SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายงานการเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ 
อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 
ครูผู้รับผิดชอบ 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ 
ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา 
ตามหนังสือเลขที่ ชสว.มก.049/2557 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2557 เนื่องด้วยชุมนุมนิสิตภาควิชาสัตว วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาหนดการจัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 โดยสอบรอบคัดเลือกในวันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (ตามรายละเอียดดังแนบ) ทางกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้ดาเนินการจัดส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 6 คน (รายชื่อดังแนบ) โดยมี นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงดาเนินการจัดทารายงานขึ้นเพื่อ สรุปผลการเข้าร่วมแข่งขันครั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป 
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ 
ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ 
นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ 
ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ผู้รายงาน
สารบัญ 
เอกสาร หน้า 
บันทึกข้อความ 1-8 
ภาคผนวก 
รายละเอียดโครงการการแข่งขัน 
คาสั่งโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
ภาพกิจกรรมการเข้าร่วมอบรม
บันทึกข้อความ 
ส่วนราชการ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
ที่ ...................................................................... วันที่ 3 ธันวาคม 2557 
เรื่อง การเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทาน ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 
เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
ตามหนังสือเลขที่ ชสว.มก.049/2557 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2557 เนื่องด้วยชุมนุมนิสิตภาควิชาสัตว วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาหนดการจัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 โดยสอบรอบคัดเลือกในวันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (ตามรายละเอียดดังแนบ) ทางกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้ดาเนินการจัดส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 6 คน (รายชื่อดังแนบ) โดยมี นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงจัดทารายงานขึ้นเพื่อสรุปผลการเข้า ร่วมแข่งขันครั้งนี้ ดังนี้ 
1. เว็ปไซต์ในการประชาสัมพันธ์จัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วย พระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15
2. รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา จานวน 6 คน 
1. นางสาวเจนจิรา ศรีร่องหอย นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 
2. นางสาวสรชา มากภักดี นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 
3. นางสาวเสาวลักษณ์ ขันธลี นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 
4. นายสิริพันธุ์ พลทรัพย์ศิริ นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 
5. นางสาวศิวนาถ เหมณี นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 
6. นางสาวชิดชนก บัวผึ้ง นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 
3. เนื้อหาชีววิทยาที่ใช้ในการสอบรอบคัดเลือกเป็นข้อสอบปรนัยเลือกคาตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 100 ข้อ หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร — 1.1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ — 1.1.2 สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน — 1.1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจากัด — 1.1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า — 1.1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 1.1.6 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ — 1.1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ 1.2 ชีววิทยาคืออะไร 1.3 ชีววิทยากับการดา รงชีวิต 1.4 ชีวจริยธรรม บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา 2.1 การศึกษาชีววิทยา — 2.1.1 การตั้งสมมติฐาน — 2.1.2 การตรวจสอบสมมติฐาน — 2.1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล — 2.1.4 การสรุปผลการทดลอง 2.2 กล้องจุลทรรศน์ — กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง — กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 3.1 สารอนินทรีย์ — 3.1.1 น้า — 3.1.2 แร่ธาตุ 3.2 สารอินทรีย์ — 3.2.1 คาร์โบไฮเดรต — 3.2.2 โปรตีน — 3.2.3 ลิพิด — 3.2.4 กรดนิวคลีอิก — 3.2.5 วิตามิน 3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 
2.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน — 4.2.1 นิวเคลียส — 4.2.2 ไซโทพลาซึม — 4.2.3 ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ 4.3 การรักษาดุลยภาพของเซลล์ — 4.3.1 การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ — 4.3.2 การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 4.4 การสื่อสารระหว่างเซลล์ 4.5 การแบ่งเซลล์ — 4.5.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส — 4.5.