SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โฟโตเรสไพเรชัน(photorespiration)

                 จุดประสงค์การเรี ยนรู้
เพื่อให้ นกเรี ยนสามารถ สืบค้ นข้ อมูลและอธิบาย
          ั
เกี่ยวกับการเกิดโฟโตเรสไพเรชน  ั
ปฏิกิริยาโฟโตเรสไพเรชน (Photorespiration) หรือ
                        ั
ปฏิกิริยาการหายใจแสง หมายถึง การที่ O2 ทําปฏิกิริยา กับ
RuBP โดยมีเอนไซม์รูบิสโก (Rubisco)เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา
 จะได้ ผลผลิต เป็ นสารที่มีคาร์ บอน 3 อะตอม คอ ฟอสโฟกลีเซอ
                                             ื
เรต (PGA) 1 โมเลกล และได้ สารประกอบที่มีคาร์ บอน 2
                      ุ
อะตอม 1 โมเลกุล คือ ฟอสโฟไกลโคเลต
(Phosphoglycolate : PG) ซึงสาร PGA     ่
สามารถเข้ าสูวฏจักรคัลวินตามปกติ
             ่ั
ส่วนสารประกอบที่มีคาร์ บอน 2 อะตอม จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็ น
RuBP อีกครัง โดยใช้ สารประกอบที่มีคาร์ บอน 2 อะตอม 3 โมเลกล
                  ้                                             ุ
เปลียนเป็ น RuBP(5C) 1 โมเลกุล เหลือคาร์ บอนอีก 1 อะตอม
    ่
จะถูกปล่อยในรูปของ CO2 1 โมเลกล        ุ
          กระบวนการนี ้จึงคล้ ายกับกระบวนการหายใจที่มีการใช้ O2
 สลายสารอาหารแล้ วปล่อย CO2 ออกมา แต่กระบวนการนี ้
เกิดขึ ้นเมื่อมีแสง
แสดงสมการเคมีของกระบวนการ photorespiration
            RuBisCO
RuBP + O2               PGA +
             แสง
Phosphoglycolate + CO2
สรุป
Photorespiration เป็ นกระบวนการที่ออกซิเจนเข้ ารวมตัว
กบไรบูโลส 1, 5 บสฟอสเฟต (RuBP) โดยการเร่งปฏิกิริยาของ
  ั              ิ
เอนไซม์รูบิสโก (RuBisCO) ได้ ผลผลิตคือ ฟอสโฟกลีเซอเรต
(Phosphoglycerate : PGA) และฟอสโฟไกลโคเลต
(Phosphoglycolate : PG) และสารฟอสโฟไกลโคเลต จะ
ถูกสลายโดยเกิดปฏิกิริยาที่ซบซ้ อนและเกิดในออร์ แกเนลล์ คอ
                           ั                            ื
คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เพอรอกซโซม      ิ
(Peroxisom) และไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
Photorespiration
Photorespiration เกิดในพืช C3
- เมื่ออุณหภูมิสงขึ ้น Rubisco จะจบกบ O2 ได้ ดีขึ ้น
                ู                 ั ั
จนในที่สด O2 สามารถชนะในการแข่งขันกับ CO2 เพื่อทํา
          ุ
ปฏิกิริยากบ RuBP
            ั
               -เกิดเม่ือ CO2 ในใบตํ่า O2 สง
                                           ู
          -ความเข้ มแสงสูง, อากาศร้อน, ปากใบปิด
- RuBP ตรึง O2 และให้ CO2
- RuBP ตรึง CO2 ได้น้อยลง
- ประสิทธิภาพในกระบวนการ PS ลดน้ อยลง
Photorespiration ต่างจากการหายใจ หรื อการสลาย
สารอาหารตามปกติ เพราะโฟโตเรสไพเรชันจะเกิดขึ ้นเฉพาะในเซลล์
ที่มีคลอโรพลาสต์เท่านัน นอกจากนี ้ปฏิกิริยาเคมีตาง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง
                       ้                        ่
กบโฟโตเรสไพเรชันก็แตกต่างจากการสลายสารอาหารที่เกิดขึ ้นใน
  ั
เซลล์
         ในสภาพอากาศปกติการตรึง CO2 และการตรึง O2
 ดําเนินไปพร้ อม ๆ กันโดยมีสดส่วนการตรึง CO2 ต่อการตรึง O2
                             ั
 ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 แต่สดส่วนนี ้อาจเปลี่ยนแปลงได้ ขึ ้นอยูกบ
                           ั                                  ่ ั
 ความเข้มข้นของ CO2 และ O2 ในเซลล์
ปั จจุบนมีการทดลองที่แสดงให้ เห็น Photorespiration
               ั
จะช่วยปองกันความเสียหายให้ แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง
        ้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใบพืชอยูในสภาพที่ได้ รับแสงมาก มีปฏิกิริยา
                                 ่
แสงที่สร้ างสารพลังงานสูงได้ เป็ นปริ มาณมาก แต่มีปริ มาณ CO2
น้ อย สารพลังงานสูงเหล่านี ้อาจทําให้ เกิดอันตรายแก่เซลล์ เช่น ใน
กรณีที่ปากใบปิ ดเพราะพืชขาดนํ ้า ทําให้ พืชได้ รับแสงมาก แต่มี
คาร์ บอนไดออกไซด์ให้ ตรึงน้ อย การสังเคราะห์ด้วยแสงจึงเกิดขึ ้นได้
น้อย โฟโตเรสไพเรชันจะช่วยใช้ สารพลังงานสูง เช่น ATP ที่สร้ าง
ได้ มากเกินความต้ องการจากปฏิกิริยาแสง ซึงเป็ นผลดีตอพืชที่
                                             ่          ่
สามารถลดอันตรายจากสารพลังงานสูงที่เหลือใช้ เหล่านี ้ได้
ปัจจัย ท่ ีเก่ ียวข้อง   Photosynthesis   กระบวนการ   Photorespira
                                          หายใจ       tion
สารอาหาร                 ผลิต C6H12O6 ใช้ C6H12O6     ผลิต C6H12O6
                                                      แต่น้อย และ
                                                      ผลิตได้ ช้ากว่า
O2                       ปล่ อย O2        ใช้ O2      ใช้ O2
เกิด                     เวลามีแสง        ตลอดเวลา    ตลอดเวลา ถ้ ามี
                                                      O2 RuBP และ
                                                      RuBisCO
CO2                      ใช้ CO2          ปล่อย CO2   ปล่อย CO2

