SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
การออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
เรื่อง หลักการทำางานของคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
รายชื่อสมาชิกรายชื่อสมาชิก
นางกนกพิชญ์
อนุพันธ์
รหัสประจำาตัว
575050178-6
นักศึกษาปริญญาโท (โครงการพิเศษ)
นายโฆษิต จำารัส
ลาภ
รหัสประจำาตัว
575050179-4
นางสาวอิสยาห์
ถือสยม
รหัสประจำาตัว
นายรณฤทธิ์ ธร
รมาธิกร
รหัสประจำาตัว
1.วัตถุประสงค์การจัดการเรียน
การสอน
• เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจหลักการทำางานของ
คอมพิวเตอร์และสามารถวิเคราะห์สาเหตุของ
ปัญหาที่เกิดขึ้นกับอุปกรณ์ในส่วนต่าง ๆ ของ
คอมพิวเตอร์ ตลอดจนสามารถแก้ไขปัญหา
เบื้องต้นได้ ซึ่งจะสอดคล้องกับหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระ
การออกแบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.เนื้อหา
เนื้อหาที่ใช้ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้
2.1 อุปกรณ์และการทำางานของหน่วยรับ
เข้า
2.2 อุปกรณ์และการทำางานของหน่วย
ประมวลผล
2.3 อุปกรณ์และการทำางานของหน่วย
แสดงผล
3.หลักการและทฤษฎีที่
เกี่ยวข้อง
• การออกสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในเรื่อง หลักการ
ทำางานของคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ได้อาศัยหลักการและ
ทฤษฎีต่าง ๆ มาเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้ ดังนี้
– ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ เป็นแนวคิด
หลักในการออกแบบ โดยจะเน้นให้ผู้เรียนได้สร้าง
ความรู้ด้วยตนเองร่วมกับสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ได้
ออกแบบไว้ มีการกระตุ้นให้ผู้เรียนเสียดุลทางปัญญา
เพื่อให้มีการปรับโครงสร้างทางปัญญาโดยอาศัยหลัก
การ Cognitive Constructivism ของ Piaget
การสร้างช่องทางให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบร่วมมือตาม
แนวคิด Social Constructivism ของ Vygotsky ที่
ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสังคม
3.หลักการและทฤษฎีที่
เกี่ยวข้อง (ต่อ)
3.2 หลักการออกแบบสิ่งแวดล้อมแบบเปิด
(OLEs : Open Learning Environments)
ตามแนวคิดของ Michael Hannafin ซึ่งเป็น
หลักการที่สำาคัญในการออกแบบสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ ที่ประกอบด้วย หลักการต่าง ๆ
เช่น การเข้าสู่บริบท แหล่งเรียนรู้ เครื่องมือ
การช่วยเหลือ ซึ่งจากหลักการดังกล่าวเหมาะที่
จะนำามาใช้ออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่
อยู่บนระบบเครือข่าย ที่มีข้อได้เปรียบในการเข้า
ถึงแหล่งทรัพยากรได้ในทุกที่ทุกเวลา สร้าง
4.กระบวนการเรียนรู้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์
ในการจัดการเรียนรู้จะเป็นการจัดการเรียนรู้
อย่างมีปฏิสัมพันธ์ที่หลากหลายอันประกอบด้วย
4.1 การมีปฏิสัมพันธ์แบบ Student to Content
ซึ่งเป็นการปฏิบัติสัมพันธ์ที่ผู้เรียนจะมีต่อเนื้อหาบท
เรียน ผู้ออกแบบสิ่งแวดล้อมจะต้องออกแบบให้มี
การจัดเตรียมเนื้อหาในรูปแบบของแหล่งเรียนรู้ ให้
แก่ผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษา
หาความรู้เพิ่มเติม จากแหล่งที่จัดเตรียมไว้ให้และแห
ล่งอื่นๆ ที่ผู้ออกแบบชี้นำาเพิ่มเติม
4.กระบวนการเรียนรู้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์ (ต่อ)
4.2 การมีปฏิสัมพันธ์แบบ Student to
Teacher ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ที่ผู้ออกแบบควรจัด
ไว้ให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าไป
สอบถาม หรือขอคำาชี้แนะในกรณีที่ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งผู้สอนจะมีบทบาทในการ
โค้ช (Coach) เพื่อชี้แนะให้แก่ผู้เรียนในการ
เรียนรู้ โดยการออกออกแบบสิ่งแวดล้อมบน