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 4.6 การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์ 4.7 เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบของร่างกาย หน่วยที่ 2 การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์และสัตว์ บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน 5.1 อาหารและการย่อยอาหาร — 5.1.1 การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ — 5.1.2 การย่อยอาหารของสัตว์ — 5.1.3 การย่อยอาหารของคน 5.2 การสลายสารอาหารระดับเซลล์ — 5.2.1 การสลายโมเลกุลของสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน — 5.2.2 การสลายโมเลกุลของสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย 6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.1.1 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ — 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว — 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ — 6.2.3 การขับถ่ายของคน 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้าเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.3.1 การลา เลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ — 6.3.2 การลา เลียงสารในร่างกายของคน — 6.3.3 ระบบน้าเหลือง หน่วยที่ 3 การประสานงานในร่างกายและการสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 7.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 7.2 การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 
3.
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่าและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่าบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทา งานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทา งานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ 9.1 ต่อมไร้ท่อ 9.2 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สา คัญ 9.3 การควบคุมการสร้างและหลั่งฮอร์โมน 9.4 ฟีโรโมน บทที่ 10พฤติกรรมของสัตว์ 10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ 10.2 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับการตอบสนองของระบบประสาท 10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์ บทที่ 11การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 11.1 การสืบพันธุ์ 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ หน่วยที่ 4 การดา รงชีวิตของพืช บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก — 12.1.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก — 12.1.2 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด 12.2 โครงสร้างภายในของลา ต้นพืช — 12.2.1 หน้าที่และชนิดของลา ต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ — 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ — 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ — 12.3.3 หน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้าของพืช — 12.4.1 ปากใบและการคายน้าของพืช — 12.4.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้า 12.5 การลา เลียงน้าของพืช 12.6 การลา เลียงธาตุอาหารของพืช — 12.7.1 การเคลื่อนย้ายสารอาหารในพืช — 12.7.2 กระบวนการลา เลียงสารอาหาร บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง 13.1 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 13.2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง — 13.2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ — 13.2.2 สารสีในปฏิกิริยาแสง 13.3 โฟโตเรสไพเรชัน 13.4 กลไกการเพิ่มความเข้นข้นของ CO2 ในพืช C4 — 13.4.1 โครงสร้างของใบที่จา เป็นต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ — 13.4.2 วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4 
4.
13.5 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชซีเอเอ็ม (CAM) 13.6 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง — 13.6.2 คาร์บอนไดออกไซด์ — 13.6.4 อายุใบ — 13.6.5 ปริมาณน้าที่พืชได้รับ — 13.6.6 ธาตุอาหาร 13.7 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง บทที่ 14 การสืบพันธุ์ของพืชดอก 14.1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก — 14.1.1 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก — 14.1.2 การเกิดเมล็ด — 14.1.3 ส่วนประกอบของเมล็ด — 14.1.4 การพักตัวของเมล็ด 14.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช 14.3 การวัดการเจริญเติบโตของพืช บทที่ 15 การตอบสนองของพืช 15.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 15.2 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม หน่วยที่ 5 พันธุศาสตร์ บทที่ 16 การค้นพบกฏการถ่ายทอดทางพันธุกรรม 16.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล 16.2 กฎแห่งการแยกตัว 16.3 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ 16.4 การทดสอบจีโนไทป์ 16.5 ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล — 16.5.1 ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ — 16.5.2 การข่มร่วมกัน — 16.5.3 มัลติเปิลอัลลีล — 16.5.4 มัลติเปิลยีน — 16.5.5 ยีนในโครโมโซมเพศ — 16.5.6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน — 16.5.7 อิทธิพลของเพศต่อการแสดงออกของยีน — 16.5.8 พันธุกรรมจา กัดเพศ บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม 17.1 การค้นพบสารพันธุกรรม 17.2 ยีนอยู่ที่ไหน — 17.2.1 การค้นพบบทบาทของโครโมโซม — 17.2.2 รูปร่าง ลักษณะ และจา นวนโครโมโซม — 17.2.3 ส่วนประกอบของโครโมโซม 17.3 จีโนม 17.4 ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA 17.5 โครงสร้างของ DNA 17.6 สมบัติของสารพันธุกรรม — 17.6.1 การจา ลองตัวของ DNA — 17.6.2 DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมได้อย่างไร 17.7 มิวเทชัน 
5.
