SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
1 มกราคม 2567
From: New-Baldrige-Award-Criteria-for-2024_0.pdf (nist.gov) and
2024 Baldrige Award FAQs | NIST
เกณฑ์รางวัล Baldrige Award รูปแบบใหม่
 เกณฑ์รางวัล (Baldrige Award) ที่ออกใหม่ มีมิติด้านผลประกอบการ 8 มิติ (dimensions) ซึ่ง
เอื้ออานวยและสะท้อนถึง ความยืดหยุ่นขององค์กร (organizational resilience) และความสาเร็จใน
ระยะยาว (long-term success)
 เนื่องจากเกณฑ์นี้ จะใช้ในการประเมินองค์กรต่างๆ ที่หลากหลาย ผู้ตรวจประเมินจึงควรทาความ
เข้าใจ และพิจารณาสภาพแวดล้อมที่เป็นเอกลักษณ์ขององค์กร ซึ่งเริ่มต้นด้วยการตอบคาถามต่างๆ
ในโครงร่างองค์กร
โครงร่างองค์กร
 ข้อมูลที่ในส่วนนี้ เป็ นบริบทเพื่อให้แน่ใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความเข้าใจที่ลึกซึ้ งเกี่ยวกับองค์กร และ
สภาพแวดล้อมขององค์กร
 ส่วนของโครงร่างองค์กรจะไม่ได้รับการประเมิน
 จากัดอักขระได้ไม่เกิน 2,000 ตัว และแผนภูมิ กราฟ และ/หรือตารางสูงสุดสามรายการ (สาหรับแต่
ละคาถาม)
 ส่วนนี้ ไม่รวมรายละเอียดของกระบวนการ หรือผลลัพธ์ที่สาคัญ
 1. ผลิตภัณฑ์ บริการ และ/หรือโปรแกรมหลัก คืออะไร?
 2. พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยมหรือหลักการชี้ นา คืออะไร?
 3. โครงร่างการนาองค์กรและการกากับดูแลองค์กรโดยรวม เป็นอย่างไร?
 4. โครงสร้างบุคลากรเป็นอย่างไร รวมถึงองค์ประกอบ/ลักษณะสาคัญของบุคลากร (กลุ่ม ข้อมูล
ประชากร สภาพแวดล้อม [รวมศูนย์/กระจายตัว, ในสานักงาน/เสมือน])?
 5. ตลาดและ/หรือกลุ่มลูกค้าหลัก มีอะไรบ้าง? แต่ละกลุ่มมีปริมาณธุรกิจ/รายได้ กี่เปอร์เซ็นต์?
 6. ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ มีบทบาทอย่างไรในการผลิต ส่งมอบผลิตภัณฑ์ บริการ และ/
หรือโปรแกรมหลัก?
 7. มีคู่แข่งประเภทใดบ้าง และอะไรคือสิ่งที่ทาให้องค์กรแตกต่างองค์กรอื่น?
 8. ชุมชนหลักขององค์กรคืออะไร? ความสัมพันธ์ในการสนับสนุนขององค์กรต่อชุมชนหลักในด้าน
ต่าง ๆ มีอะไรบ้าง?
 หมายเหตุ: ชุมชนหลักอาจรวมถึงสิ่งต่อไปนี้ :
▪ ด้านท้องถิ่น/ภูมิศาสตร์ (เช่น อาสาสมัคร และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน)
▪ ด้านอาชีพ (เช่น การมีส่วนร่วม และ/หรือการเป็นผู้นาของสังคมวิชาชีพ)
▪ ด้านอุตสาหกรรม (เช่น การมีส่วนร่วม และ/หรือความเป็นผู้นาของสมาคมการค้า)
 9. อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ภัยคุกคาม ข้อได้เปรียบ โอกาส ความสามารถหลัก หรือปัจจัย
สาคัญอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความสาเร็จ และความยั่งยืนขององค์กรมากที่สุด?
 10. กฎระเบียบหลัก รวมถึงข้อกาหนดด้านการรับรอง การรับรอง หรือการลงทะเบียนมีอะไรบ้าง ?
 11. มีอะไรที่คิดว่าเป็นความไม่ปกติเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมหรือรูปแบบธุรกิจ ที่จะช่วยให้มีความ
เข้าใจองค์กรมากขึ้ นหรือไม่?
คาถามเกณฑ์สาหรับการประเมินผล
 มีคาถามสองประเภท: คาถามหนึ่งถามเกี่ยวกับกระบวนการสาคัญที่ใช้ อีกคาถามหนึ่งผลลัพธ์และ/
หรือผลที่ได้ (ที่บรรลุ)
 ทั้งสองคาถามมีความสาคัญในกระบวนการประเมิน อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์และผลที่ได้(results and
outcomes) มีน้าหนักมากกว่า และเป็นจุดเน้นของการประเมิน
 สาหรับองค์กรที่ก้าวหน้า ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่ จะตรวจสอบผลลัพธ์การปฏิบัติงาน และสารวจ
กระบวนการที่สาคัญ ระบบ และคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่าง (role-model characteristics)
 ผลลัพธ์จะได้รับการประเมินตามการตอบคาถามคือ ระดับ (levels) แนวโน้ม (trends) การ
เปรียบเทียบกับคู่แข่ง (comparisons to competitors) หรือเกณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม (industry
benchmarks ) (*ตามความเหมาะสม) และความเกี่ยวข้อง (relevance) ของตัวชี้ วัดที่นาเสนอ
 ความเกี่ยวข้อง หมายถึงองค์กรกาลังวัดสิ่งที่สาคัญต่อความสาเร็จและความยั่งยืนขององค์กรหรือไม่
และรวมถึงข้อมูลที่มีการแบ่งส่วน (segmented) อย่างเหมาะสม
คาแนะนาสาหรับกระบวนการ/ระบบและผลลัพธ์ที่ต้องการ
 ในคาถามแรกในแต่ละส่วน ให้อธิบายกระบวนการและ/หรือระบบโดยย่อ คาอธิบายจากัดอยู่ที่
2,000 อักขระ และแผนภูมิ/กราฟ/ตาราง สูงสุดสามรายการ
 สาหรับคาถามที่ 2 และต่อๆ ไปในแต่ละส่วน ขึ้ นกับความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ ให้ใช้
แผนภูมิ กราฟ และ/หรือตาราง เพื่อระบุข้อมูลผลประกอบการในช่วงห้าปีล่าสุด เทียบกับการ
เปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง รวมการแบ่งส่วนตามที่ร้องขอ (และอื่นๆ ตามความเหมาะสม)
 การเปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง อาจรวมถึงผลลัพธ์ของคู่แข่ง สิ่งที่ทาได้ดีที่สุดในอุตสาหกรรมเดียวกัน
บรรลุร้อยละสิบหรือร้อยละยี่สิบห้าสูงสุด ฯลฯ
1. การนาและการกากับดูแลองค์กร
 1. อธิบายโดยสรุป และ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหรือระบบการนา และการกากับดูแลองค์กร
รวมถึงกระบวนการสาหรับการวางแผนสืบทอดตาแหน่ง และการสื่อสารสองทิศทาง
 2. ผลลัพธ์สาหรับประสิทธิผลของความผูกพัน และการสื่อสารของผู้นาระดับสูง โดยแยกตามกลุ่ม
บุคลากรหลัก (เช่น การให้คะแนนผู้นาโดยบุคลากร) คืออะไร?
 3. ผลลัพธ์ประสิทธิผลของความผูกพัน และการสื่อสารของผู้นาระดับสูง โดยกลุ่มลูกค้าหลัก และผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียคืออะไร?
 4. ผลลัพธ์ความรับผิดชอบของการนาและการกากับดูแลองค์กร (เช่น การตรวจสอบ และการ
ประเมินภายในและภายนอก การรับรอง และการรับรองระบบ) คืออะไร?
 หมายเหตุ: ไม่คาดว่าจะมีการเปรียบเทียบสาหรับคาถามนี้ (ข้อที่ 4)
 5. ผลลัพธ์การร้องทุกข์และการร้องเรียน รวมถึงที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย คณะกรรมการโอกาส
การจ้างงานที่เท่าเทียมกัน EEOC (Equal Employment Opportunity Commission) และจริยธรรมเป็น
อย่างไร?
2. กลยุทธ์
 หมายเหตุ: ไม่คาดว่าจะมีการเปรียบเทียบสาหรับผลลัพธ์ในส่วนนี้
 1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลัก ที่องค์กรใช้ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์
รวมถึงการพัฒนา การจัดสรรทรัพยากร และการดาเนินการให้สาเร็จ
 2. ผลลัพธ์การบรรลุผลตามแผนปฏิบัติการขององค์กรคืออะไร?
 3. ผลลัพธ์ที่เป็นผลกระทบต่อกลยุทธ์องค์กรขององค์กร คืออะไร?
 หมายเหตุ: ผลลัพธ์เหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ และ/หรือ
วัตถุประสงค์ขององค์กร
 4. ผลลัพธ์สาหรับการบรรลุผลตามแผนกาลังคน รวมถึงความสามารถและขีดความสามารถสาหรับ
ตาแหน่งที่สาคัญเชิงกลยุทธ์ คืออะไร?
3. การปฏิบัติการ
 1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลักที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ :
▪ ก. การออกแบบ และการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการ
▪ ข. การจัดการเครือข่ายอุปทาน และ
▪ ค. การจัดการนวัตกรรม
 2. ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของกระบวนการสาคัญขององค์กรคืออะไร?
 3. ผลลัพธ์ผลการดาเนินการของผลิตภัณฑ์ บริการ และ/หรือโปรแกรมหลักขององค์กรคืออะไร?
 4. ผลลัพธ์ผลการดาเนินการของส่วนประกอบสาคัญของเครือข่ายอุปทานขององค์กร (เช่น การส่ง
มอบตรงเวลา ความพร้อมของวัสดุที่สาคัญ คุณภาพ) คืออะไร?
 5. ผลลัพธ์สาหรับประสิทธิผลด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ รวมถึงความพยายามในการบุกรุก
เทียบกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นเป็ นอย่างไร?
4. ความต่อเนื่องในการปฏิบัติการ
 1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลักขององค์กรที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ :
▪ ก. การบริหารความเสี่ยง
▪ ข. ความต่อเนื่องในการดาเนินงาน และ
▪ ค. การเตรียมพร้อมในกรณีฉุกเฉิน
 2. ผลลัพธ์สาหรับความมีประสิทธิผลของแผนการจัดการความเสี่ยงขององค์กร รวมถึง:
▪ ก. จานวนความเสี่ยงที่ระบุเทียบกับจานวนความเสี่ยงที่บรรเทาลง
▪ ข. ต้นทุนการสูญเสีย และ