เครือข่ายอาจจะออกแบบในลักษณะที่อาศัยช่อง
ทางของสื่อสังคมออนไลน์ประเภทต่างๆ เช่น
Facebook Line Twister เป็นสื่อที่ให้ผู้เรียนได้
4.กระบวนการเรียนรู้อย่างมี
ปฏิสัมพันธ์ (ต่อ)
4.3 การมีปฏิสัมพันธ์แบบ Student to
Student เป็นปฏิสัมพันธ์ที่สร้างการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นแนวทางการเรียนรู้แบบ
สร้างความรู้ประเภทหนึ่ง ในการออกแบบสิ่ง
แวดล้อมทางการเรียนรู้ก็สามารถใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ให้เป็นประโยชน์ให้เกิดปฏิสัมพันธ์
ลักษณะนี้ได้เช่นกัน
5. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
พัฒนา
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยีอุบัติใหม่ บนเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้
จะเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการทำางาน
บนระบบเครือข่าย เพื่อจะสามารถลดข้อจำากัดใน
เรื่องของสถานที่และเวลาในการเรียนรู้ ดังนั้น
ซอฟต์แวร์และเทคโนโลยีที่ใช้จึงประกอบด้วย
5. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
พัฒนา (ต่อ)
5.1 Wix Tool เป็นซอฟต์แวร์ ที่ใช้สร้างสิ่ง
แวดล้อมทางการเรียนรู้ในแบบออนไลน์โดยลักษณะ
เด่ของซอฟต์แวร์ มีกราฟฟิคที่สวยงาม และง่ายใน
การใช้งานทำาให้ลดระยะเวลาในการสร้างสิ่ง
แวดล้อมลงได้มาก ซึ่งหน้าที่หลัก ๆ ของ Wix
Tool จะนำามาใช้ในการสร้างเนื้อหา เรื่องราว
สถานการณ์ปัญหา เพื่อกระตุ้นการสร้างโครงสร้าง
ทางปัญญา ตลอดจนสร้างฐานการช่วยเหลือให้แก่
ผู้เรียน
5. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ
พัฒนา (ต่อ)
5.2 Wiki Pedia เป็นซอฟต์แวร์ประเภทสารานุกรม
ออนไลน์ ที่เป็นแหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
5.3 Google Search เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่ว่ยเป็นเครื่องมือ
ทางปัญญาในการค้นหาความรู้
5.4 Diigo เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยเป็นเครื่องมือทางปัญญา
ในการเก็บรวบรวมความรู้
5.5 Blog เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยเป็นเครื่องมือทางปัญญา
ในการบูรณาการความรู้
5.6 Mindmeister เป็นเครื่องมือทางปัญญาที่ใช้ในการ
จัดหมวดหมู่ความรู้
5.6 Facebook and Line เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยเป็น
6. แผนการดำาเนินงานและ
ผู้รับผิดชอบกิจกรรมการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ระยะเวลาดำาเนิน
งาน
ผู้รับผิดชอบ
W1 W2 W3 W4
1.ศึกษาหลักการ เครื่องมือ และทฤษฏีที่
เกี่ยวข้อง
         นางกนกพิชญ์ อนุพันธ์นางสาว
 อิสยาห ถือสยม
     นายรณฤทธิ์ ธรรมาธิกร
  นายโษฆิต จำารัสลาภ
2.ออกแบบขั้นการเข้าสู่บริบท (Enabling
Context) เป็นขั้นตอนในการสร้างแนวคิดที่จะ
ใช้ในการจัดสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ ที่นำามาจาก
ภายนอก จากผู้เรียนและสร้างขึ้นมาจากผู้เรียน
         นางกนกพิชญ์ อนุพันธ์
3.ออกแบบขั้นการจัดหาแหล่งเรียนรู้
(Resource) เป็นการจัดหาแหล่งที่จะเสนอข้อมูล
สารสนเทศต่าง ๆ ทั้งในแบบคงที่ และแบบ
พลวัตร
         นางสาวอิสยาห ถือสยม
6. แผนการดำาเนินงานและ
ผู้รับผิดชอบกิจกรรมการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ระยะเวลาดำาเนิน
งาน
ผู้รับผิดชอบ
W1 W2 W3 W4
4.ออกแบบขั้นการจัดหาเครื่องมือ (Tool)
เป็นการจัดหาเครื่องมือที่ใช้ในการจั้ดกระทำา
กับข้อมูลและสารสนเทศ เช่น เครื่องมือ
กระบวนการ เครื่องมือค้นหา เครื่องมือช่วย
บูรณาการ เป็นต้น
          นายโษฆิต จำารัสลาภ
5.ออกแบบขั้นการจัดหาส่วนการช่วยเหลือ
(Scaffolding) เป็นการออกแบบการแนะนำา
แนวทางและสนับสนุนความพยายามในการ
เรียนรู้ ในแบบ ฐานการช่วยเหลือแบบการ
สร้างความคิดรวบรยอด การช่วยเหลือด้าน
ความคิด ด้านกระบวนการ และด้านกลยุทธ์
             นายรณฤทธิ์ ธรรมาธิกร
 