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ 18.1 ความเป็นมาของพันธุวิศวกรรม 18.2 พันธุวิศวกรรมกับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ 18.3 พันธุศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ หน่วยที่ 6 วิวัฒนาการ บทที่ 19 วิวัฒนาการ 19.1 หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต — 19.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล — 19.1.1 หลักฐานจากซากดึกดา บรรพ์ของสิ่งมีชีวิต — 19.1.5 หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ — 19.1.2 หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด — 19.1.3 คัพภะวิทยาเปรียบเทียบ 19.2 แนวความคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต — 19.2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักวิวัฒนาการยุคใหม่ — 19.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ก — 19.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วิน 19.3 พันธุศาสตร์ประชากร — 19.3.1 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก — 19.3.2 สมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก — 19.3.3 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์กกับโรคทางพันธุกรรม 19.4 ปัจจัยที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล 19.5 กาเนิดของสปีชีส์ — 19.5.1 ความหมายของสปีชีส์ — 19.5.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่ 19.6 วิวัฒนาการกับความหลากหลายทางชีวภาพ หน่วยที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ บทที่ 20 ความหลากหลายทางชีวภาพ 20.1 ความหลากลายทางชีวภาพ — 20.1.1 ความหลากหลายทางพันธุกรรม — 20.1.2 ความหลากหลายของสปีชีส์ — 20.1.3 ความหลากหลายของระบบนิเวศ 20.2 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 20.3 การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต 20.4 ชื่อของสิ่งมีชีวิต 20.5 การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต 20.6 กาเนิดของชีวิต 20.7 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต 20.8 อาณาจักรแบคทีเรีย — 20.8.1 โครงสร้างและรูปร่างของแบคทีเรีย — 20.8.2 การดา รงชีวิตของแบคทีเรีย — 20.8.3 การจัดจา แนกแบคทีเรีย 20.9 อาณาจักรโพรทิสตา — 20.9.1 กา เนิดของยูคาริโอต — 20.9.2 ความหลากหลายของโพรทิสต์ 
6.
20.10 อาณาจักรพืช — 20.10.1 กา เนิดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช — 20.10.2 ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช 20.10.3 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช 20.11 อาณาจักรฟังไจ — 20.11.1 วิวัฒนาการของฟังไจ — 20.11.2 ลักษณะและโครงสร้างของฟังไจ — 20.11.3 วัฎจักรชีวิตและการสืบพันธุ์ของฟังไจ — 20.11.4 ความหลากหลายของฟังไจ 20.12 อาณาจักรสัตว์ — 20.12.1 กาเนิดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ — 20.12.2 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสัตว์ 20.13 วิวัฒนาการของมนุษย์ 20.14 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย หน่วยที่ 8 นิเวศวิทยา บทที่ 21 ระบบนิเวศ 21.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ — 21.1.1 การศึกษาระบบนิเวศ — 21.1.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ — 21.1.3 ไบโอม 21.2 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ — 21.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ — 21.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาวะแวดล้อมทางชีวภาพ 21.3 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนวัฏจักรสารในระบบนิเวศ — 21.3.1 การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต — 21.3.2 วัฏจักรสารในระบบนิเวศ 21.4 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ บทที่ 22 ประชากร 22.1 ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร — 22.1.1 ความหนาแน่นของประชากร — 22.1.2 การแพร่กระจายของประชากร 22.2 ขนาดของประชากร 22.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร — 22.3.1 การเติบโตแบบเอ็กโพเนนเชียล — 22.3.2 การเติบโตแบบลอจิสติก 22.4 แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร 22.5 ประชากรมนุษย์ — 22.5.1 การเจริญเติบโตของประชากรมนุษย์ — 22.5.2 โครงสร้างอายุประชากรมนุษย์ 
7.
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม 23.1 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ — 23.1.1 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ — 23.1.2 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ 23.2 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ — การใช้แบบยั่งยืน — การเก็บกัก — การรักษาซ่อมแซม — การฟื้นฟู — การสงวน — การพัฒนาที่ยั่งยืน 
4. ผลการแข่งขันตัวแทนนักเรียนของโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ไม่ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศการแข่งขันตอบ ปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 จึงได้รับเกียรติบัตรการเข้าร่วม 
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ 
ลงชื่อ…………………………….………………… 
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) 
ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ 
ลงชื่อ……………………………………………… 
(นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ) 
ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ผู้รายงาน 
ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระฯ 
ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียน 
ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
(นางวนิดา เรียวไพศาลศักดา) 
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
(นางศุภธิวรรณ นุชาหาญ) 
รองผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
……………………………………………………………………. 
(นายสกุล ทองเอียด) 
ผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 
8.
ภาคผนวก
ภาพเการเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 
ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ 
อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 
การเตรียมตัวของนักเรียนตัวแทนโรงเรียนเพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน
การเเข้าร่วมการแข่งขันของคณะครูและนักเรียนตัวแทนโรงเรียน
เกีรยติบัตรเเข้าร่วมการแข่งขันของนักเรียนตัวแทนโรงเรียน