พลังงาน                  สะสมพลังงาน          สลาย    สะสมพลังงาน

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)Waridchaya Charoensombut
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 

What's hot (20)

ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 

Similar to สังเคราะห์แสง3

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camappseper
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการHyings
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...kasidid20309
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)kasidid20309
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมthunchanok
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชPawida Chumpurat
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช Jinnipa Taman
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)Kriangkasem
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 

Similar to สังเคราะห์แสง3 (20)

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 camกระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
กระบวนการตรึงคาร์บอกไดออกไซด์พองพืช c3 c4 cam
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการเนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
เนื้อหาความเรียงเชิงวิชาการ
 
Respiration
RespirationRespiration
Respiration
 
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
เรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular rispiration น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติ...
 
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t) ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
ชีววิทยาเรื่อง การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration (t)
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
สรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืชสรีรวิทยาของพืช
สรีรวิทยาของพืช
 
วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช วิชา สรีรวิทยาของพืช
วิชา สรีรวิทยาของพืช
 
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
2 entech-wwt-training jan2019-s (Thai Version)
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 

More from Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

More from Anana Anana (11)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

สังเคราะห์แสง3

  • 1. โฟโตเรสไพเรชัน(photorespiration) จุดประสงค์การเรี ยนรู้ เพื่อให้ นกเรี ยนสามารถ สืบค้ นข้ อมูลและอธิบาย ั เกี่ยวกับการเกิดโฟโตเรสไพเรชน ั
  • 2. ปฏิกิริยาโฟโตเรสไพเรชน (Photorespiration) หรือ ั ปฏิกิริยาการหายใจแสง หมายถึง การที่ O2 ทําปฏิกิริยา กับ RuBP โดยมีเอนไซม์รูบิสโก (Rubisco)เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้ ผลผลิต เป็ นสารที่มีคาร์ บอน 3 อะตอม คอ ฟอสโฟกลีเซอ ื เรต (PGA) 1 โมเลกล และได้ สารประกอบที่มีคาร์ บอน 2 ุ อะตอม 1 โมเลกุล คือ ฟอสโฟไกลโคเลต (Phosphoglycolate : PG) ซึงสาร PGA ่ สามารถเข้ าสูวฏจักรคัลวินตามปกติ ่ั
