SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
อักขระโบราณและอักษรปัจจุบัน 
ตัวอักษรจีนสามารถแบ่งออกเป็นอักขระที่ใช้ในสมัยโบราณกับ อักษรที่ใช้ใน ปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น อักษรลี่ซูซึ่งเป็นรูปแบบ ของอักขระโบราณ อันเป็นต้นแบบของการปฏิรูปลักษณะ ตัวอักษรจีนครั้งใหญ่ กลายเป็นเส้นแบ่งระหว่างอักษรรุ่นเก่า และใหม่ ยุคสมัยที่ใช้อักษรลี่ซูและก่อนหน้านั้น ถือเป็นอักขระ โบราณ ได้แก่ อักษรจารบนกระดูกสัตว์หรือเจี๋ยกู่เหวินจากสมัย ซาง อักษรโลหะจากราชวงศ์โจวตะวันตก อักษรเสี่ยวจ้วนจาก ยุคสมัยจั้นกว๋อและสมัยฉิน หลังจากกาเนิดอักษรลี่ซูให้ถือเป็น อักษรในยุคปัจจุบัน อันได้แก่ อักษรลี่ซู อักษรข่ายซู สาหรับ อักษรเฉ่าซูและสิงซู อาจกล่าวได้ว่าเป็นเพียงพัฒนาการของ รูปแบบตัวอักษร ไม่ใช่วิวัฒนาการของตัวอักษรจีนโดยรวม 
จัดทำโดย 
นางสาวเสาวลักษณ์ แสงจันทร์ 563050547-6 
สำขำกำรสอนภำษำจีนในฐำนะภำษำต่ำงประเทศ 
คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
ประเทศจีน พระราชวังต้องห้าม 
อักษรสิงซู 
อักษรสิงซู(行书)เป็นรูปแบบตัวอักษรที่อยู่กึ่งกลาง ระหว่างอักษรข่ายซูและ อักษรเฉ่าซู เกิดจากการเขียนอักษร ตัวบรรจงที่เขียนอย่างหวัดหรืออักษรตัวหวัดที่เขียน อย่าง บรรจง อาจกล่าวได้ว่า เป็นตัวอักษรกึ่งตัวหวัดและกึ่งบรรจง อักษรสิงซูกาเนิดขึ้นในราวปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รวบรวมเอาปมเด่นของอักษรข่ายซูและเฉ่าซูเข้าด้วยกัน
อักษรเฉ่าซู 
ตั้งแต่กาเนิดมีตัวอักษรจีนเป็นต้นมา อักษรแต่ละรูปแบบล้วน มีวิธีการเขียนแบบตัวหวัดทั้งสิ้น จวบจนถึงราชวงศ์ฮั่น อักษร หวัดจึงได้รับการเรียกขานว่า ‘อักษรเฉ่าซู’ (草书)อย่าง เป็นทางการ (คาว่า ‘เฉ่า’ ในภาษาจีนหมายถึง อย่างลวก ๆ หรืออย่างหยาบ) อักษรเฉ่าซู เกิดจากการนาเอาลายเส้นที่มี แต่เดิมมาย่นย่อเหลือเพียงขีดเส้นเดียว โดยฉีกออกจาก รูปแบบอันจาเจของกรอบสี่เหลี่ยมในอักษรจีน หลุดพ้นจาก ข้อจากัดของขั้นตอนวิธีการขีดเขียนอักษรในแบบมาตรฐาน ตัวคัดหรือ ข่ายซู ในขณะที่อักษรข่ายซูอาจประกอบขึ้นจาก ลายเส้นสิบกว่าสาย แต่อักษรเฉ่าซูเพียงใช้ 2 – 3 ขีดก็ สามารถประกอบเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกันได้ 
วิวัฒนำกำรตัวอักษรจีน 