More Related Content

What's hot

Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationBELL N JOYE
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224jirat266
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยPreeyapat Lengrabam
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
Course Syllabus
Course SyllabusCourse Syllabus
Course SyllabusKusonwan
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
30233
3023330233
30233
 
Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224คำอธิบายรายวิชา ว 40224
คำอธิบายรายวิชา ว 40224
 
M6 143 60_5
M6 143 60_5M6 143 60_5
M6 143 60_5
 
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัยเล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
เล่ม 6 การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องปลอดภัย
 
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อบท2ระบบต่อมไร้ท่อ
บท2ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Pigment
PigmentPigment
Pigment
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
ตัวอย่างความเรียงเชิงวิชาการ
 
Course Syllabus
Course SyllabusCourse Syllabus
Course Syllabus
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
Cellularres tu
Cellularres tuCellularres tu
Cellularres tu
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 

Viewers also liked

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemsupreechafkk
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellsupreechafkk
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 

Viewers also liked (8)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive systemระบบย่อยอาหาร - Digestive system
ระบบย่อยอาหาร - Digestive system
 
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cellการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
การสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน - Energy of cell
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 

Similar to รายงานแข่งขันชีวสัตว

ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวpoomarin
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11Maruko Supertinger
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11kruaoipcccr
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1teerachon
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยาwisita42
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)Nattapong Boonpong
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51Yam Moo
 

Similar to รายงานแข่งขันชีวสัตว (20)

ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีว
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
แผนการจัดการเรียนรู้และแผนการประเมินผลการเรียนรู้ฉบับย่อ11
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 1
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.1
 
Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยารวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
รวมสรุปเนื้อหาชีววิทยา
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
Science m6
Science m6Science m6
Science m6
 
Science o net51
Science o net51Science o net51
Science o net51
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