▪ ค. การประหยัดต้นทุนของความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ และความเสี่ยงที่ลดลง?
 3. ผลการทดสอบความต่อเนื่องของแผนการดาเนินงานเป็นอย่างไร?
 4. ผลลัพธ์สาหรับการทดสอบแผนเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉินเป็นอย่างไร (เช่น เวลาในการ
อพยพออกจากสถานที่ เวลาตอบสนองเหตุฉุกเฉิน เวลาฟื้ นคืน)?
5. บุคลากร
 หมายเหตุ: ผลลัพธ์ที่แสดงควรรวมข้อมูลสาหรับการแบ่งกลุ่มบุคลากรหลัก (ถ้ามี)
 1. อธิบายกระบวนการหลักโดยย่อที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ :
▪ ก. ความผูกพันของบุคลากร
▪ ข. การพัฒนาบุคลากร และการฝึกอบรมทักษะในการทางาน และ
▪ ค. ความมั่นใจด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ทางาน
 2. ผลลัพธ์ของการหมุนเวียน การรักษา และการขาดงานเป็นอย่างไร?
 3. ผลลัพธ์ความพึงพอใจ และความไม่พอใจของบุคลากรคืออะไร?
 4. ผลลัพธ์ความผูกพันของบุคลากรคืออะไร?
 5. ผลลัพธ์การพัฒนาบุคลากรและผู้นา รวมถึงการฝึกอบรมทักษะในการทางานเป็นอย่างไร?
 6. ผลลัพธ์เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยที่สาคัญ รวมถึงเหตุการณ์ที่ต้องรายงานของ
สานักงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (OSHA: Occupation Safety and Health Administration)
เป็นอย่างไร?
 7. ผลลัพธ์ตัวบ่งชี้ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ทางาน (เช่น ผลลัพธ์ของ
การตรวจสอบความปลอดภัย การติดตามเหตุการณ์ใกล้ผิดพลาด) คืออะไร?
6. ลูกค้าและตลาด
 1. อธิบายกระบวนการหลักขององค์กรโดยย่อ ที่ใช้สาหรับสิ่งต่อไปนี้ :
▪ ก. การรับฟังลูกค้า
▪ ข. ความผูกพันของลูกค้า และ
▪ ค. การสนับสนุนลูกค้า
 2. ผลลัพธ์ขนาดตลาดและส่วนแบ่งการตลาด ตามหน่วยธุรกิจหรือผลิตภัณฑ์/บริการ (ตามความ
เหมาะสม) คืออะไร?
 3. ผลลัพธ์ความภักดีของลูกค้า รวมถึงแนวโน้มที่จะแนะนาองค์กร แบ่งตามกลุ่มลูกค้าหลักคืออะไร?
 หมายเหตุ: สาหรับองค์กรด้านการดูแลสุขภาพ ตามความเหมาะสมรวมถึง ผลลัพธ์การประเมิน
ผู้บริโภคที่มาใช้บริการโรงพยาบาลต่อผู้ให้บริการด้านสุขภาพและระบบการให้บริการ (Hospital
Consumer Assessment of Healthcare Providers and Systems: HCAHPS หรือคะแนน CAHPS)
 4. ผลลัพธ์การร้องเรียนจากลูกค้า แยกตามกลุ่มลูกค้าหลัก (ถ้ามี)?
 5. ผลลัพธ์ความพึงพอใจและความไม่พอใจของลูกค้า โดยแยกตามกลุ่มลูกค้าหลักคืออะไร?
7. ความผูกพันกับชุมชน
 1. อธิบายกระบวนการสาคัญการมีส่วนร่วมกับชุมชน และการตอบแทนสังคมโดยย่อ รวมถึง
กระบวนการต่อไปนี้:
▪ ก. การรับฟังและมีส่วนร่วมกับชุมชนหลัก และ
▪ ข. การสนับสนุนชุมชนหลักขององค์กร
 2. ผลลัพธ์การมีส่วนร่วมและสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนหลักขององค์กรคืออะไร? รวมถึงผลลัพธ์
ดังต่อไปนี้ :
▪ ก. จานวนและประเภทของการมีส่วนร่วม
▪ ข. ความถี่ของการมีส่วนร่วมแต่ละประเภท และ
▪ ค. ระยะเวลาของการมีส่วนร่วม
 3. ผลลัพธ์ของการตอบแทนสังคมคืออะไร?
 หมายเหตุ: ตัวอย่างการตอบแทนสังคม
▪ ลดการใช้พลังงาน
▪ การใช้ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียน และน้าที่รีไซเคิล
▪ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน
▪ การลดของเสีย และการใช้ประโยชน์
▪ แนวทางทางเลือกในการอนุรักษ์ทรัพยากร (เช่น การประชุมเสมือนจริงที่เพิ่มขึ้ น)
▪ การใช้แนวทางปฏิบัติด้านแรงงานที่ใช้ทั่วโลก; และ
▪ การบริจาคสินค้าหรือบริการ เพื่อส่งเสริมที่อยู่อาศัย สุขภาพชุมชน และความมั่นคงทางอาหาร
8. การเงิน
 1. อธิบายกระบวนการสาคัญที่ใช้ในการจัดการการเงินขององค์กรโดยย่อ เพื่อให้แน่ใจว่ามีสิ่ง
ดังต่อไปนี้ :
▪ ก. ความมั่นคงทางการเงิน และ
▪ ข. การเข้าถึงเงินทุนในช่วงที่เกิดการหยุดชะงัก
 2. ผลลัพธ์ด้านความมั่นคงทางการเงินขององค์กรเป็นอย่างไร? (เช่น สภาพคล่อง จานวนวันเงินสด
คงเหลือ/สารอง อันดับเครดิต หรือพันธบัตร)
 3. ผลลัพธ์ผลประกอบการทางการเงินเป็นอย่างไร (เช่น รายได้ อัตรากาไรจากการดาเนินงาน ผล
ประกอบการต่องบประมาณ) โดยแยกตามหน่วยองค์กรตามความเหมาะสม?
วัตถุประสงค์และพันธกิจของโครงการ Baldrige
 วัตถุประสงค์และพันธกิจของโครงการ Baldrige คือการปรับปรุงประสิทธิภาพและความสาเร็จใน
ระยะยาวของธุรกิจ และเกิดประโยชน์ต่อองค์กรอื่นๆ โดย (1) ยกย่องเป็นแบบอย่างด้วยรางวัล
Baldrige Award และ (2) ส่งเสริมการนาไปใช้ในเรื่องการนาองค์กร การจัดการ และแนวทางปฏิบัติ
ที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว
 นับตั้งแต่โปรแกรมนี้ ถูกสร้างขึ้ นในปี ค.ศ. 1987 แนวทางปฏิบัติเหล่านั้น เป็ นสิ่งที่จาเป็นต่อ
ความสาเร็จในระยะยาว ซึ่งได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก
เน้นความยืดหยุ่น
 ความถี่ที่เพิ่มขึ้ นของการหยุดชะงักในระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับโลก ทาให้การบริการ
สุขภาพ การศึกษา และความมีชีวิตทางเศรษฐกิจของชุมชนทั่วประเทศตกอยู่ในความเสี่ยง ซึ่งส่งผล
กระทบต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ จึงจาเป็นต้องมีองค์กรตัวอย่างที่สามารถบรรลุและ
รักษาประสิทธิภาพระดับสูงไว้ได้ เมื่อเวลาผ่านไป และผ่านการหยุดชะงักต่างๆ (ไม่ว่าจะเป็น
เทคโนโลยี ภูมิรัฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม หรือตลาด)
 รางวัล Baldrige Award สร้างขึ้ นอาศัยเกณฑ์ความเป็ นเลิศ (performance excellence) ของโปรแกรม
Baldrige โดยจะยกย่ององค์กรที่เป็นแบบอย่างของความยืดหยุ่นและความสาเร็จในระยะยาว ซึ่งเป็น
องค์กรที่พร้อมและสามารถปรับตัว สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ และเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและเป็นพลวัต
มุ่งตรงประเด็นสาคัญ
 เกณฑ์รางวัล (award criteria) รายงานของผู้สมัคร (application) และกระบวนการประเมิน
(evaluation process) ได้รับการปรับปรุง โดยมุ่งเน้นไปที่การระบุการเป็นแบบอย่างที่ดี (role models)
แทนที่จะจัดให้มีการประเมินทั่วทั้งองค์กรโดยสมบูรณ์ จากทุกคาถามในกรอบความเป็ นเลิศ
(Baldrige Excellence Framework)
 เกณฑ์รางวัล จะเป็นชุดคาถามเฉพาะเจาะจง ที่กล่าวถึงความยืดหยุ่นขององค์กรและความสาเร็จใน
ระยะยาว จากเนื้ อหาและแนวคิดที่พบในกรอบการมุ่งสู่ความเป็ นเลิศ
 การยื่นแบบรายงานขององค์กรที่ขอรับรางวัล จะเป็นอินเทอร์เฟซออนไลน์ ที่ประกอบด้วยการ
ตอบสนองต่อข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับองค์กรเป็ นหลัก และการอัปโหลดผลลัพธ์ที่จากัดและ
เฉพาะเจาะจง ซึ่งสอดคล้องกับปัจจัยขับเคลื่อนความยืดหยุ่นขององค์กร ในรูปแบบของกราฟ
แผนภูมิ และตาราง
 ผู้ตรวจประเมินของ Baldrige ที่ได้รับการ
ฝึกอบรม จะประเมินผลลัพธ์เหล่านั้นโดยใช้
รูบริกแบบง่าย (simplified rubric) ในการ
พิจารณาระดับ แนวโน้ม การเปรียบเทียบ
และการบูรณาการ/การแบ่งส่วนข้อมูล (ตาม
ความเหมาะสม)
 Rubric Template (For example only, not the real one)
 คณะกรรมการตัดสิน จะใช้การประเมินเหล่านั้นเพื่อพิจารณาว่าองค์กรใดควรเข้าเยี่ยมชมสถานที่
และในระหว่างการเยี่ยมชมสถานที่ ผู้ตรวจประเมินจะตรวจสอบผลประกอบการ กระบวนการที่
เกี่ยวข้อง และประเมินคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่างขององค์กร
 คณะกรรมการตัดสิน จะใช้ผลการประเมินการเยี่ยมชมสถานที่ เพื่อเสนอผู้รับรางวัล Baldrige ให้กับ
สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ (NIST: National Institute of Standards and Technology)
และกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐอเมริกา
โอกาสที่ได้เพิ่มเติมขององค์กรที่ได้รับการยอมรับ
 นับเป็ นครั้งแรกขององค์กรที่เข้าร่วม ซึ่งผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่ในกระบวนการมอบ
รางวัล จะได้รับการยกย่องให้เป็น "ผู้เข้ารอบสุดท้าย" อย่างเป็นทางการ
 นอกจากนี้ องค์กรที่ได้รับเยี่ยมชมสถานที่ จะมีสิทธิ์ได้รับการยกย่องเป็ นพิเศษว่า ได้สร้างผลกระทบ
อย่างมีนัยสาคัญในด้านที่มีความสาคัญต่อองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก และ/หรือประเทศชาติ
 การยกย่องอาจรวมถึงการปรับปรุงงานให้มีคุณภาพสูง ปรับปรุงความเป็นอยู่โดยรวมของพนักงาน