นับแต่โบรำณกำลมำ ผู้คนรู้จักใช้เส้นเชือก ภำพวำดและเครื่องหมำย เพื่อใช้ในกำรจดบันทึกสิ่งต่ำง ๆ เมื่อล่วงเวลำนำนเข้ำ จึงเกิดวิวัฒนำกำร กลำยเป็นตัวอักษร สำหรับศิลปะในกำรเขียนตัวอักษรจีนนั้น ได้ถือกำเนิด ขึ้นมำพร้อม ๆกับตัวอักษรจีนเลยทีเดียว ดังนั้น กำรจะศึกษำถึงศิลปะใน กำรเขียนตัวอักษรจีนจึงต้องทำควำมเข้ำใจถึงต้นกำเนิด ของตัวอักษรควบคู่ กันไป 
มาเริ่มกันที่ตัวอักษรแรก
อักษรภาพที่เก่าแก่ที่สุดในจีน 
กำรปรำกฏของอักษรจีนที่เก่ำแก่ที่สุดมำจำกแหล่งโบรำณคดีปั้นปอจำก เมืองซีอันมณฑลส่ำนซีทำงตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน สำมำรถนับ ย้อนหลังกลับไปได้กว่ำ 5,000 ปี โดยอยู่ในรูปของอักษรภำพที่สลักเป็น รูปวงกลม เสี้ยวพระจันทร์และภูเขำห้ำยอดบนเครื่องปั้นดินเผำ จวบจนถึง เมื่อ 3,000 ปีก่อนจึงก้ำวเข้ำสู่รูปแบบของอักษรจำรบนกระดูกสัตว์ ซึ่ง 
อักษรข่ายซู(楷书)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อักษรจริง (真书)เป็นอักษรจีนรูปแบบมาตรฐาน ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน (คาว่า ‘楷’ อ่านว่า ข่าย มีความหมายว่าแบบฉบับหรือตัวอย่าง) อักษร ข่ายซูเป็นเส้นสัญลักษณ์ที่ประกอบกันขึ้น ภายใต้ กรอบสี่เหลี่ยม หลุดพ้นจากรูปแบบอักษรภาพของตัว อักขระยุคโบราณอย่างสิ้นเชิง อักษรข่ายซูมีต้นกาเนิดในยุคปลายราชวงศ์ ฮั่นตะวันออก ภายหลังราชวงศ์วุ่ยจิ้น(สาม ก๊ก) (คริสตศักราช 220 – 316) ได้รับความนิยม อย่างแพร่หลาย จากการก้าวเข้าสู่ขอบเขตขั้นใหม่ ของอักษรลี่ซู พัฒนาตามมาด้วย อักษรข่ายซู เฉ่าซู และสิงซู ก้าวพ้นจากข้อจากัดของลายเส้นที่มาจาก การแกะสลัก เมื่อถึงยุคถัง(คริสตศักราช 618 – 907) จึงก้าวสู่ยุคทองของอักษรข่ายซูอย่างแท้จริง จวบจนปัจจุบัน อักษรข่ายซูยังเป็นอักษรมาตรฐาน ของจีน
อักษรข่ายซู 
"กระดูกมังกร" ที่ภำยหลังพบว่ำเป็นบันทึกอักขระโบรำณ 
เมื่อปี ค.ศ. 1899 ชำวบ้ำนจำกหมู่บ้ำนเล็ก ๆแห่งหนึ่งทำงทิศตะวันตก เฉียงเหนือของอำเภออันหยำงมณฑลเหอหนันประเทศจีนได้ ค้นพบสิ่งที่ เรียกกันว่ำ ‘กระดูกมังกร’ จึงนำมำใช้ทำเป็นตัวยำรักษำโรค ต่อมำ เนื่องจำกพ่อค้ำหวังอี้หรงเกิดควำมสนใจต่อตัวอักษรบนกระดูก จึงสะสมไว้ มีจำนวนกว่ำ 5,000 ชิ้นและส่งให้ผู้เชี่ยวชำญทำกำรศึกษำวิจัย จึงพบว่ำ กระดูกมังกรนั้นแท้ที่จริงคือกระดูกที่จำรึกอักขระโบรำณของยุคสมัย ซำง ที่มีอำยุเก่ำแก่ถึง 1,300 ปีก่อนคริสตกำล
จากเจี๋ยกู่เหวินหรืออักษรจารบนกระดูก สัตว์ (甲骨文)จินเหวินหรืออักษร โลหะ (金文)อักษรเสี่ยวจ้วนหรือจ้วน เล็ก(小篆) อักษรลี่ซู(隶书) อักษร ข่ายซู (楷书)อักษรเฉ่าซู(草书)และ อักษรสิงซู(行书)เป็นต้น 
อักษรจารบนกระดูกสัตว์ 