รายงานแข่งขันชีวสัตว

  • 1. รายงานการเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 ครูผู้รับผิดชอบ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา ตามหนังสือเลขที่ ชสว.มก.049/2557 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2557 เนื่องด้วยชุมนุมนิสิตภาควิชาสัตว วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาหนดการจัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 โดยสอบรอบคัดเลือกในวันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (ตามรายละเอียดดังแนบ) ทางกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้ดาเนินการจัดส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 6 คน (รายชื่อดังแนบ) โดยมี นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงดาเนินการจัดทารายงานขึ้นเพื่อ สรุปผลการเข้าร่วมแข่งขันครั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อไป นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้รายงาน
  • 3. สารบัญ เอกสาร หน้า บันทึกข้อความ 1-8 ภาคผนวก รายละเอียดโครงการการแข่งขัน คาสั่งโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ภาพกิจกรรมการเข้าร่วมอบรม
  • 4. บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ที่ ...................................................................... วันที่ 3 ธันวาคม 2557 เรื่อง การเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทาน ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ตามหนังสือเลขที่ ชสว.มก.049/2557 ลงวันที่ 24 ตุลาคม 2557 เนื่องด้วยชุมนุมนิสิตภาควิชาสัตว วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้กาหนดการจัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 โดยสอบรอบคัดเลือกในวันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (ตามรายละเอียดดังแนบ) ทางกลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงได้ดาเนินการจัดส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน จานวน 6 คน (รายชื่อดังแนบ) โดยมี นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียน ด้วยเหตุนี้ จึงจัดทารายงานขึ้นเพื่อสรุปผลการเข้า ร่วมแข่งขันครั้งนี้ ดังนี้ 1. เว็ปไซต์ในการประชาสัมพันธ์จัดการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วย พระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15
  • 5. 2. รายชื่อนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา จานวน 6 คน 1. นางสาวเจนจิรา ศรีร่องหอย นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 2. นางสาวสรชา มากภักดี นักเรียนระดับชั้น ม.6/1 3. นางสาวเสาวลักษณ์ ขันธลี นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 4. นายสิริพันธุ์ พลทรัพย์ศิริ นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 5. นางสาวศิวนาถ เหมณี นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 6. นางสาวชิดชนก บัวผึ้ง นักเรียนระดับชั้น ม.5/1 3. เนื้อหาชีววิทยาที่ใช้ในการสอบรอบคัดเลือกเป็นข้อสอบปรนัยเลือกคาตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 100 ข้อ หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีววิทยา บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 1.1 สิ่งมีชีวิตคืออะไร — 1.1.1 สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์ — 1.1.2 สิ่งมีชีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน — 1.1.3 สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโต มีอายุขัยและขนาดจากัด — 1.1.4 สิ่งมีชีวิตมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า — 1.1.5 สิ่งมีชีวิตมีการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 1.1.6 สิ่งมีชีวิตมีลักษณะจาเพาะ — 1.1.7 สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบ 1.2 ชีววิทยาคืออะไร 1.3 ชีววิทยากับการดา รงชีวิต 1.4 ชีวจริยธรรม บทที่ 2 การศึกษาชีววิทยา 2.1 การศึกษาชีววิทยา — 2.1.1 การตั้งสมมติฐาน — 2.1.2 การตรวจสอบสมมติฐาน — 2.1.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล — 2.1.4 การสรุปผลการทดลอง 2.2 กล้องจุลทรรศน์ — กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง — กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน บทที่ 3 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต 3.1 สารอนินทรีย์ — 3.1.1 น้า — 3.1.2 แร่ธาตุ 3.2 สารอินทรีย์ — 3.2.1 คาร์โบไฮเดรต — 3.2.2 โปรตีน — 3.2.3 ลิพิด — 3.2.4 กรดนิวคลีอิก — 3.2.5 วิตามิน 3.3 ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต 2.
  • 6. บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4.1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 4.2 โครงสร้างของเซลล์ที่ศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน — 4.2.1 นิวเคลียส — 4.2.2 ไซโทพลาซึม — 4.2.3 ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ 4.3 การรักษาดุลยภาพของเซลล์ — 4.3.1 การลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ — 4.3.2 การลาเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ 4.4 การสื่อสารระหว่างเซลล์ 4.5 การแบ่งเซลล์ — 4.5.1 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส — 4.5.