เสริมสร้างความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน หรือเพิ่มความมีชีวิตชีวาทางเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ และ/
หรือการศึกษา ของประชากรที่ด้อยโอกาสในชุมชนของตน
การคัดกรององค์กรสมรรถนะสูง
 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2024 เป็นต้นไป จะมีการใช้ประโยชน์ของการยอมรับขององค์กรในอุตสาหกรรมที่มี
อยู่แล้ว โดยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการคัดกรองล่วงหน้า ที่จะ "เร่งรัด" องค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง
บางแห่ง ให้เข้าสู่ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่โดยตรง
 จนถึงปัจจุบัน มีการระบุรางวัลสองรายการที่มีทั้งความกว้าง ความลึก ความเข้มงวด และสอดคล้อง
ตามเกณฑ์รางวัล Baldrige Award ได้แก่ การจัดอันดับบริษัทของ Drucker Institute และการจัดอันดับ
บริษัทของ JUST Capital อย่างไรก็ตาม การพิจารณาการรับรองใดอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ และการ
จัดอันดับของบริษัทรายอื่นๆ จะได้รับการพิจารณาต่อไป
ความเป็นเลิศ ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของรางวัล Baldrige Award
 ความสามารถขององค์กรที่จะมีความยืดหยุ่นและประสบความสาเร็จในระยะยาวนั้น ขึ้ นอยู่กับความ
เป็นเลิศในการปฏิบัติงานหลายๆ ด้าน
การกาหนดบทบาทที่เป็นแบบอย่าง
 กระบวนการมอบรางวัลมุ่งเน้นไปที่การกาหนดแบบอย่าง โดยไม่จาเป็นต้องพัฒนา/ปรับปรุงองค์กร
(แม้ว่าจะยังคงเป็นจุดเน้นของ Baldrige Excellence Framework และเกณฑ์สาหรับความเป็นเลิศด้าน
การปฏิบัติงานก็ตาม) การเปลี่ยนแปลงนี้ สะท้อนให้เห็นถึงการแบ่งแยกวัตถุประสงค์ของรางวัลนี้
 การแบ่งปันและส่งเสริมองค์กรต้นแบบของประเทศนั้น สอดคล้องกับภารกิจและเป้าหมายของ
โครงการ Baldrige ในการปรับปรุงขีดความสามารถในการแข่งขันและประสิทธิภาพขององค์กรใน
สหรัฐฯ เพื่อประโยชน์ของผู้อยู่อาศัยในสหรัฐฯ ทุกคน และเพื่อให้ความเป็นผู้นาระดับโลก ในการ
เรียนรู้และแบ่งปันกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติ หลักการ และวิธีการ ที่ประสบความสาเร็จ
ใช้เวลาและความพยายามน้อยลงในการเข้าร่วมกระบวนการรับรางวัล
 การปรับปรุงเกณฑ์รางวัล การส่งเอกสารสมัคร และกระบวนการประเมิน จะช่วยให้องค์กร
เตรียมการสมัคร และมีส่วนร่วมในกระบวนการมอบรางวัลได้ง่ายขึ้ น
 ควรสังเกตว่า ความง่ายในการเข้าร่วม ไม่ได้หมายความว่าจะได้รับรางวัลโดยง่าย
 เพราะการบรรลุผลการประกอบการในระดับการเป็นต้นแบบ ไม่ใช่เรื่องง่าย
ข้อเสนอที่มีคุณค่าเพิ่มขึ้ น
 องค์กรที่ได้รับรางวัล Baldrige Award และได้รับการยอมรับว่าเป็ นแบบอย่างระดับชาตินั้น ส่งผลดีต่อ
ชื่อเสียงของแบรนด์ และถือเป็ นความสาเร็จครั้งสาคัญ
 การมีศักยภาพที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็น "ผู้เข้ารอบสุดท้าย" สาหรับรางวัลนี้ พร้อมด้วยการยก
ย่องเป็นพิเศษ สาหรับการมีผลกระทบในด้านที่มีความสาคัญต่อองค์กรหรือประเทศชาติ จะใช้เวลา
และความพยายามน้อยลง และสร้างคุณค่าที่มากขึ้ นสาหรับองค์กรที่เข้าร่วม
 นอกจากนี้ องค์กรอื่นอีกหลายแห่ง ยังได้ค้นพบคุณค่าในการสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อประเทศ ผ่าน
การแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ซึ่งจะช่วยปรับปรุงผลประกอบการและผลลัพธ์ในทุกภาคส่วน
ของเศรษฐกิจ
เวลาและความพยายามน้อยลง
 เกณฑ์รางวัล การส่งรายงานการสมัคร และกระบวนการประเมินผล ที่ได้รับการปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภาพ จะส่งผลให้ผู้ตรวจประเมินใช้เวลาและความพยายามน้อยลงอย่างมาก ในการตรวจ
ประเมินเป็นรายบุคคล (individual reviews) สาหรับทีมผู้ตรวจประเมินในการเข้าถึงฉันทามติ
(consensus review) และดาเนินการเยี่ยมชมสถานที่ (site visit review) ให้เสร็จสิ้นเร็วขึ้ น
การใช้เครื่องมือ "มาตรฐาน"
 เป้าหมายประการหนึ่งของกระบวนการที่ออกแบบใหม่คือ เพื่อให้แน่ใจว่า มีความสมดุลที่เหมาะสม
ระหว่างประสิทธิภาพที่เร็วขึ้ น และความเข้มงวดและการบูรณาการของกระบวนการตรวจประเมิน
 เพื่อช่วยให้มั่นใจในคุณภาพและความสม่าเสมอของการประเมิน โปรแกรม Baldrige จะจัดเตรียม
เครื่องมือ "มาตรฐาน" ที่จะอานวยความสะดวกและแนะนาผู้ตรวจประเมินตลอดการประเมินผล
ตั้งแต่การตรวจสอบแบบรายงานขององค์กรไปจนถึงการเยี่ยมชมสถานที่
การเปลี่ยนแปลงการฝึกอบรมผู้ตรวจประเมิน
 การสรรหาและการคัดเลือกผู้ตรวจประเมิน คาดว่าจะเริ่มได้ในปลายปี ค.ศ. 2023 หรือต้นปี ค.ศ.
2024
 ผู้ตรวจประเมินทุกคนจะต้องสาเร็จหลักสูตรการฝึกอบรม ซึ่งจะรวมถึงโมดูลออนไลน์และ
กระบวนการเชิงโต้ตอบ ที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ ทักษะในการใช้การ
ประเมินแบบรูบริก (evaluation rubric) และความคุ้นเคยกับเครื่องมือการทางานที่เป็นมาตรฐาน
การเปลี่ยนแปลงจะสร้างความตระหนักรู้ ความสนใจ และความผูกพันมากขึ้ น
 การเพิ่มความตระหนักรู้ ความสนใจ และการมีส่วนร่วมใน Baldrige ระดับชาติ จะสร้างความ
ตระหนักรู้ ความสนใจ และการมีส่วนร่วมในโปรแกรมของรัฐ ภูมิภาค และภาคส่วนต่างๆ มากขึ้ น
การปรับเปลี่ยนที่อาจเกิดขึ้ นกับข้อเสนอที่ให้กับโปรแกรมพันธมิตร
 โดยทั่วไปโปรแกรมของพันธมิตร จะให้บริการแก่องค์กรที่มุ่งมั่นที่จะปรับปรุงผลประกอบการ ทาให้
เป็นที่ยอมรับ ในขณะที่พวกเขาก้าวหน้าไปตามเส้นทางการพัฒนา และบรรลุระดับผลประกอบการที่
จาเป็ นต่อการแข่งขัน เพื่อชิงรางวัลระดับประเทศนั้น จะไม่เปลี่ยนแปลง
 โครงการพันธมิตร จะยังคงมีบทบาทสาคัญในการช่วยให้องค์กรต่างๆ ก้าวไปสู่ระดับนั้นต่อไป
 อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ว่าในอนาคต ลักษณะเฉพาะของการประเมินและการยอมรับอาจ
เปลี่ยนแปลงได้ เพื่อให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับรางวัลระดับประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็ให้มีการ
ประเมินที่เหมาะสมที่สุดสาหรับองค์กร ในระดับความพร้อมของวุฒิภาวะที่แตกต่างกัน (ขั้นบันได?)
ชุมชนมีความสาคัญอย่างไรกับรางวัลนี้ ?
 ชุมชน ได้รับการอนุมัติจากสภาคองเกรสให้เป็นอีกประเภทรางวัลหนึ่งของ Baldrige ในเดือน
สิงหาคม ค.ศ. 2022
 โครงการของ Baldrige ในการให้การยอมรับชุมชนนั้น เพื่อสร้างโอกาสและใช้ประโยชน์จากการ
เชื่อมต่อกับงานของ NIST ที่เกี่ยวข้องกับ เมืองอัจฉริยะ ความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน และความ
ยืดหยุ่นของชุมชน
 โครงการริเริ่มเรื่องความยืดหยุ่นของชุมชนนั้น NIST ตระหนักดีถึงความเชื่อมโยงที่ว่า ชุมชนที่มี
ความยืดหยุ่นนั้นต้องการองค์กรที่มีความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นขององค์กรขึ้ นอยู่กับระบบนิเวศที่
แข็งแกร่ง/ยืดหยุ่น ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทาไมจึงบูรณาการความเป็นเลิศด้านชุมชนในโปรแกรม Baldrige
ผลกระทบได้เริ่มต้นขึ้ นแล้ว
 เกณฑ์ความเป็นเลิศ ฉบับปรับปรุงครั้งต่อไป (รวมถึงฉบับด้านการดูแลสุขภาพ และการศึกษา) มี
การวางแผนจะเผยแพร่ในปี ค.ศ. 2025
 การแก้ไขจะรวมการเปลี่ยนแปลงเพื่อลดความซับซ้อน ตรงเป้า และปรับปรุงความสะดวกในการใช้
งาน ในการปรับใหม่มุ่งเน้นความยืดหยุ่น และการแก้ไขอื่นๆ เพื่อสะท้อนถึงความเป็นผู้นา ด้านการ
นาองค์กร และแนวทางปฏิบัติที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว
 การใช้คาถามเกณฑ์ครบชุดเป็นกรอบในการทางาน เพื่อมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงและมุ่งมั่นสู่ความ
เป็นเลิศ จะยังคงมีคุณค่าสาหรับความพยายามขององค์กร ในการบรรลุระดับบทบาทการเป็น
แบบอย่างในการปฏิบัติงาน
สรุป - ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์รางวัลและเกณฑ์ความเป็นเลิศ
 นับเป็ นครั้งแรกที่เกณฑ์รางวัล (award criteria) จะไม่เหมือนกับเกณฑ์ความเป็นเลิศ (Criteria for
Performance Excellence®) ที่พบในกรอบการทางานเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
 เกณฑ์รางวัลจะเป็นชุดคาถามแคบ ๆ ที่กล่าวถึง ความยืดหยุ่นขององค์กรและความสาเร็จในระยะ
ยาว ที่ได้มาจากเนื้ อหา และแนวคิดที่พบในเกณฑ์ความเป็ นเลิศ
- Vince Lombardi
Award Criteria for 2024 เกณฑ์รางวัล 2004  (ไม่ใช่ เกณฑ์ความเป็นเลิศ 2025-2026).pdf

More Related Content

Similar to Award Criteria for 2024 เกณฑ์รางวัล 2004 (ไม่ใช่ เกณฑ์ความเป็นเลิศ 2025-2026).pdf

SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2Areté Partners
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentlwiwattho
 
Baldrige awareness series 11 core values
Baldrige awareness series    11 core valuesBaldrige awareness series    11 core values
Baldrige awareness series 11 core valuesmaruay songtanin
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)maruay songtanin
 
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...maruay songtanin
 
Stratege why and how #Bangkok University
Stratege why and how  #Bangkok UniversityStratege why and how  #Bangkok University
Stratege why and how #Bangkok UniversityKASETSART UNIVERSITY
 
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...maruay songtanin
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้SUMETRATPRACHUM1
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)maruay songtanin
 
Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?TK Tof
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to Award Criteria for 2024 เกณฑ์รางวัล 2004 (ไม่ใช่ เกณฑ์ความเป็นเลิศ 2025-2026).pdf (20)

Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
SEPA Cat 7 table of expected results ver 2
 
Business developmentl
Business developmentlBusiness developmentl
Business developmentl
 
Baldrige awareness series 11 core values
Baldrige awareness series    11 core valuesBaldrige awareness series    11 core values
Baldrige awareness series 11 core values
 
How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)How to write application report (part 2 of 4)
How to write application report (part 2 of 4)
 
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
Measurement, analysis and knowledge management from role models การวัด การวิเ...
 
Stratege why and how #Bangkok University
Stratege why and how  #Bangkok UniversityStratege why and how  #Bangkok University
Stratege why and how #Bangkok University
 
Pmk internal assessor 5
Pmk internal assessor 5Pmk internal assessor 5
Pmk internal assessor 5
 
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
BigData และการนำมาใช้BigData และการนำมาใช้
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)How to write application report (part 4 of 4)
How to write application report (part 4 of 4)
 
Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?Having a strategy for new service development – does it really matter?
Having a strategy for new service development – does it really matter?
 
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
2016 comment guidelines
2016 comment guidelines2016 comment guidelines
2016 comment guidelines
 
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)
IT Management in Healthcare Organizations: Part 2 (April 1, 2019)
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
Strategy implementation
Strategy implementationStrategy implementation
Strategy implementation
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

Award Criteria for 2024 เกณฑ์รางวัล 2004 (ไม่ใช่ เกณฑ์ความเป็นเลิศ 2025-2026).pdf

  • 3. เกณฑ์รางวัล Baldrige Award รูปแบบใหม่  เกณฑ์รางวัล (Baldrige Award) ที่ออกใหม่ มีมิติด้านผลประกอบการ 8 มิติ (dimensions) ซึ่ง เอื้ออานวยและสะท้อนถึง ความยืดหยุ่นขององค์กร (organizational resilience) และความสาเร็จใน ระยะยาว (long-term success)  เนื่องจากเกณฑ์นี้ จะใช้ในการประเมินองค์กรต่างๆ ที่หลากหลาย ผู้ตรวจประเมินจึงควรทาความ เข้าใจ และพิจารณาสภาพแวดล้อมที่เป็นเอกลักษณ์ขององค์กร ซึ่งเริ่มต้นด้วยการตอบคาถามต่างๆ ในโครงร่างองค์กร
  • 4. โครงร่างองค์กร  ข้อมูลที่ในส่วนนี้ เป็ นบริบทเพื่อให้แน่ใจว่า ผู้ตรวจประเมินมีความเข้าใจที่ลึกซึ้ งเกี่ยวกับองค์กร และ สภาพแวดล้อมขององค์กร  ส่วนของโครงร่างองค์กรจะไม่ได้รับการประเมิน  จากัดอักขระได้ไม่เกิน 2,000 ตัว และแผนภูมิ กราฟ และ/หรือตารางสูงสุดสามรายการ (สาหรับแต่ ละคาถาม)  ส่วนนี้ ไม่รวมรายละเอียดของกระบวนการ หรือผลลัพธ์ที่สาคัญ
  • 5.  1. ผลิตภัณฑ์ บริการ และ/หรือโปรแกรมหลัก คืออะไร?  2. พันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยมหรือหลักการชี้ นา คืออะไร?  3. โครงร่างการนาองค์กรและการกากับดูแลองค์กรโดยรวม เป็นอย่างไร?  4. โครงสร้างบุคลากรเป็นอย่างไร รวมถึงองค์ประกอบ/ลักษณะสาคัญของบุคลากร (กลุ่ม ข้อมูล ประชากร สภาพแวดล้อม [รวมศูนย์/กระจายตัว, ในสานักงาน/เสมือน])?
  • 6.  5. ตลาดและ/หรือกลุ่มลูกค้าหลัก มีอะไรบ้าง? แต่ละกลุ่มมีปริมาณธุรกิจ/รายได้ กี่เปอร์เซ็นต์?  6. ผู้ส่งมอบ คู่ค้า และคู่ความร่วมมือ มีบทบาทอย่างไรในการผลิต ส่งมอบผลิตภัณฑ์ บริการ และ/ หรือโปรแกรมหลัก?  7. มีคู่แข่งประเภทใดบ้าง และอะไรคือสิ่งที่ทาให้องค์กรแตกต่างองค์กรอื่น?
  • 7.  8. ชุมชนหลักขององค์กรคืออะไร? ความสัมพันธ์ในการสนับสนุนขององค์กรต่อชุมชนหลักในด้าน ต่าง ๆ มีอะไรบ้าง?  หมายเหตุ: ชุมชนหลักอาจรวมถึงสิ่งต่อไปนี้ : ▪ ด้านท้องถิ่น/ภูมิศาสตร์ (เช่น อาสาสมัคร และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน) ▪ ด้านอาชีพ (เช่น การมีส่วนร่วม และ/หรือการเป็นผู้นาของสังคมวิชาชีพ) ▪ ด้านอุตสาหกรรม (เช่น การมีส่วนร่วม และ/หรือความเป็นผู้นาของสมาคมการค้า)
  • 8.  9. อะไรคือความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ภัยคุกคาม ข้อได้เปรียบ โอกาส ความสามารถหลัก หรือปัจจัย สาคัญอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความสาเร็จ และความยั่งยืนขององค์กรมากที่สุด?  10. กฎระเบียบหลัก รวมถึงข้อกาหนดด้านการรับรอง การรับรอง หรือการลงทะเบียนมีอะไรบ้าง ?  11. มีอะไรที่คิดว่าเป็นความไม่ปกติเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมหรือรูปแบบธุรกิจ ที่จะช่วยให้มีความ เข้าใจองค์กรมากขึ้ นหรือไม่?
  • 9. คาถามเกณฑ์สาหรับการประเมินผล  มีคาถามสองประเภท: คาถามหนึ่งถามเกี่ยวกับกระบวนการสาคัญที่ใช้ อีกคาถามหนึ่งผลลัพธ์และ/ หรือผลที่ได้ (ที่บรรลุ)  ทั้งสองคาถามมีความสาคัญในกระบวนการประเมิน อย่างไรก็ตาม ผลลัพธ์และผลที่ได้(results and outcomes) มีน้าหนักมากกว่า และเป็นจุดเน้นของการประเมิน  สาหรับองค์กรที่ก้าวหน้า ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่ จะตรวจสอบผลลัพธ์การปฏิบัติงาน และสารวจ กระบวนการที่สาคัญ ระบบ และคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่าง (role-model characteristics)
  • 10.  ผลลัพธ์จะได้รับการประเมินตามการตอบคาถามคือ ระดับ (levels) แนวโน้ม (trends) การ เปรียบเทียบกับคู่แข่ง (comparisons to competitors) หรือเกณฑ์มาตรฐานอุตสาหกรรม (industry benchmarks ) (*ตามความเหมาะสม) และความเกี่ยวข้อง (relevance) ของตัวชี้ วัดที่นาเสนอ  ความเกี่ยวข้อง หมายถึงองค์กรกาลังวัดสิ่งที่สาคัญต่อความสาเร็จและความยั่งยืนขององค์กรหรือไม่ และรวมถึงข้อมูลที่มีการแบ่งส่วน (segmented) อย่างเหมาะสม
  • 11. คาแนะนาสาหรับกระบวนการ/ระบบและผลลัพธ์ที่ต้องการ  ในคาถามแรกในแต่ละส่วน ให้อธิบายกระบวนการและ/หรือระบบโดยย่อ คาอธิบายจากัดอยู่ที่ 2,000 อักขระ และแผนภูมิ/กราฟ/ตาราง สูงสุดสามรายการ  สาหรับคาถามที่ 2 และต่อๆ ไปในแต่ละส่วน ขึ้ นกับความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ ให้ใช้ แผนภูมิ กราฟ และ/หรือตาราง เพื่อระบุข้อมูลผลประกอบการในช่วงห้าปีล่าสุด เทียบกับการ เปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง รวมการแบ่งส่วนตามที่ร้องขอ (และอื่นๆ ตามความเหมาะสม)  การเปรียบเทียบที่เกี่ยวข้อง อาจรวมถึงผลลัพธ์ของคู่แข่ง สิ่งที่ทาได้ดีที่สุดในอุตสาหกรรมเดียวกัน บรรลุร้อยละสิบหรือร้อยละยี่สิบห้าสูงสุด ฯลฯ
  • 12. 1. การนาและการกากับดูแลองค์กร  1. อธิบายโดยสรุป และ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหรือระบบการนา และการกากับดูแลองค์กร รวมถึงกระบวนการสาหรับการวางแผนสืบทอดตาแหน่ง และการสื่อสารสองทิศทาง  2. ผลลัพธ์สาหรับประสิทธิผลของความผูกพัน และการสื่อสารของผู้นาระดับสูง โดยแยกตามกลุ่ม บุคลากรหลัก (เช่น การให้คะแนนผู้นาโดยบุคลากร) คืออะไร?
  • 13.  3. ผลลัพธ์ประสิทธิผลของความผูกพัน และการสื่อสารของผู้นาระดับสูง โดยกลุ่มลูกค้าหลัก และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียคืออะไร?  4. ผลลัพธ์ความรับผิดชอบของการนาและการกากับดูแลองค์กร (เช่น การตรวจสอบ และการ ประเมินภายในและภายนอก การรับรอง และการรับรองระบบ) คืออะไร?  หมายเหตุ: ไม่คาดว่าจะมีการเปรียบเทียบสาหรับคาถามนี้ (ข้อที่ 4)  5. ผลลัพธ์การร้องทุกข์และการร้องเรียน รวมถึงที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย คณะกรรมการโอกาส การจ้างงานที่เท่าเทียมกัน EEOC (Equal Employment Opportunity Commission) และจริยธรรมเป็น อย่างไร?
  • 14. 2. กลยุทธ์  หมายเหตุ: ไม่คาดว่าจะมีการเปรียบเทียบสาหรับผลลัพธ์ในส่วนนี้  1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลัก ที่องค์กรใช้ในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ รวมถึงการพัฒนา การจัดสรรทรัพยากร และการดาเนินการให้สาเร็จ  2. ผลลัพธ์การบรรลุผลตามแผนปฏิบัติการขององค์กรคืออะไร?
  • 15.  3. ผลลัพธ์ที่เป็นผลกระทบต่อกลยุทธ์องค์กรขององค์กร คืออะไร?  หมายเหตุ: ผลลัพธ์เหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของการบรรลุเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ และ/หรือ วัตถุประสงค์ขององค์กร  4. ผลลัพธ์สาหรับการบรรลุผลตามแผนกาลังคน รวมถึงความสามารถและขีดความสามารถสาหรับ ตาแหน่งที่สาคัญเชิงกลยุทธ์ คืออะไร?
  • 16. 3. การปฏิบัติการ  1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลักที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ : ▪ ก. การออกแบบ และการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการ ▪ ข. การจัดการเครือข่ายอุปทาน และ ▪ ค. การจัดการนวัตกรรม  2. ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ของกระบวนการสาคัญขององค์กรคืออะไร?
  • 17.  3. ผลลัพธ์ผลการดาเนินการของผลิตภัณฑ์ บริการ และ/หรือโปรแกรมหลักขององค์กรคืออะไร?  4. ผลลัพธ์ผลการดาเนินการของส่วนประกอบสาคัญของเครือข่ายอุปทานขององค์กร (เช่น การส่ง มอบตรงเวลา ความพร้อมของวัสดุที่สาคัญ คุณภาพ) คืออะไร?  5. ผลลัพธ์สาหรับประสิทธิผลด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ รวมถึงความพยายามในการบุกรุก เทียบกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นเป็ นอย่างไร?
  • 18. 4. ความต่อเนื่องในการปฏิบัติการ  1. อธิบายโดยย่อและ/หรือบรรยายถึงกระบวนการหลักขององค์กรที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ : ▪ ก. การบริหารความเสี่ยง ▪ ข. ความต่อเนื่องในการดาเนินงาน และ ▪ ค. การเตรียมพร้อมในกรณีฉุกเฉิน  2. ผลลัพธ์สาหรับความมีประสิทธิผลของแผนการจัดการความเสี่ยงขององค์กร รวมถึง: ▪ ก. จานวนความเสี่ยงที่ระบุเทียบกับจานวนความเสี่ยงที่บรรเทาลง ▪ ข. ต้นทุนการสูญเสีย และ ▪ ค. การประหยัดต้นทุนของความเสี่ยงที่หลีกเลี่ยงได้ และความเสี่ยงที่ลดลง?
  • 19.  3. ผลการทดสอบความต่อเนื่องของแผนการดาเนินงานเป็นอย่างไร?  4. ผลลัพธ์สาหรับการทดสอบแผนเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉินเป็นอย่างไร (เช่น เวลาในการ อพยพออกจากสถานที่ เวลาตอบสนองเหตุฉุกเฉิน เวลาฟื้ นคืน)?
  • 20. 5. บุคลากร  หมายเหตุ: ผลลัพธ์ที่แสดงควรรวมข้อมูลสาหรับการแบ่งกลุ่มบุคลากรหลัก (ถ้ามี)  1. อธิบายกระบวนการหลักโดยย่อที่ใช้ สาหรับสิ่งต่อไปนี้ : ▪ ก. ความผูกพันของบุคลากร ▪ ข. การพัฒนาบุคลากร และการฝึกอบรมทักษะในการทางาน และ ▪ ค. ความมั่นใจด้านสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ทางาน  2. ผลลัพธ์ของการหมุนเวียน การรักษา และการขาดงานเป็นอย่างไร?  3. ผลลัพธ์ความพึงพอใจ และความไม่พอใจของบุคลากรคืออะไร?
  • 21.  4. ผลลัพธ์ความผูกพันของบุคลากรคืออะไร?  5. ผลลัพธ์การพัฒนาบุคลากรและผู้นา รวมถึงการฝึกอบรมทักษะในการทางานเป็นอย่างไร?  6. ผลลัพธ์เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยที่สาคัญ รวมถึงเหตุการณ์ที่ต้องรายงานของ สานักงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (OSHA: Occupation Safety and Health Administration) เป็นอย่างไร?  7. ผลลัพธ์ตัวบ่งชี้ เพิ่มเติมเกี่ยวกับสุขภาพและความปลอดภัยในสถานที่ทางาน (เช่น ผลลัพธ์ของ การตรวจสอบความปลอดภัย การติดตามเหตุการณ์ใกล้ผิดพลาด) คืออะไร?
  • 22. 6. ลูกค้าและตลาด  1. อธิบายกระบวนการหลักขององค์กรโดยย่อ ที่ใช้สาหรับสิ่งต่อไปนี้ : ▪ ก. การรับฟังลูกค้า ▪ ข. ความผูกพันของลูกค้า และ ▪ ค. การสนับสนุนลูกค้า  2. ผลลัพธ์ขนาดตลาดและส่วนแบ่งการตลาด ตามหน่วยธุรกิจหรือผลิตภัณฑ์/บริการ (ตามความ เหมาะสม) คืออะไร?  3. ผลลัพธ์ความภักดีของลูกค้า รวมถึงแนวโน้มที่จะแนะนาองค์กร แบ่งตามกลุ่มลูกค้าหลักคืออะไร?
  • 23.  หมายเหตุ: สาหรับองค์กรด้านการดูแลสุขภาพ ตามความเหมาะสมรวมถึง ผลลัพธ์การประเมิน ผู้บริโภคที่มาใช้บริการโรงพยาบาลต่อผู้ให้บริการด้านสุขภาพและระบบการให้บริการ (Hospital Consumer Assessment of Healthcare Providers and Systems: HCAHPS หรือคะแนน CAHPS)  4. ผลลัพธ์การร้องเรียนจากลูกค้า แยกตามกลุ่มลูกค้าหลัก (ถ้ามี)?  5. ผลลัพธ์ความพึงพอใจและความไม่พอใจของลูกค้า โดยแยกตามกลุ่มลูกค้าหลักคืออะไร?
  • 24. 7. ความผูกพันกับชุมชน  1. อธิบายกระบวนการสาคัญการมีส่วนร่วมกับชุมชน และการตอบแทนสังคมโดยย่อ รวมถึง กระบวนการต่อไปนี้: ▪ ก. การรับฟังและมีส่วนร่วมกับชุมชนหลัก และ ▪ ข. การสนับสนุนชุมชนหลักขององค์กร  2. ผลลัพธ์การมีส่วนร่วมและสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนหลักขององค์กรคืออะไร? รวมถึงผลลัพธ์ ดังต่อไปนี้ : ▪ ก. จานวนและประเภทของการมีส่วนร่วม ▪ ข. ความถี่ของการมีส่วนร่วมแต่ละประเภท และ ▪ ค. ระยะเวลาของการมีส่วนร่วม
  • 25.  3. ผลลัพธ์ของการตอบแทนสังคมคืออะไร?  หมายเหตุ: ตัวอย่างการตอบแทนสังคม ▪ ลดการใช้พลังงาน ▪ การใช้ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียน และน้าที่รีไซเคิล ▪ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ▪ การลดของเสีย และการใช้ประโยชน์ ▪ แนวทางทางเลือกในการอนุรักษ์ทรัพยากร (เช่น การประชุมเสมือนจริงที่เพิ่มขึ้ น) ▪ การใช้แนวทางปฏิบัติด้านแรงงานที่ใช้ทั่วโลก; และ ▪ การบริจาคสินค้าหรือบริการ เพื่อส่งเสริมที่อยู่อาศัย สุขภาพชุมชน และความมั่นคงทางอาหาร
  • 26. 8. การเงิน  1. อธิบายกระบวนการสาคัญที่ใช้ในการจัดการการเงินขององค์กรโดยย่อ เพื่อให้แน่ใจว่ามีสิ่ง ดังต่อไปนี้ : ▪ ก. ความมั่นคงทางการเงิน และ ▪ ข. การเข้าถึงเงินทุนในช่วงที่เกิดการหยุดชะงัก  2. ผลลัพธ์ด้านความมั่นคงทางการเงินขององค์กรเป็นอย่างไร? (เช่น สภาพคล่อง จานวนวันเงินสด คงเหลือ/สารอง อันดับเครดิต หรือพันธบัตร)  3. ผลลัพธ์ผลประกอบการทางการเงินเป็นอย่างไร (เช่น รายได้ อัตรากาไรจากการดาเนินงาน ผล ประกอบการต่องบประมาณ) โดยแยกตามหน่วยองค์กรตามความเหมาะสม?
  • 27.
  • 28. วัตถุประสงค์และพันธกิจของโครงการ Baldrige  วัตถุประสงค์และพันธกิจของโครงการ Baldrige คือการปรับปรุงประสิทธิภาพและความสาเร็จใน ระยะยาวของธุรกิจ และเกิดประโยชน์ต่อองค์กรอื่นๆ โดย (1) ยกย่องเป็นแบบอย่างด้วยรางวัล Baldrige Award และ (2) ส่งเสริมการนาไปใช้ในเรื่องการนาองค์กร การจัดการ และแนวทางปฏิบัติ ที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว  นับตั้งแต่โปรแกรมนี้ ถูกสร้างขึ้ นในปี ค.ศ. 1987 แนวทางปฏิบัติเหล่านั้น เป็ นสิ่งที่จาเป็นต่อ ความสาเร็จในระยะยาว ซึ่งได้มีการพัฒนาไปอย่างมาก
  • 29. เน้นความยืดหยุ่น  ความถี่ที่เพิ่มขึ้ นของการหยุดชะงักในระดับภูมิภาค ระดับประเทศ และระดับโลก ทาให้การบริการ สุขภาพ การศึกษา และความมีชีวิตทางเศรษฐกิจของชุมชนทั่วประเทศตกอยู่ในความเสี่ยง ซึ่งส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงของชาติ จึงจาเป็นต้องมีองค์กรตัวอย่างที่สามารถบรรลุและ รักษาประสิทธิภาพระดับสูงไว้ได้ เมื่อเวลาผ่านไป และผ่านการหยุดชะงักต่างๆ (ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยี ภูมิรัฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม หรือตลาด)  รางวัล Baldrige Award สร้างขึ้ นอาศัยเกณฑ์ความเป็ นเลิศ (performance excellence) ของโปรแกรม Baldrige โดยจะยกย่ององค์กรที่เป็นแบบอย่างของความยืดหยุ่นและความสาเร็จในระยะยาว ซึ่งเป็น องค์กรที่พร้อมและสามารถปรับตัว สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ และเจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและเป็นพลวัต
  • 30. มุ่งตรงประเด็นสาคัญ  เกณฑ์รางวัล (award criteria) รายงานของผู้สมัคร (application) และกระบวนการประเมิน (evaluation process) ได้รับการปรับปรุง โดยมุ่งเน้นไปที่การระบุการเป็นแบบอย่างที่ดี (role models) แทนที่จะจัดให้มีการประเมินทั่วทั้งองค์กรโดยสมบูรณ์ จากทุกคาถามในกรอบความเป็ นเลิศ (Baldrige Excellence Framework)  เกณฑ์รางวัล จะเป็นชุดคาถามเฉพาะเจาะจง ที่กล่าวถึงความยืดหยุ่นขององค์กรและความสาเร็จใน ระยะยาว จากเนื้ อหาและแนวคิดที่พบในกรอบการมุ่งสู่ความเป็ นเลิศ
  • 31.  การยื่นแบบรายงานขององค์กรที่ขอรับรางวัล จะเป็นอินเทอร์เฟซออนไลน์ ที่ประกอบด้วยการ ตอบสนองต่อข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับองค์กรเป็ นหลัก และการอัปโหลดผลลัพธ์ที่จากัดและ เฉพาะเจาะจง ซึ่งสอดคล้องกับปัจจัยขับเคลื่อนความยืดหยุ่นขององค์กร ในรูปแบบของกราฟ แผนภูมิ และตาราง
  • 32.  ผู้ตรวจประเมินของ Baldrige ที่ได้รับการ ฝึกอบรม จะประเมินผลลัพธ์เหล่านั้นโดยใช้ รูบริกแบบง่าย (simplified rubric) ในการ พิจารณาระดับ แนวโน้ม การเปรียบเทียบ และการบูรณาการ/การแบ่งส่วนข้อมูล (ตาม ความเหมาะสม)  Rubric Template (For example only, not the real one)
  • 33.  คณะกรรมการตัดสิน จะใช้การประเมินเหล่านั้นเพื่อพิจารณาว่าองค์กรใดควรเข้าเยี่ยมชมสถานที่ และในระหว่างการเยี่ยมชมสถานที่ ผู้ตรวจประเมินจะตรวจสอบผลประกอบการ กระบวนการที่ เกี่ยวข้อง และประเมินคุณลักษณะที่เป็นแบบอย่างขององค์กร  คณะกรรมการตัดสิน จะใช้ผลการประเมินการเยี่ยมชมสถานที่ เพื่อเสนอผู้รับรางวัล Baldrige ให้กับ สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีแห่งชาติ (NIST: National Institute of Standards and Technology) และกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐอเมริกา
  • 34. โอกาสที่ได้เพิ่มเติมขององค์กรที่ได้รับการยอมรับ  นับเป็ นครั้งแรกขององค์กรที่เข้าร่วม ซึ่งผ่านเข้าสู่ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่ในกระบวนการมอบ รางวัล จะได้รับการยกย่องให้เป็น "ผู้เข้ารอบสุดท้าย" อย่างเป็นทางการ  นอกจากนี้ องค์กรที่ได้รับเยี่ยมชมสถานที่ จะมีสิทธิ์ได้รับการยกย่องเป็ นพิเศษว่า ได้สร้างผลกระทบ อย่างมีนัยสาคัญในด้านที่มีความสาคัญต่อองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก และ/หรือประเทศชาติ  การยกย่องอาจรวมถึงการปรับปรุงงานให้มีคุณภาพสูง ปรับปรุงความเป็นอยู่โดยรวมของพนักงาน เสริมสร้างความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน หรือเพิ่มความมีชีวิตชีวาทางเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ และ/ หรือการศึกษา ของประชากรที่ด้อยโอกาสในชุมชนของตน
  • 35. การคัดกรององค์กรสมรรถนะสูง  ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2024 เป็นต้นไป จะมีการใช้ประโยชน์ของการยอมรับขององค์กรในอุตสาหกรรมที่มี อยู่แล้ว โดยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการคัดกรองล่วงหน้า ที่จะ "เร่งรัด" องค์กรที่มีประสิทธิภาพสูง บางแห่ง ให้เข้าสู่ขั้นตอนการเยี่ยมชมสถานที่โดยตรง  จนถึงปัจจุบัน มีการระบุรางวัลสองรายการที่มีทั้งความกว้าง ความลึก ความเข้มงวด และสอดคล้อง ตามเกณฑ์รางวัล Baldrige Award ได้แก่ การจัดอันดับบริษัทของ Drucker Institute และการจัดอันดับ บริษัทของ JUST Capital อย่างไรก็ตาม การพิจารณาการรับรองใดอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ และการ จัดอันดับของบริษัทรายอื่นๆ จะได้รับการพิจารณาต่อไป
  • 36. ความเป็นเลิศ ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของรางวัล Baldrige Award  ความสามารถขององค์กรที่จะมีความยืดหยุ่นและประสบความสาเร็จในระยะยาวนั้น ขึ้ นอยู่กับความ เป็นเลิศในการปฏิบัติงานหลายๆ ด้าน