  • 3. ส่วนสารประกอบที่มีคาร์ บอน 2 อะตอม จะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็ น RuBP อีกครัง โดยใช้ สารประกอบที่มีคาร์ บอน 2 อะตอม 3 โมเลกล ้ ุ เปลียนเป็ น RuBP(5C) 1 โมเลกุล เหลือคาร์ บอนอีก 1 อะตอม ่ จะถูกปล่อยในรูปของ CO2 1 โมเลกล ุ กระบวนการนี ้จึงคล้ ายกับกระบวนการหายใจที่มีการใช้ O2 สลายสารอาหารแล้ วปล่อย CO2 ออกมา แต่กระบวนการนี ้ เกิดขึ ้นเมื่อมีแสง
  • 5.
  • 6. สรุป Photorespiration เป็ นกระบวนการที่ออกซิเจนเข้ ารวมตัว กบไรบูโลส 1, 5 บสฟอสเฟต (RuBP) โดยการเร่งปฏิกิริยาของ ั ิ เอนไซม์รูบิสโก (RuBisCO) ได้ ผลผลิตคือ ฟอสโฟกลีเซอเรต (Phosphoglycerate : PGA) และฟอสโฟไกลโคเลต (Phosphoglycolate : PG) และสารฟอสโฟไกลโคเลต จะ ถูกสลายโดยเกิดปฏิกิริยาที่ซบซ้ อนและเกิดในออร์ แกเนลล์ คอ ั ื คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เพอรอกซโซม ิ (Peroxisom) และไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)
  • 8. Photorespiration เกิดในพืช C3 - เมื่ออุณหภูมิสงขึ ้น Rubisco จะจบกบ O2 ได้ ดีขึ ้น ู ั ั จนในที่สด O2 สามารถชนะในการแข่งขันกับ CO2 เพื่อทํา ุ ปฏิกิริยากบ RuBP ั -เกิดเม่ือ CO2 ในใบตํ่า O2 สง ู -ความเข้ มแสงสูง, อากาศร้อน, ปากใบปิด - RuBP ตรึง O2 และให้ CO2 - RuBP ตรึง CO2 ได้น้อยลง - ประสิทธิภาพในกระบวนการ PS ลดน้ อยลง
  • 9. Photorespiration ต่างจากการหายใจ หรื อการสลาย สารอาหารตามปกติ เพราะโฟโตเรสไพเรชันจะเกิดขึ ้นเฉพาะในเซลล์ ที่มีคลอโรพลาสต์เท่านัน นอกจากนี ้ปฏิกิริยาเคมีตาง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง ้ ่ กบโฟโตเรสไพเรชันก็แตกต่างจากการสลายสารอาหารที่เกิดขึ ้นใน ั เซลล์ ในสภาพอากาศปกติการตรึง CO2 และการตรึง O2 ดําเนินไปพร้ อม ๆ กันโดยมีสดส่วนการตรึง CO2 ต่อการตรึง O2 ั ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 แต่สดส่วนนี ้อาจเปลี่ยนแปลงได้ ขึ ้นอยูกบ ั ่ ั ความเข้มข้นของ CO2 และ O2 ในเซลล์
  • 10. ปั จจุบนมีการทดลองที่แสดงให้ เห็น Photorespiration ั จะช่วยปองกันความเสียหายให้ แก่ระบบการสังเคราะห์ด้วยแสง ้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใบพืชอยูในสภาพที่ได้ รับแสงมาก มีปฏิกิริยา ่ แสงที่สร้ างสารพลังงานสูงได้ เป็ นปริ มาณมาก แต่มีปริ มาณ CO2 น้ อย สารพลังงานสูงเหล่านี ้อาจทําให้ เกิดอันตรายแก่เซลล์ เช่น ใน กรณีที่ปากใบปิ ดเพราะพืชขาดนํ ้า ทําให้ พืชได้ รับแสงมาก แต่มี คาร์ บอนไดออกไซด์ให้ ตรึงน้ อย การสังเคราะห์ด้วยแสงจึงเกิดขึ ้นได้ น้อย โฟโตเรสไพเรชันจะช่วยใช้ สารพลังงานสูง เช่น ATP ที่สร้ าง ได้ มากเกินความต้ องการจากปฏิกิริยาแสง ซึงเป็ นผลดีตอพืชที่ ่ ่ สามารถลดอันตรายจากสารพลังงานสูงที่เหลือใช้ เหล่านี ้ได้
  • 11. ปัจจัย ท่ ีเก่ ียวข้อง Photosynthesis กระบวนการ Photorespira หายใจ tion สารอาหาร ผลิต C6H12O6 ใช้ C6H12O6 ผลิต C6H12O6 แต่น้อย และ ผลิตได้ ช้ากว่า O2 ปล่ อย O2 ใช้ O2 ใช้ O2 เกิด เวลามีแสง ตลอดเวลา ตลอดเวลา ถ้ ามี O2 RuBP และ RuBisCO CO2 ใช้ CO2 ปล่อย CO2 ปล่อย CO2 พลังงาน สะสมพลังงาน สลาย สะสมพลังงาน