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส 4.6 การเปลี่ยนสภาพของเซลล์และการชราภาพของเซลล์ 4.7 เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบของร่างกาย หน่วยที่ 2 การรักษาดุลยภาพของร่างกายมนุษย์และสัตว์ บทที่ 5 ระบบย่อยอาหารและการสลายสารอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน 5.1 อาหารและการย่อยอาหาร — 5.1.1 การย่อยอาหารของจุลินทรีย์ — 5.1.2 การย่อยอาหารของสัตว์ — 5.1.3 การย่อยอาหารของคน 5.2 การสลายสารอาหารระดับเซลล์ — 5.2.1 การสลายโมเลกุลของสารอาหารแบบใช้ออกซิเจน — 5.2.2 การสลายโมเลกุลของสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย 6.1 ระบบหายใจกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.1.1 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ — 6.1.2 โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน 6.2 ระบบขับถ่ายกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.2.1 การขับถ่ายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว — 6.2.2 การขับถ่ายของสัตว์ — 6.2.3 การขับถ่ายของคน 6.3 ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้าเหลืองกับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย — 6.3.1 การลา เลียงสารในร่างกายของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและของสัตว์ — 6.3.2 การลา เลียงสารในร่างกายของคน — 6.3.3 ระบบน้าเหลือง หน่วยที่ 3 การประสานงานในร่างกายและการสืบพันธุ์ของมนุษย์และสัตว์ บทที่ 7 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 7.1 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว 7.2 การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 7.3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง 3.
  • 7. บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง 8.1 การรับรู้และการตอบสนอง 8.2 การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตชั้นต่าและสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นต่าบางชนิด 8.3 เซลล์ประสาท 8.4 การทา งานของเซลล์ประสาท 8.5 โครงสร้างของเซลล์ประสาท 8.6 การทา งานของระบบประสาทสั่งการ 8.7 อวัยวะรับความรู้สึก บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ 9.1 ต่อมไร้ท่อ 9.2 ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะที่สา คัญ 9.3 การควบคุมการสร้างและหลั่งฮอร์โมน 9.4 ฟีโรโมน บทที่ 10พฤติกรรมของสัตว์ 10.1 กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ 10.2 ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ 10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับการตอบสนองของระบบประสาท 10.4 การสื่อสารระหว่างสัตว์ บทที่ 11การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต 11.1 การสืบพันธุ์ 11.2 การเจริญเติบโตของสัตว์ หน่วยที่ 4 การดา รงชีวิตของพืช บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก — 12.1.1 โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก — 12.1.2 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด 12.2 โครงสร้างภายในของลา ต้นพืช — 12.2.1 หน้าที่และชนิดของลา ต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ — 12.3.1 โครงสร้างภายนอกของใบ — 12.3.2 โครงสร้างภายในของใบ — 12.3.3 หน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้าของพืช — 12.4.1 ปากใบและการคายน้าของพืช — 12.4.2 ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้า 12.5 การลา เลียงน้าของพืช 12.6 การลา เลียงธาตุอาหารของพืช — 12.7.1 การเคลื่อนย้ายสารอาหารในพืช — 12.7.2 กระบวนการลา เลียงสารอาหาร บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง 13.1 การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 13.2 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง — 13.2.1 โครงสร้างของคลอโรพลาสต์ — 13.2.2 สารสีในปฏิกิริยาแสง 13.3 โฟโตเรสไพเรชัน 13.4 กลไกการเพิ่มความเข้นข้นของ CO2 ในพืช C4 — 13.4.1 โครงสร้างของใบที่จา เป็นต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ — 13.4.2 วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4 4.
  • 8. 13.5 กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ของพืชซีเอเอ็ม (CAM) 13.6 ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง — 13.6.2 คาร์บอนไดออกไซด์ — 13.6.4 อายุใบ — 13.6.5 ปริมาณน้าที่พืชได้รับ — 13.6.6 ธาตุอาหาร 13.7 การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง บทที่ 14 การสืบพันธุ์ของพืชดอก 14.1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก — 14.1.1 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของพืชดอก — 14.1.2 การเกิดเมล็ด — 14.1.3 ส่วนประกอบของเมล็ด — 14.1.4 การพักตัวของเมล็ด 14.2 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์พืช 14.3 การวัดการเจริญเติบโตของพืช บทที่ 15 การตอบสนองของพืช 15.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช 15.2 การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม หน่วยที่ 5 พันธุศาสตร์ บทที่ 16 การค้นพบกฏการถ่ายทอดทางพันธุกรรม 16.1 การศึกษาพันธุกรรมของเมนเดล 16.2 กฎแห่งการแยกตัว 16.3 กฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ 16.4 การทดสอบจีโนไทป์ 16.5 ลักษณะทางพันธุกรรมที่นอกเหนือจากกฎของเมนเดล — 16.5.1 ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ — 16.5.2 การข่มร่วมกัน — 16.5.3 มัลติเปิลอัลลีล — 16.5.4 มัลติเปิลยีน — 16.5.5 ยีนในโครโมโซมเพศ — 16.5.6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน — 16.5.7 อิทธิพลของเพศต่อการแสดงออกของยีน — 16.5.8 พันธุกรรมจา กัดเพศ บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม 17.1 การค้นพบสารพันธุกรรม 17.2 ยีนอยู่ที่ไหน — 17.2.1 การค้นพบบทบาทของโครโมโซม — 17.2.2 รูปร่าง ลักษณะ และจา นวนโครโมโซม — 17.2.3 ส่วนประกอบของโครโมโซม 17.3 จีโนม 17.4 ส่วนประกอบทางเคมีของ DNA 17.5 โครงสร้างของ DNA 17.6 สมบัติของสารพันธุกรรม — 17.6.1 การจา ลองตัวของ DNA — 17.6.2 DNA ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมได้อย่างไร 17.7 มิวเทชัน 5.