  • 37. การกาหนดบทบาทที่เป็นแบบอย่าง  กระบวนการมอบรางวัลมุ่งเน้นไปที่การกาหนดแบบอย่าง โดยไม่จาเป็นต้องพัฒนา/ปรับปรุงองค์กร (แม้ว่าจะยังคงเป็นจุดเน้นของ Baldrige Excellence Framework และเกณฑ์สาหรับความเป็นเลิศด้าน การปฏิบัติงานก็ตาม) การเปลี่ยนแปลงนี้ สะท้อนให้เห็นถึงการแบ่งแยกวัตถุประสงค์ของรางวัลนี้  การแบ่งปันและส่งเสริมองค์กรต้นแบบของประเทศนั้น สอดคล้องกับภารกิจและเป้าหมายของ โครงการ Baldrige ในการปรับปรุงขีดความสามารถในการแข่งขันและประสิทธิภาพขององค์กรใน สหรัฐฯ เพื่อประโยชน์ของผู้อยู่อาศัยในสหรัฐฯ ทุกคน และเพื่อให้ความเป็นผู้นาระดับโลก ในการ เรียนรู้และแบ่งปันกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติ หลักการ และวิธีการ ที่ประสบความสาเร็จ
  • 38. ใช้เวลาและความพยายามน้อยลงในการเข้าร่วมกระบวนการรับรางวัล  การปรับปรุงเกณฑ์รางวัล การส่งเอกสารสมัคร และกระบวนการประเมิน จะช่วยให้องค์กร เตรียมการสมัคร และมีส่วนร่วมในกระบวนการมอบรางวัลได้ง่ายขึ้ น  ควรสังเกตว่า ความง่ายในการเข้าร่วม ไม่ได้หมายความว่าจะได้รับรางวัลโดยง่าย  เพราะการบรรลุผลการประกอบการในระดับการเป็นต้นแบบ ไม่ใช่เรื่องง่าย
  • 39. ข้อเสนอที่มีคุณค่าเพิ่มขึ้ น  องค์กรที่ได้รับรางวัล Baldrige Award และได้รับการยอมรับว่าเป็ นแบบอย่างระดับชาตินั้น ส่งผลดีต่อ ชื่อเสียงของแบรนด์ และถือเป็ นความสาเร็จครั้งสาคัญ  การมีศักยภาพที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็น "ผู้เข้ารอบสุดท้าย" สาหรับรางวัลนี้ พร้อมด้วยการยก ย่องเป็นพิเศษ สาหรับการมีผลกระทบในด้านที่มีความสาคัญต่อองค์กรหรือประเทศชาติ จะใช้เวลา และความพยายามน้อยลง และสร้างคุณค่าที่มากขึ้ นสาหรับองค์กรที่เข้าร่วม  นอกจากนี้ องค์กรอื่นอีกหลายแห่ง ยังได้ค้นพบคุณค่าในการสร้างผลกระทบเชิงบวกต่อประเทศ ผ่าน การแบ่งปันแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด ซึ่งจะช่วยปรับปรุงผลประกอบการและผลลัพธ์ในทุกภาคส่วน ของเศรษฐกิจ
  • 40. เวลาและความพยายามน้อยลง  เกณฑ์รางวัล การส่งรายงานการสมัคร และกระบวนการประเมินผล ที่ได้รับการปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพ จะส่งผลให้ผู้ตรวจประเมินใช้เวลาและความพยายามน้อยลงอย่างมาก ในการตรวจ ประเมินเป็นรายบุคคล (individual reviews) สาหรับทีมผู้ตรวจประเมินในการเข้าถึงฉันทามติ (consensus review) และดาเนินการเยี่ยมชมสถานที่ (site visit review) ให้เสร็จสิ้นเร็วขึ้ น
  • 41. การใช้เครื่องมือ "มาตรฐาน"  เป้าหมายประการหนึ่งของกระบวนการที่ออกแบบใหม่คือ เพื่อให้แน่ใจว่า มีความสมดุลที่เหมาะสม ระหว่างประสิทธิภาพที่เร็วขึ้ น และความเข้มงวดและการบูรณาการของกระบวนการตรวจประเมิน  เพื่อช่วยให้มั่นใจในคุณภาพและความสม่าเสมอของการประเมิน โปรแกรม Baldrige จะจัดเตรียม เครื่องมือ "มาตรฐาน" ที่จะอานวยความสะดวกและแนะนาผู้ตรวจประเมินตลอดการประเมินผล ตั้งแต่การตรวจสอบแบบรายงานขององค์กรไปจนถึงการเยี่ยมชมสถานที่
  • 42. การเปลี่ยนแปลงการฝึกอบรมผู้ตรวจประเมิน  การสรรหาและการคัดเลือกผู้ตรวจประเมิน คาดว่าจะเริ่มได้ในปลายปี ค.ศ. 2023 หรือต้นปี ค.ศ. 2024  ผู้ตรวจประเมินทุกคนจะต้องสาเร็จหลักสูตรการฝึกอบรม ซึ่งจะรวมถึงโมดูลออนไลน์และ กระบวนการเชิงโต้ตอบ ที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเกณฑ์ใหม่ ทักษะในการใช้การ ประเมินแบบรูบริก (evaluation rubric) และความคุ้นเคยกับเครื่องมือการทางานที่เป็นมาตรฐาน
  • 43. การเปลี่ยนแปลงจะสร้างความตระหนักรู้ ความสนใจ และความผูกพันมากขึ้ น  การเพิ่มความตระหนักรู้ ความสนใจ และการมีส่วนร่วมใน Baldrige ระดับชาติ จะสร้างความ ตระหนักรู้ ความสนใจ และการมีส่วนร่วมในโปรแกรมของรัฐ ภูมิภาค และภาคส่วนต่างๆ มากขึ้ น
  • 44. การปรับเปลี่ยนที่อาจเกิดขึ้ นกับข้อเสนอที่ให้กับโปรแกรมพันธมิตร  โดยทั่วไปโปรแกรมของพันธมิตร จะให้บริการแก่องค์กรที่มุ่งมั่นที่จะปรับปรุงผลประกอบการ ทาให้ เป็นที่ยอมรับ ในขณะที่พวกเขาก้าวหน้าไปตามเส้นทางการพัฒนา และบรรลุระดับผลประกอบการที่ จาเป็ นต่อการแข่งขัน เพื่อชิงรางวัลระดับประเทศนั้น จะไม่เปลี่ยนแปลง  โครงการพันธมิตร จะยังคงมีบทบาทสาคัญในการช่วยให้องค์กรต่างๆ ก้าวไปสู่ระดับนั้นต่อไป  อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ว่าในอนาคต ลักษณะเฉพาะของการประเมินและการยอมรับอาจ เปลี่ยนแปลงได้ เพื่อให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับรางวัลระดับประเทศ ในขณะเดียวกัน ก็ให้มีการ ประเมินที่เหมาะสมที่สุดสาหรับองค์กร ในระดับความพร้อมของวุฒิภาวะที่แตกต่างกัน (ขั้นบันได?)
  • 45. ชุมชนมีความสาคัญอย่างไรกับรางวัลนี้ ?  ชุมชน ได้รับการอนุมัติจากสภาคองเกรสให้เป็นอีกประเภทรางวัลหนึ่งของ Baldrige ในเดือน สิงหาคม ค.ศ. 2022  โครงการของ Baldrige ในการให้การยอมรับชุมชนนั้น เพื่อสร้างโอกาสและใช้ประโยชน์จากการ เชื่อมต่อกับงานของ NIST ที่เกี่ยวข้องกับ เมืองอัจฉริยะ ความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน และความ ยืดหยุ่นของชุมชน  โครงการริเริ่มเรื่องความยืดหยุ่นของชุมชนนั้น NIST ตระหนักดีถึงความเชื่อมโยงที่ว่า ชุมชนที่มี ความยืดหยุ่นนั้นต้องการองค์กรที่มีความยืดหยุ่น ความยืดหยุ่นขององค์กรขึ้ นอยู่กับระบบนิเวศที่ แข็งแกร่ง/ยืดหยุ่น ซึ่งเป็นเหตุผลว่าทาไมจึงบูรณาการความเป็นเลิศด้านชุมชนในโปรแกรม Baldrige
  • 46. ผลกระทบได้เริ่มต้นขึ้ นแล้ว  เกณฑ์ความเป็นเลิศ ฉบับปรับปรุงครั้งต่อไป (รวมถึงฉบับด้านการดูแลสุขภาพ และการศึกษา) มี การวางแผนจะเผยแพร่ในปี ค.ศ. 2025  การแก้ไขจะรวมการเปลี่ยนแปลงเพื่อลดความซับซ้อน ตรงเป้า และปรับปรุงความสะดวกในการใช้ งาน ในการปรับใหม่มุ่งเน้นความยืดหยุ่น และการแก้ไขอื่นๆ เพื่อสะท้อนถึงความเป็นผู้นา ด้านการ นาองค์กร และแนวทางปฏิบัติที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว  การใช้คาถามเกณฑ์ครบชุดเป็นกรอบในการทางาน เพื่อมุ่งเน้นไปที่การปรับปรุงและมุ่งมั่นสู่ความ เป็นเลิศ จะยังคงมีคุณค่าสาหรับความพยายามขององค์กร ในการบรรลุระดับบทบาทการเป็น แบบอย่างในการปฏิบัติงาน
  • 47. สรุป - ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์รางวัลและเกณฑ์ความเป็นเลิศ  นับเป็ นครั้งแรกที่เกณฑ์รางวัล (award criteria) จะไม่เหมือนกับเกณฑ์ความเป็นเลิศ (Criteria for Performance Excellence®) ที่พบในกรอบการทางานเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ  เกณฑ์รางวัลจะเป็นชุดคาถามแคบ ๆ ที่กล่าวถึง ความยืดหยุ่นขององค์กรและความสาเร็จในระยะ ยาว ที่ได้มาจากเนื้ อหา และแนวคิดที่พบในเกณฑ์ความเป็ นเลิศ