จากสมัยชุนชิวจั้นกว๋อจนถึงยุคการก่อตั้งราชวงศ์ฉิน (770 – 202 ปีก่อนคริสตศักราช) โครงสร้างของตัวอักษรจีน โดยมากยังคงรักษารูปแบบเดิมจากราชวงศ์โจวตะวันตก ซึ่ง นอกจากอักษรโลหะแล้ว ยังมีอักษรรูปแบบต่าง ๆที่เหมาะกับ การบันทึกลงในวัสดุแต่ละชนิด เช่น อักษรที่ใช้ในการลง นามสัตยาบันร่วมระหว่างแว่นแคว้นที่สลักลงบนแผ่นหยกก็ เรียกว่า หนังสือพันธมิตร หากสลักลงบนไม้ก็เรียกสาส์นไม้ หากสลักลงบนหินก็เรียก ตัวหนังสือกลองหิน ฯลฯ นอกจากนี้ ก่อนการรวมประเทศจีนบรรดาเจ้านครรัฐหรือแว่นแคว้นต่าง ก็มีตัวอักษรที่ใช้แตก ต่างกันไป ซึ่งส่วนหนึ่งได้แก่อักษรจ้วน ใหญ่หรือต้าจ้วน(大篆)ซึ่งเป็นต้นแบบของเสี่ยวจ้วนใน เวลาต่อมา ภายหลังจากจิ๋นซีฮ่องเต้ได้รวมแผ่นดินจีนเข้าด้วยกัน ในปีค.ศ. 221 แล้ว ก็ทาการปฏิรูประบบตัวอักษรครั้งใหญ่ โดยการสร้างมาตรฐานรูปแบบตัวอักษรที่เป็นหนึ่งเดียวกัน ทั่วประเทศ กล่าวกันว่า ภายใต้การผลักดันของมหา เสนาบดีหลี่ซือ ได้มีการนาเอาตัวอักษรดั้งเดิมของรัฐฉิน (อักษรจ้วน)มาปรับให้เรียบง่ายขึ้น จากนั้นเผยแพร่ออกไป ทั่วประเทศ ขณะเดียวกัน ก็ยกเลิกอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ จากแว่นแคว้นอื่น ๆในยุคสมัยเดียวกัน อักษรที่ผ่านการ ปฏิรูปนี้ รวมเรียกว่า อักษรเสี่ยวจ้วนหรือจ้วนเล็ก (小篆) ถือเป็นอักษรที่ใช้ทั่วประเทศจีนเป็นครั้งแรก
อักษรจ้วนเล็ก 
อักษรจารบนกระดูกสัตว์(甲骨文)เป็นอักขระ โบราณที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจีน เท่าที่มีการค้นพบ ในปัจจุบัน โดยมากอยู่ในรูปของบันทึกการทานายที่ ใช้มีดแกะสลักหรือจารลงบนกระดองเต่า หรือ กระดูกสัตว์ ปรากฏแพร่หลายในราชสานักซาง เมื่อ 1,300 – 1,100 ปีก่อนคริสตกาล ลักษณะของ ตัวอักขระบางส่วน ยังคงมีลักษณะของความเป็น อักษรภาพอยู่ โครงสร้างตัวอักษรเป็นรูปวงรี มีขนาด ใหญ่เล็กแตกต่างกัน ที่ขนาดใหญ่บ้างสูงถึงนิ้วกว่า ขนาดเล็กเท่าเมล็ดข้าว บางครั้งในอักขระตัว เดียวกันยังมีวิธีการเขียนที่แตกต่างกัน ตัวอักษรมี การพัฒนาการในแต่ละช่วงเวลา โดยมีลักษณะ พิเศษ กล่าวคือ ยุคต้น ตัวอักษรมีขนาดใหญ่ ยุค กลาง มีขนาดเล็กและลายเส้นที่เรียบง่ายกว่า เมื่อถึง ยุคปลายจะมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรจินเหวินหรือ อักษรโลหะที่มีความ เป็นระเบียบสารวม
อักษรโลหะ(金文) 
อักษรโลหะ(金文) เป็นอักษรที่ใช้ในสมัยซางต่อเนื่อง ถึงราชวงศ์โจว (1,100 – 771ปีก่อนคริสตศักราช) มีชื่อ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘จงติ่งเหวิน’(钟鼎文)หมายถึง อักษรที่หลอมลงบนภาชนะทองเหลืองหรือสาริด เนื่องจากตัวแทนภาชนะสาริดในยุคนั้นได้แก่ ‘ติ่ง’ซึ่งเป็น ภาชนะคล้ายกระถางมีสามขา ใช้แสดงสถานะทางสังคม ของคนในสมัยนั้นและตัวแทนจากเครื่องดนตรีที่ทาจาก โลหะ คือ ‘จง’ หรือระฆัง ดังนั้นอักษรที่สลักหรือหลอมลง บนเครื่องใช้โลหะดังกล่าวจึงเรียกว่า ‘จงติ่งเหวิน’ มี ลักษณะพิเศษ คือ มีลายเส้นที่หนาหนัก ร่องลายเส้น ราบเรียบที่ได้จากการหลอม ไม่ใช่การสลักลงบนเนื้อ โลหะ อักษรโลหะในสมัยหลังรัชสมัยเฉิงหวังและคังหวัง แห่งราชวงศ์โจว จะมีความสง่างาม สะท้อนภาพลักษณ์ที่ สุขุมเยือกเย็น เนื้อหาที่บันทึกด้วยอักษรโลหะ โดยมากเป็น คาสั่งการ ของชนชั้นผู้นา พิธีการบูชาบรรพบุรุษ บันทึกการทา สงคราม เป็นต้น มีการบันทึกการค้นพบอักษรโลหะตั้งแต่ รัชสมัยฮั่นอู่ตี้ในราชวงศ์ฮั่น (116 ปีก่อนคริสตศักราช) บนภาชนะ ‘ติ่ง’ ที่ส่งเข้าวังหลวง ดังนั้น จึงมีการศึกษา และการทาอรรถาธิบายจากปัญญาชนในยุคต่อมา

More Related Content

Similar to หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน

Similar to หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน (12)

จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ IS ตามรอยอักษรโบราณ
IS ตามรอยอักษรโบราณ
 
02
0202
02
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
01
0101
01
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 

หนังสือเล่มเล็ก ย้อนรอย อักษรจีน

  • 1.
  • 2.
  • 3. อักขระโบราณและอักษรปัจจุบัน ตัวอักษรจีนสามารถแบ่งออกเป็นอักขระที่ใช้ในสมัยโบราณกับ อักษรที่ใช้ใน ปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น อักษรลี่ซูซึ่งเป็นรูปแบบ ของอักขระโบราณ อันเป็นต้นแบบของการปฏิรูปลักษณะ ตัวอักษรจีนครั้งใหญ่ กลายเป็นเส้นแบ่งระหว่างอักษรรุ่นเก่า และใหม่ ยุคสมัยที่ใช้อักษรลี่ซูและก่อนหน้านั้น ถือเป็นอักขระ โบราณ ได้แก่ อักษรจารบนกระดูกสัตว์หรือเจี๋ยกู่เหวินจากสมัย ซาง อักษรโลหะจากราชวงศ์โจวตะวันตก อักษรเสี่ยวจ้วนจาก ยุคสมัยจั้นกว๋อและสมัยฉิน หลังจากกาเนิดอักษรลี่ซูให้ถือเป็น อักษรในยุคปัจจุบัน อันได้แก่ อักษรลี่ซู อักษรข่ายซู สาหรับ อักษรเฉ่าซูและสิงซู อาจกล่าวได้ว่าเป็นเพียงพัฒนาการของ รูปแบบตัวอักษร ไม่ใช่วิวัฒนาการของตัวอักษรจีนโดยรวม จัดทำโดย นางสาวเสาวลักษณ์ แสงจันทร์ 563050547-6 สำขำกำรสอนภำษำจีนในฐำนะภำษำต่ำงประเทศ คณะศึกษำศำสตร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
  • 4. ประเทศจีน พระราชวังต้องห้าม อักษรสิงซู อักษรสิงซู(行书)เป็นรูปแบบตัวอักษรที่อยู่กึ่งกลาง ระหว่างอักษรข่ายซูและ อักษรเฉ่าซู เกิดจากการเขียนอักษร ตัวบรรจงที่เขียนอย่างหวัดหรืออักษรตัวหวัดที่เขียน อย่าง บรรจง อาจกล่าวได้ว่า เป็นตัวอักษรกึ่งตัวหวัดและกึ่งบรรจง อักษรสิงซูกาเนิดขึ้นในราวปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออก รวบรวมเอาปมเด่นของอักษรข่ายซูและเฉ่าซูเข้าด้วยกัน
  • 5. อักษรเฉ่าซู ตั้งแต่กาเนิดมีตัวอักษรจีนเป็นต้นมา อักษรแต่ละรูปแบบล้วน มีวิธีการเขียนแบบตัวหวัดทั้งสิ้น จวบจนถึงราชวงศ์ฮั่น อักษร หวัดจึงได้รับการเรียกขานว่า ‘อักษรเฉ่าซู’ (草书)อย่าง เป็นทางการ (คาว่า ‘เฉ่า’ ในภาษาจีนหมายถึง อย่างลวก ๆ หรืออย่างหยาบ) อักษรเฉ่าซู เกิดจากการนาเอาลายเส้นที่มี แต่เดิมมาย่นย่อเหลือเพียงขีดเส้นเดียว โดยฉีกออกจาก รูปแบบอันจาเจของกรอบสี่เหลี่ยมในอักษรจีน หลุดพ้นจาก ข้อจากัดของขั้นตอนวิธีการขีดเขียนอักษรในแบบมาตรฐาน ตัวคัดหรือ ข่ายซู ในขณะที่อักษรข่ายซูอาจประกอบขึ้นจาก ลายเส้นสิบกว่าสาย แต่อักษรเฉ่าซูเพียงใช้ 2 – 3 ขีดก็ สามารถประกอบเป็นสัญลักษณ์เช่นเดียวกันได้ วิวัฒนำกำรตัวอักษรจีน นับแต่โบรำณกำลมำ ผู้คนรู้จักใช้เส้นเชือก ภำพวำดและเครื่องหมำย เพื่อใช้ในกำรจดบันทึกสิ่งต่ำง ๆ เมื่อล่วงเวลำนำนเข้ำ จึงเกิดวิวัฒนำกำร กลำยเป็นตัวอักษร สำหรับศิลปะในกำรเขียนตัวอักษรจีนนั้น ได้ถือกำเนิด ขึ้นมำพร้อม ๆกับตัวอักษรจีนเลยทีเดียว ดังนั้น กำรจะศึกษำถึงศิลปะใน กำรเขียนตัวอักษรจีนจึงต้องทำควำมเข้ำใจถึงต้นกำเนิด ของตัวอักษรควบคู่ กันไป มาเริ่มกันที่ตัวอักษรแรก
  • 6. อักษรภาพที่เก่าแก่ที่สุดในจีน กำรปรำกฏของอักษรจีนที่เก่ำแก่ที่สุดมำจำกแหล่งโบรำณคดีปั้นปอจำก เมืองซีอันมณฑลส่ำนซีทำงตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศจีน สำมำรถนับ ย้อนหลังกลับไปได้กว่ำ 5,000 ปี โดยอยู่ในรูปของอักษรภำพที่สลักเป็น รูปวงกลม เสี้ยวพระจันทร์และภูเขำห้ำยอดบนเครื่องปั้นดินเผำ จวบจนถึง เมื่อ 3,000 ปีก่อนจึงก้ำวเข้ำสู่รูปแบบของอักษรจำรบนกระดูกสัตว์ ซึ่ง อักษรข่ายซู(楷书)หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อักษรจริง (真书)เป็นอักษรจีนรูปแบบมาตรฐาน ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน (คาว่า ‘楷’ อ่านว่า ข่าย มีความหมายว่าแบบฉบับหรือตัวอย่าง) อักษร ข่ายซูเป็นเส้นสัญลักษณ์ที่ประกอบกันขึ้น ภายใต้ กรอบสี่เหลี่ยม หลุดพ้นจากรูปแบบอักษรภาพของตัว อักขระยุคโบราณอย่างสิ้นเชิง อักษรข่ายซูมีต้นกาเนิดในยุคปลายราชวงศ์ ฮั่นตะวันออก ภายหลังราชวงศ์วุ่ยจิ้น(สาม ก๊ก) (คริสตศักราช 220 – 316) ได้รับความนิยม อย่างแพร่หลาย จากการก้าวเข้าสู่ขอบเขตขั้นใหม่ ของอักษรลี่ซู พัฒนาตามมาด้วย อักษรข่ายซู เฉ่าซู และสิงซู ก้าวพ้นจากข้อจากัดของลายเส้นที่มาจาก การแกะสลัก เมื่อถึงยุคถัง(คริสตศักราช 618 – 907) จึงก้าวสู่ยุคทองของอักษรข่ายซูอย่างแท้จริง จวบจนปัจจุบัน อักษรข่ายซูยังเป็นอักษรมาตรฐาน ของจีน
  • 7. อักษรข่ายซู "กระดูกมังกร" ที่ภำยหลังพบว่ำเป็นบันทึกอักขระโบรำณ เมื่อปี ค.ศ. 1899 ชำวบ้ำนจำกหมู่บ้ำนเล็ก ๆแห่งหนึ่งทำงทิศตะวันตก เฉียงเหนือของอำเภออันหยำงมณฑลเหอหนันประเทศจีนได้ ค้นพบสิ่งที่ เรียกกันว่ำ ‘กระดูกมังกร’ จึงนำมำใช้ทำเป็นตัวยำรักษำโรค ต่อมำ เนื่องจำกพ่อค้ำหวังอี้หรงเกิดควำมสนใจต่อตัวอักษรบนกระดูก จึงสะสมไว้ มีจำนวนกว่ำ 5,000 ชิ้นและส่งให้ผู้เชี่ยวชำญทำกำรศึกษำวิจัย จึงพบว่ำ กระดูกมังกรนั้นแท้ที่จริงคือกระดูกที่จำรึกอักขระโบรำณของยุคสมัย ซำง ที่มีอำยุเก่ำแก่ถึง 1,300 ปีก่อนคริสตกำล
  • 8. จากเจี๋ยกู่เหวินหรืออักษรจารบนกระดูก สัตว์ (甲骨文)จินเหวินหรืออักษร โลหะ (金文)อักษรเสี่ยวจ้วนหรือจ้วน เล็ก(小篆) อักษรลี่ซู(隶书) อักษร ข่ายซู (楷书)อักษรเฉ่าซู(草书)และ อักษรสิงซู(行书)เป็นต้น อักษรจารบนกระดูกสัตว์ จากสมัยชุนชิวจั้นกว๋อจนถึงยุคการก่อตั้งราชวงศ์ฉิน (770 – 202 ปีก่อนคริสตศักราช) โครงสร้างของตัวอักษรจีน โดยมากยังคงรักษารูปแบบเดิมจากราชวงศ์โจวตะวันตก ซึ่ง นอกจากอักษรโลหะแล้ว ยังมีอักษรรูปแบบต่าง ๆที่เหมาะกับ การบันทึกลงในวัสดุแต่ละชนิด เช่น อักษรที่ใช้ในการลง นามสัตยาบันร่วมระหว่างแว่นแคว้นที่สลักลงบนแผ่นหยกก็ เรียกว่า หนังสือพันธมิตร หากสลักลงบนไม้ก็เรียกสาส์นไม้ หากสลักลงบนหินก็เรียก ตัวหนังสือกลองหิน ฯลฯ นอกจากนี้ ก่อนการรวมประเทศจีนบรรดาเจ้านครรัฐหรือแว่นแคว้นต่าง ก็มีตัวอักษรที่ใช้แตก ต่างกันไป ซึ่งส่วนหนึ่งได้แก่อักษรจ้วน ใหญ่หรือต้าจ้วน(大篆)ซึ่งเป็นต้นแบบของเสี่ยวจ้วนใน เวลาต่อมา ภายหลังจากจิ๋นซีฮ่องเต้ได้รวมแผ่นดินจีนเข้าด้วยกัน ในปีค.ศ. 221 แล้ว ก็ทาการปฏิรูประบบตัวอักษรครั้งใหญ่ โดยการสร้างมาตรฐานรูปแบบตัวอักษรที่เป็นหนึ่งเดียวกัน ทั่วประเทศ กล่าวกันว่า ภายใต้การผลักดันของมหา เสนาบดีหลี่ซือ ได้มีการนาเอาตัวอักษรดั้งเดิมของรัฐฉิน (อักษรจ้วน)มาปรับให้เรียบง่ายขึ้น จากนั้นเผยแพร่ออกไป ทั่วประเทศ ขณะเดียวกัน ก็ยกเลิกอักษรที่มีลักษณะเฉพาะ จากแว่นแคว้นอื่น ๆในยุคสมัยเดียวกัน อักษรที่ผ่านการ ปฏิรูปนี้ รวมเรียกว่า อักษรเสี่ยวจ้วนหรือจ้วนเล็ก (小篆) ถือเป็นอักษรที่ใช้ทั่วประเทศจีนเป็นครั้งแรก
  • 9. อักษรจ้วนเล็ก อักษรจารบนกระดูกสัตว์(甲骨文)เป็นอักขระ โบราณที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจีน เท่าที่มีการค้นพบ ในปัจจุบัน โดยมากอยู่ในรูปของบันทึกการทานายที่ ใช้มีดแกะสลักหรือจารลงบนกระดองเต่า หรือ กระดูกสัตว์ ปรากฏแพร่หลายในราชสานักซาง เมื่อ 1,300 – 1,100 ปีก่อนคริสตกาล ลักษณะของ ตัวอักขระบางส่วน ยังคงมีลักษณะของความเป็น อักษรภาพอยู่ โครงสร้างตัวอักษรเป็นรูปวงรี มีขนาด ใหญ่เล็กแตกต่างกัน ที่ขนาดใหญ่บ้างสูงถึงนิ้วกว่า ขนาดเล็กเท่าเมล็ดข้าว บางครั้งในอักขระตัว เดียวกันยังมีวิธีการเขียนที่แตกต่างกัน ตัวอักษรมี การพัฒนาการในแต่ละช่วงเวลา โดยมีลักษณะ พิเศษ กล่าวคือ ยุคต้น ตัวอักษรมีขนาดใหญ่ ยุค กลาง มีขนาดเล็กและลายเส้นที่เรียบง่ายกว่า เมื่อถึง ยุคปลายจะมีลักษณะใกล้เคียงกับอักษรจินเหวินหรือ อักษรโลหะที่มีความ เป็นระเบียบสารวม
  • 10. อักษรโลหะ(金文) อักษรโลหะ(金文) เป็นอักษรที่ใช้ในสมัยซางต่อเนื่อง ถึงราชวงศ์โจว (1,100 – 771ปีก่อนคริสตศักราช) มีชื่อ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘จงติ่งเหวิน’(钟鼎文)หมายถึง อักษรที่หลอมลงบนภาชนะทองเหลืองหรือสาริด เนื่องจากตัวแทนภาชนะสาริดในยุคนั้นได้แก่ ‘ติ่ง’ซึ่งเป็น ภาชนะคล้ายกระถางมีสามขา ใช้แสดงสถานะทางสังคม ของคนในสมัยนั้นและตัวแทนจากเครื่องดนตรีที่ทาจาก โลหะ คือ ‘จง’ หรือระฆัง ดังนั้นอักษรที่สลักหรือหลอมลง บนเครื่องใช้โลหะดังกล่าวจึงเรียกว่า ‘จงติ่งเหวิน’ มี ลักษณะพิเศษ คือ มีลายเส้นที่หนาหนัก ร่องลายเส้น ราบเรียบที่ได้จากการหลอม ไม่ใช่การสลักลงบนเนื้อ โลหะ อักษรโลหะในสมัยหลังรัชสมัยเฉิงหวังและคังหวัง แห่งราชวงศ์โจว จะมีความสง่างาม สะท้อนภาพลักษณ์ที่ สุขุมเยือกเย็น เนื้อหาที่บันทึกด้วยอักษรโลหะ โดยมากเป็น คาสั่งการ ของชนชั้นผู้นา พิธีการบูชาบรรพบุรุษ บันทึกการทา สงคราม เป็นต้น มีการบันทึกการค้นพบอักษรโลหะตั้งแต่ รัชสมัยฮั่นอู่ตี้ในราชวงศ์ฮั่น (116 ปีก่อนคริสตศักราช) บนภาชนะ ‘ติ่ง’ ที่ส่งเข้าวังหลวง ดังนั้น จึงมีการศึกษา และการทาอรรถาธิบายจากปัญญาชนในยุคต่อมา