  • 9. บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ 18.1 ความเป็นมาของพันธุวิศวกรรม 18.2 พันธุวิศวกรรมกับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ 18.3 พันธุศาสตร์กับการประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อมนุษย์ หน่วยที่ 6 วิวัฒนาการ บทที่ 19 วิวัฒนาการ 19.1 หลักฐานที่บ่งบอกถึงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต — 19.1.4 หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล — 19.1.1 หลักฐานจากซากดึกดา บรรพ์ของสิ่งมีชีวิต — 19.1.5 หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์ — 19.1.2 หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด — 19.1.3 คัพภะวิทยาเปรียบเทียบ 19.2 แนวความคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต — 19.2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักวิวัฒนาการยุคใหม่ — 19.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ก — 19.2.2 แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วิน 19.3 พันธุศาสตร์ประชากร — 19.3.1 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก — 19.3.2 สมดุลของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์ก — 19.3.3 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เวิร์กกับโรคทางพันธุกรรม 19.4 ปัจจัยที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีล 19.5 กาเนิดของสปีชีส์ — 19.5.1 ความหมายของสปีชีส์ — 19.5.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่ 19.6 วิวัฒนาการกับความหลากหลายทางชีวภาพ หน่วยที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพ บทที่ 20 ความหลากหลายทางชีวภาพ 20.1 ความหลากลายทางชีวภาพ — 20.1.1 ความหลากหลายทางพันธุกรรม — 20.1.2 ความหลากหลายของสปีชีส์ — 20.1.3 ความหลากหลายของระบบนิเวศ 20.2 การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ 20.3 การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต 20.4 ชื่อของสิ่งมีชีวิต 20.5 การระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต 20.6 กาเนิดของชีวิต 20.7 อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต 20.8 อาณาจักรแบคทีเรีย — 20.8.1 โครงสร้างและรูปร่างของแบคทีเรีย — 20.8.2 การดา รงชีวิตของแบคทีเรีย — 20.8.3 การจัดจา แนกแบคทีเรีย 20.9 อาณาจักรโพรทิสตา — 20.9.1 กา เนิดของยูคาริโอต — 20.9.2 ความหลากหลายของโพรทิสต์ 6.
  • 10. 20.10 อาณาจักรพืช — 20.10.1 กา เนิดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช — 20.10.2 ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช 20.10.3 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรพืช 20.11 อาณาจักรฟังไจ — 20.11.1 วิวัฒนาการของฟังไจ — 20.11.2 ลักษณะและโครงสร้างของฟังไจ — 20.11.3 วัฎจักรชีวิตและการสืบพันธุ์ของฟังไจ — 20.11.4 ความหลากหลายของฟังไจ 20.12 อาณาจักรสัตว์ — 20.12.1 กาเนิดของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรสัตว์ — 20.12.2 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรสัตว์ 20.13 วิวัฒนาการของมนุษย์ 20.14 ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย หน่วยที่ 8 นิเวศวิทยา บทที่ 21 ระบบนิเวศ 21.1 ความหลากหลายของระบบนิเวศ — 21.1.1 การศึกษาระบบนิเวศ — 21.1.2 ระบบนิเวศแบบต่าง ๆ — 21.1.3 ไบโอม 21.2 ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ — 21.2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ — 21.2.2 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาวะแวดล้อมทางชีวภาพ 21.3 การถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนวัฏจักรสารในระบบนิเวศ — 21.3.1 การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต — 21.3.2 วัฏจักรสารในระบบนิเวศ 21.4 การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ บทที่ 22 ประชากร 22.1 ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร — 22.1.1 ความหนาแน่นของประชากร — 22.1.2 การแพร่กระจายของประชากร 22.2 ขนาดของประชากร 22.3 แบบแผนการเจริญเติบโตของประชากร — 22.3.1 การเติบโตแบบเอ็กโพเนนเชียล — 22.3.2 การเติบโตแบบลอจิสติก 22.4 แบบแผนการมีชีวิตอยู่รอดของประชากร 22.5 ประชากรมนุษย์ — 22.5.1 การเจริญเติบโตของประชากรมนุษย์ — 22.5.2 โครงสร้างอายุประชากรมนุษย์ 7.
  • 11. บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม 23.1 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ — 23.1.1 ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ — 23.1.2 การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาและการจัดการ 23.2 หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ — การใช้แบบยั่งยืน — การเก็บกัก — การรักษาซ่อมแซม — การฟื้นฟู — การสงวน — การพัฒนาที่ยั่งยืน 4. ผลการแข่งขันตัวแทนนักเรียนของโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ไม่ผ่านเข้าสู่รอบชิงชนะเลิศการแข่งขันตอบ ปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 จึงได้รับเกียรติบัตรการเข้าร่วม จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ…………………………….………………… (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ตาแหน่งครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ ลงชื่อ……………………………………………… (นายเอกศิลป์ ภูบุญอบ) ตาแหน่ง ครูปฏิบัติการสอนฟิสิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้รายงาน ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระฯ ความเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียน ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. (นางวนิดา เรียวไพศาลศักดา) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. (นางศุภธิวรรณ นุชาหาญ) รองผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. ……………………………………………………………………. (นายสกุล ทองเอียด) ผู้อานวยการโรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์ 8.
  • 13. ภาพเการเข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชิงถ้วยพระราชทานศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ 15 การเตรียมตัวของนักเรียนตัวแทนโรงเรียนเพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน