชนิดใหญ่
1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับ
คอมพิวเตอร์
โปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น UNIX Dos Microsoft Windows
1.2 โปรแกรมอรรกประโยชน์ ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่าง
การประมวลข้อมูล
หรือในระหว่างใช้คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์(Editor)
1.3 โปรแกรมแปลภาษา แปลความหมายของคาสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ
คอมพิวเตอร์เข้าใจ
2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้สนตามความต้องการแบ่งเป็น 3
ชนิด คือ
2.1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไป เช่น Word Pressing Database Management
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่นๆเขียนขึ้นเพื่อความบันเทิง
แผนภาพแสดงกระบวนกาจัดการระบบสารสนเทศ
2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ไกลๆ เป็นการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ช่วยให้
การเผยแพร่ข้อมูล
หรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่างๆได้สะดวก ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน และทันเหตุการณ์
รูปแบบของข้อมูล
ที่รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข(Number Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) เสียง (voice)
กลไลหลักการสื่อสารโทรคมนาคม มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งข้อมูล
(Source/Sender)
สื่อกลางสาหรับการรับ/ส่งข้อมูล(Medium) และส่วนรับข้อความ (Sink/Decoder)
แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศจาแนกตามลักษณะการใช้งาน
แบ่งได้เป็น 6 รูปแบบคือ
1.เทคโนโลยีในการเก็บข้อมูล เช่น กล้องดิจิทัล
2.เทคโนโลยีในการบันทึกข้อมูล เช่น บัตรเอทีเอ็ม
3.เทคโนโลยีในการประมวลผลข้อมูล เช่น ฮาร์ตแวร์ ซอฟต์แวร์
4.เทคโนโลยีในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์จอภาพ
5.เทคโนโลยีในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร
6.เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เช่น ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่นโทรทัศน์
วิทยุ
ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ในระบบสื่อสาร เช่นระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของ
สัญญาณ
เป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า “สัญญาณอนาลอก”ระบบคอมพิเตอร์ใช้ระบบ
สัญญาณไฟฟ้าสูงต่า
สลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่องเรียกว่า” สัญญาณดิจิตอล”
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้สนต่างๆของผู้คนไว้หลายปะการดังนี้
1.ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ
2.ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก
3.ทาให้องค์กรมีลักษณะผูกผัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น
4.สามารถตอบสนองตามต้องการในรูปแบบใหม่ๆได้
5.ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
6.เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น ทาให้ การตัดสินใจหรือทางเลือกได้ละเอียดขึ้น
ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลวในการนาเทคโนโลยีมาใช้ หากการใช้นั้นเกิดขึ้นโดยไม่ได้อยู่
บนรากฐานของความเข้าใจและความสมเหตุสมผลของการใช้ เช่น
-เราซื้อคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงเกินกว่างานที่เราจาเป็น
-พยายามหาคอมพิวเตอร์มาทดแทนเครื่องที่มีอยู่ทั้งๆที่ยังใช้ได้
-เป็นการเพิ่มขยะอิเล็กทรอนิกส์
-เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในด้านการบารุงรักษา
-กลายเป็นการซื้อซากที่ใช้
-เกิดผลกระทบทางบวกและลบของการดาเนินธุรกิจ
กรมศุลกากร
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange:EDI)
ปัจจัยของความล้มเหลวหรือความผิดพลาดที่เกิดจากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
องค์การ
มีสาเหตุ 3 ประการ
1.ขาดการวางแผนที่ดีพอ
2.นาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน
3.ขาดการจัดการ หรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง
ปัจจัยอื่นๆที่ทาให้การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไม่ประสบความสาเร็จ ในด้านผู้ใช้งาน
นั้นมีดังนี้
1.กล้วการเปลี่ยนแปลง
2.ไม่ติดตามข่าวสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ
3.โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง
credit:http://fscieng.csc.ku.ac.th/~www/course/course/view.php?id=25

More Related Content

Viewers also liked (7)

Tri Bong Gan Trat Khop
Tri Bong Gan Trat KhopTri Bong Gan Trat Khop
Tri Bong Gan Trat Khop
 
แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์
 
Esakki-SCM
Esakki-SCMEsakki-SCM
Esakki-SCM
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Food nutrition chart
Food nutrition chartFood nutrition chart
Food nutrition chart
 

Similar to ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
num19
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
Titima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Titima
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 

Similar to ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
It
ItIt
It
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้นเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
ความหมายและความสำคัญระบบสารสนเทศ
 
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information TechnologyCh2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
 
สารสนเทศ
สารสนเทศสารสนเทศ
สารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 

More from ment1823 (9)

ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3ใบงาน1.3ม.3
ใบงาน1.3ม.3
 
ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3ใบงาน1.2ม.3
ใบงาน1.2ม.3
 
ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3ใบงาน1.1ม.3
ใบงาน1.1ม.3
 
ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2ใบงาน1.2ม.2
ใบงาน1.2ม.2
 
ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2ใบงาน1.1 ม.2
ใบงาน1.1 ม.2
 
ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3ใบงาน 1.3
ใบงาน 1.3
 
ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2ใบงาน 1.2
ใบงาน 1.2
 
ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1ใบงานที่1.1
ใบงานที่1.1
 
ประวัติย่อ
ประวัติย่อประวัติย่อ
ประวัติย่อ
 

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างกว้างขวางในทุกวงการกลายเป็นเครื่องมือ สาคัญของการทางาน ทุกด้าน ตั้งแต่การ พาณิชยกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรมสาธารณสุข การวิจัยและพัฒนา ตลอดจนด้านการเมือง และราชการไม่มีงานด้านใดที่ไม่นาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปช่วยในการทางานเลย และมี ประสิทธิภาพ ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูล(Data) หมายถึงกลุ่มตัวอักขระที่เมื่อนามารวมกันแล้วมีความหมายและมีความสาคัญ ควรค่าแก่การจัดเก็บ เพื่อไปใช้ในโอกาสต่อๆไปอาจเป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ใดๆที่สามารถนาไป ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ได้ สารสนเทศ หมายถึงข้อมูลข่าวสารความรู้ต่างๆที่ได้รับการสรุปคานาณจัดเรียงหรือ ประมวลผลแล้วจากข้อมูลต่างๆ
  • 2. ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการจนได้ความรู้เพื่อนามาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ใน ด้านต่างๆ ข้อมูลและสารสนเทศนับว่ามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้บริหารงานด้านต่างๆมากมายเช่น 1.ด้านการวางแผน เกี่ยวกับการจัดการองค์การ การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์กระบวนการ ผลิตสินค้า การตลาด 2.ด้านการตัดสินใจเพื่อเลือกแนวทางหรือทางเลือกที่มีปัญหาน้อยที่สุดมาการแก้ปัญญาต่างๆ การมีสารสนเทศ ที่สมบูรณ์ทันสมัยและครบถ้วนจะช่วยให้การตัดสินใจถูกต้องรวดเร็วมีประสิทธิภาพสูง 3.ด้านการดาเนินงาน นาสารสนเทศไปใช้ในการดาเนินงานต่างๆเช่นใช้เพื่อควบคุมหรือ ติดตามผลการปฏิบัติงาน ให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การ พิจารณาในแง่ขององค์กร ข้อมูลแบ่งเป็น 1.ข้อมูลภายใน ๐ข้อมูลการปฎิบัติงานของฝ่ายต่างๆ -งบประมาณ -ค่าใช้จ่าย -พัสดุคงคลัง 2.ข้อมูลภายนอก ๐ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะเศรษฐกิจการดาเนินงานของหน่วยงานอื่น ๐ข้อมูลของบริษัทคู่แข่ง แง่ของการบันทึกข้อมูล อาจจัดแบ่งเป็น 1.ข้อมูลเชิงจานวน(Number Data) ข้อมูลเชิงตัวเลข
  • 3. 2.ข้อมูลอักขระ(Character Data) หรือข้อความText 3.ข้อมูลกราฟฟิก(Graphial Data) มีพิกัดเป็นตัวบ่งบอก 4.ข้อมูลภาพลักษณ์(Image) ใช้เครื่องสแกนเนอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology: IT) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (Information and Communication Technologies : ICTs)ก็คือเทคโนโลยีสองด้านหลักๆที่ ประกอบด้วย เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้ากันไม่ว่าจะเป็น เสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว ข้อความหรือตัวอักษรและตัวเลขเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความถูกต้องความแมน ยาและความรวดเร็ว ให้ทันต่อการนาไปใช้ประโยชน์ ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมี 5 ประการได้แก่ ประการแรก สิ่งสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ประกอบด้วย Communication media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms),และสารสนเทศ(IT) ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปเช่น แฟกซ์ อินเตอร์เน็ต อีเมลล์ทาให้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ต่างๆได้สะดวก ประการที่สาม มีผลให้การด้านต่างๆมีราคาถูกลง ประการที่สี เครือข่ายสื่อสารได้รับประโยชน์จากเครือข่ายภายนอก มีผู้ใช้เครือข่ายสูงขึ้น ประการที่ห้า ทาให้ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์และต้นทุนการใช้ICT มีราคาถูกลงมาก
  • 4. องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลัก คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจาข้อมูล ต่างๆ และปฏิบัติตาม คาสั่งที่บอกคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ต่อเชื่อม เรียกว่า ฮาร์ดแวร์(Hardware) ทางานร่วมกับ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่าซอฟต์แวร์ (Software) ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน 1.อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น Keyboard Mouse Scanner 2.อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output)เช่น Monitor Printer 3.หน่วยประมวลผลกลาง ปฏิบัติหน้าที่ตามคาสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยการดึงข้อมูล และคาสั่งที่เก็บไว้ ในหน่วยความจาหลักมาประมวลผล 4.หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่มาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคานวณและ ผลลัพธ์ ของการคานวณก่อนที่จะจะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งข้อมูล 5.หน่วยความจารอง ทาหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใช้งานเพื่อการใช้ใน อนาคต ซอฟต์แวร์ (Software) องค์ประกอบสาคัญและจาเป็นมากในการควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