201704 INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES
201704 INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์IceiiZ_Thanyaratsorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Narathip Limkul
 
Presentation2 605 no.15&16
Presentation2 605 no.15&16Presentation2 605 no.15&16
Presentation2 605 no.15&16KrataeBenjarat
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์Puniga Chansara
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Siwakorn Areephan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasn
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasnโครงงานคอมพิวเตอร์somwasn
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasnPolly Rockheels
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Khemjira_P
 
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาYonza Za
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kingchat Laolee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์IceiiZ_Thanyaratsorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Phapawee Suksuwan
 

What's hot (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
Com.ppt
Com.pptCom.ppt
Com.ppt
 
Ohkjtg
OhkjtgOhkjtg
Ohkjtg
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation2 605 no.15&16
Presentation2 605 no.15&16Presentation2 605 no.15&16
Presentation2 605 no.15&16
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
computer project
computer projectcomputer project
computer project
 
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Am
AmAm
Am
 
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม2
กิจกรรม2กิจกรรม2
กิจกรรม2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasn
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasnโครงงานคอมพิวเตอร์somwasn
โครงงานคอมพิวเตอร์somwasn
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559
 
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชาตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
ตาราง 6 โครงสร้างรายวิชา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to 201704 INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES

ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8aomsin271895
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8aomsin271895
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางBest Khotseekhiaw
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8aomsin271895
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAnanyaluk Chaiwut
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAnanyaluk Chaiwut
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pattarayut Tang
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Natsima Chaisuttipat
 
กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1Nuttida Meepo
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Praphaphun Kaewmuan
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 

Similar to 201704 INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES (20)

ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางเปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลาง
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Sen(3)
Sen(3)Sen(3)
Sen(3)
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
Polly pele
Polly pelePolly pele
Polly pele
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1กิจกรรมที่ 2-1
กิจกรรมที่ 2-1
 
2 3
2 32 3
2 3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 

More from ศิษย์ หอมหวล (9)

การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Evaluation learning environment
 การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Evaluation learning environment การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Evaluation learning environment
การประเมินประสิทธิภาพสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ Evaluation learning environment
 
Learing environments design
Learing environments designLearing environments design
Learing environments design
 
Aect standard 5_research
Aect standard 5_researchAect standard 5_research
Aect standard 5_research
 
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learningการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้:Smle learning
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
Lession5
Lession5Lession5
Lession5
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
lesson 2
lesson 2lesson 2
lesson 2
 
lesson 1
lesson 1lesson 1
lesson 1
 

201704 INTERACTIVE AND EMERGING TECHNOLOGIES