  • 5. 1.ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในระบบคอมพิวเตอร์และเป็นตัวกลาง ระหว่างผู้ใช้กับ คอมพิวเตอร์หรือฮาร์ตแวร์ระบบสามารถแบ่งเป็น3 ชนิดใหญ่ 1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์พ่วงต่อกับ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น UNIX Dos Microsoft Windows 1.2 โปรแกรมอรรกประโยชน์ ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในระหว่าง การประมวลข้อมูล หรือในระหว่างใช้คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์(Editor) 1.3 โปรแกรมแปลภาษา แปลความหมายของคาสั่งที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบ คอมพิวเตอร์เข้าใจ 2.ซอฟต์แวร์ประยุกต์ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทางานเฉพาะด้สนตามความต้องการแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 2.1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไป เช่น Word Pressing Database Management 2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน 2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่นๆเขียนขึ้นเพื่อความบันเทิง แผนภาพแสดงกระบวนกาจัดการระบบสารสนเทศ
  • 6. 2. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งข้อมูลจากที่ไกลๆ เป็นการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ช่วยให้ การเผยแพร่ข้อมูล หรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้ในแหล่งต่างๆได้สะดวก ถูกต้อง รวดเร็ว ครบถ้วน และทันเหตุการณ์ รูปแบบของข้อมูล ที่รับ/ส่งอาจเป็นตัวเลข(Number Data) ตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) เสียง (voice) กลไลหลักการสื่อสารโทรคมนาคม มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ ต้นแหล่งข้อมูล (Source/Sender) สื่อกลางสาหรับการรับ/ส่งข้อมูล(Medium) และส่วนรับข้อความ (Sink/Decoder) แผนภาพแสดงกลไกหลักของการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศจาแนกตามลักษณะการใช้งาน แบ่งได้เป็น 6 รูปแบบคือ 1.เทคโนโลยีในการเก็บข้อมูล เช่น กล้องดิจิทัล 2.เทคโนโลยีในการบันทึกข้อมูล เช่น บัตรเอทีเอ็ม 3.เทคโนโลยีในการประมวลผลข้อมูล เช่น ฮาร์ตแวร์ ซอฟต์แวร์ 4.เทคโนโลยีในการแสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์จอภาพ 5.เทคโนโลยีในการจัดทาสาเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร 6.เทคโนโลยีสาหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล เช่น ระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่นโทรทัศน์ วิทยุ ข้อมูลหรือสารสนเทศที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ในระบบสื่อสาร เช่นระบบโทรศัพท์ จะมีลักษณะของ
  • 7. สัญญาณ เป็นคลื่นแบบต่อเนื่องที่เราเรียกว่า “สัญญาณอนาลอก”ระบบคอมพิเตอร์ใช้ระบบ สัญญาณไฟฟ้าสูงต่า สลับกัน เป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่องเรียกว่า” สัญญาณดิจิตอล” ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้สนต่างๆของผู้คนไว้หลายปะการดังนี้ 1.ทาให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ 2.ทาให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก 3.ทาให้องค์กรมีลักษณะผูกผัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น 4.สามารถตอบสนองตามต้องการในรูปแบบใหม่ๆได้ 5.ทาให้เกิดสภาพการทางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา 6.เกิดการวางแผนการดาเนินการระยะยาวขึ้น ทาให้ การตัดสินใจหรือทางเลือกได้ละเอียดขึ้น ปัจจัยที่ทาให้เกิดความล้มเหลวในการนาเทคโนโลยีมาใช้ หากการใช้นั้นเกิดขึ้นโดยไม่ได้อยู่ บนรากฐานของความเข้าใจและความสมเหตุสมผลของการใช้ เช่น -เราซื้อคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงเกินกว่างานที่เราจาเป็น -พยายามหาคอมพิวเตอร์มาทดแทนเครื่องที่มีอยู่ทั้งๆที่ยังใช้ได้ -เป็นการเพิ่มขยะอิเล็กทรอนิกส์ -เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในด้านการบารุงรักษา -กลายเป็นการซื้อซากที่ใช้ -เกิดผลกระทบทางบวกและลบของการดาเนินธุรกิจ
  • 8. กรมศุลกากร การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange:EDI) ปัจจัยของความล้มเหลวหรือความผิดพลาดที่เกิดจากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน องค์การ มีสาเหตุ 3 ประการ 1.ขาดการวางแผนที่ดีพอ 2.นาเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน 3.ขาดการจัดการ หรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง ปัจจัยอื่นๆที่ทาให้การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไม่ประสบความสาเร็จ ในด้านผู้ใช้งาน นั้นมีดังนี้ 1.กล้วการเปลี่ยนแปลง 2.ไม่ติดตามข่าวสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ 3.โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง credit:http://fscieng.csc.ku.ac.th/~www/course/course/view.php?id=25