SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
โครงการจัดการเรียนรู
วิชา 2001-0001 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ
ครั้งที่ 1หนวยที่ 1 คอมพิวเตอรกับระบบสารสนเทศ
เรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน
1. ความหมายของคอมพิวเตอร
2. ระบบของคอมพิวเตอร
3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
4. ประเภทของคอมพิวเตอร
5. บทบาทของคอมพิวเตอร
6.การติดตั้งคอมพิวเตอร
7.ระบบสารสนเทศ
8.การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ
9.คอมพิวเตอรและอุปกรณ
จํานวน 3 ชั่วโมง
จุดประสงคการสอน รายการสอน
1. บอกความหมายของคอมพิวเตอรได
2. เขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได
3. แยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได
4. วิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได
5. เขียนระบบคอมพิวเตอรได
6. ติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณ
รอบขางไดถูกตองและใชงานได
7. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได
8. นําสารสนเทศและขอมูลดิบไปใชงานได
9. นําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชงานได
10. เขียนชื่อและหนาที่การทํางานของอุปกรณ
คอมพิวเตอรได
11. ดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ
คอมพิวเตอรได
1. ความหมายของคอมพิวเตอร
2. ระบบของคอมพิวเตอร
3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
4. ประเภทของคอมพิวเตอร
5. บทบาทของคอมพิวเตอร
6. การติดตั้งคอมพิวเตอร
7. ระบบสารสนเทศ
8. การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดาน
ตาง ๆ
9. คอมพิวเตอรและอุปกรณ
วิธีการสอน ทําแบบทดสอบกอนเรียน / บรรยาย / ถาม- ตอบ / ปฏิบัติ / ทําแบบทดสอบหลังเรียน
สื่อการสอน
1. CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร
เพื่องานอาชีพ
2. ใบความรู
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบกอนเรียน
5. แบบทดสอบหลังเรียน
หนังสืออางอิง
บุญสืบ โพธิ์ศรีและคณะ. คอมพิวเตอรเพื่อ งาน
อาชีพ. ศสอ. กรุงเทพฯ
การประเมินผล ทําแบบทดสอบ ไดเกินรอยละ80
แผนการจัดการเรียนรู
รหัสวิชา 2001-0001 วิชา คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ จํานวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห
ชื่อหนวย คอมพิวเตอรกับระบบสารสนเทศ
เรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน
1. ความหมายของคอมพิวเตอร
2. ระบบของคอมพิวเตอร
3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
4. ประเภทของคอมพิวเตอร
5. บทบาทของคอมพิวเตอร
6. การติดตั้งคอมพิวเตอร
7. ระบบสารสนเทศ
8. การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ
9. คอมพิวเตอรและอุปกรณ
สาระสําคัญ
กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุท หรือหนวยปอน
ขอมูลเขาไปยังหนวยประมวลผลซึ่งจะทํางานรวมกับหนวยความจําและสงไปยังเอาพุท
การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใชงานจะตองพิจารณาตําแหนงที่เหมาะสมมีอากาศถายเทได
สะดวก เพื่อใหมีการระบายความรอนที่ดี โตะและเกาอี้จะตองไมต่ําหรือสูงเกินไป สามารถนั่งพิมพได
เปนเวลานาน
จุดประสงคการเรียน
จุดประสงคทั่วไป
เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจ ความหมายของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร กระบวนการ
ทํางานของคอมพิวเตอร ประเภทคอมพิวเตอร บทบาทของคอมพิวเตอรและการติดตั้งเครื่อง
คอมพิวเตอร
จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
พุทธิพิสัย
1. ผูเรียนสามารถบอกความหมายของคอมพิวเตอรได
2. ผูเรียนสามารถเขียนระบบคอมพิวเตอรได
3. ผูเรียนสามารถวิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได
4. ผูเรียนสามารถแยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได
5. ผูเรียนสามารถอธิบายบทบาทของคอมพิวเตอรได
6. ผูเรียนสามารถเขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได
7. ผูเรียนสามารถบอกความหมายของระบบสารสนเทศได
ทักษะพิสัย
1. ผูเรียนสามารถติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขางไดถูกตองและใชงานได
2. ผูเรียนสามารถนําสารสนเทศและขอมูลดิบไปใชงานได
3. ผูเรียนสามารถนําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชงานได
จิตพิสัย
1. ผูเรียนสามารถบรรยายประโยชนของคอมพิวเตอรได
2. ผูเรียนสามารถทํางานเปนกระบวนการกลุมดวยความรอบคอบและระมัดระวัง
เนื้อหาสาระ
ความหมายของคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรหมายถึง เครื่องจักรกลทางดานอิเล็กทรอนิกสที่มนุษยคิดคนขึ้นมา เพื่ออํานวย
ความสะดวกในดานตาง ๆ เชนการคํานวณ การออกแบบ การเก็บขอมูล โดยมนุษยสามารถเขียน
โปรแกรมหรือคําสั่ง สั่งใหคอมพิวเตอรทํางานตามขั้นตอนที่กําหนด และประมวลผลออกมาตามที่
ตองการได
ระบบคอมพิวเตอร
1. ฮารดแวร (Hardware)
2. ซอฟตแวร (Software)
3. พีเพิลแวร (Peopleware)
4. ขอมูล (Data)
กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุทหรือหนวย
ปอนขอมูลเขา ไดแก คียบอรด เมาส สแกนเนอร กลองดิจิตอล จอยสติ๊ก และ ไมโครโฟน เปนตน เมื่อ
ผานทางอุปกรณอินพุทจะสงเขาไปยังหนวยประมวลผลกลาง(CPU) ซึ่งจะทําหนาที่ในการประมวลผล
ขอมูลและควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยจะทํางานรวมกับหนวยความจํา
(Memory Unit) ซึ่งมีอยู 2 ชนิดคือหนวยความจําชั่วคราว (RAM) และหนวยความจําถาวร (ROM) เมื่อ
ทํางานในขั้นตอนนี้เสร็จสิ้นแลวจะสงขอมูลไปยังหนวยแสดงผล ไดแก จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง
เครื่องฉายโปรเจคเตอร เปนตน
ประเภทของคอมพิวเตอร
1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Suppercomputer)
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer)
3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer)
4. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)
ปจจุบันไดมีการผลิตคอมพิวเตอรประเภทที่ 5 คือคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค
คอมพิวเตอร ปาลม คอมพิวเตอรมือถือ และออกาไนเซอร เปนตน
การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใชงานจะตองพิจารณาตําแหนงที่เหมาะสมมีอากาศถายเทได
สะดวก เพื่อใหมีการระบายความรอนที่ดี โตะและเกาอี้จะตองไมต่ําหรือสูงเกินไป สามารถนั่งพิมพได
เปนเวลานาน วิธีการติดตั้งใหปฏิบัติดังนี้
1. เปดกลองแลวนําคอมพิวเตอรออกมาอยางระมัดระวัง
2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรดซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB
3. ตอสายเมาสเขากับพอรตตอเมาสซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB
4. ตอสายจอภาพเขากับพอรตตอจอภาพ พอรตนี้จะมีสีน้ําเงินจํานวน 15 ขา
5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอดานหลังเครื่องบริเวณการดเสียง ปกติ
ชองตอสายออดิโอแจ็คของลําโพงมักจะมีสีเขียว
6. นําสายไฟฟาตอเขากับจุดตอไฟเขา 220 โวลท
7. ตรวจสอบความถูกตองและทดลองเปดเครื่อง
การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร
1. ไมควรติดตั้งคอมพิวเตอรในสถานที่ที่ถูกแสงแดดโดยตรงหรือพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงหรือ
ต่ําเกินไป
2. ระวังอยาใหของเหลวหรือน้ําหยดลงไปในคอมพิวเตอรหรือคียบอรด
3. หมั่นทําความสะอาดคอมพิวเตอรและจอภาพ โดยใชผาสักหลาดหรือผานุมเช็ดฝุน
4. หากจําเปนควรทําความสะอาด โดยการกําจัดฝุนละอองออกจากชองระบายอากาศเพื่อให
การระบายอากาศดี
5. เมื่อไมใชเครื่องเปนเวลานาน ควรปดสวิตชคอมพิวเตอร เพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่อง
คอมพิวเตอร
ขอควรระวัง คือ กอนทําความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร ควรถอดปลั๊กไฟของคอมพิวเตอร
ออกเสียกอน
ระบบสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลดิบที่ไดผานการประมวลผลในหนวยประมวลผล
กลางของคอมพิวเตอรมาแลว นั่นคือไดผานการคํานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เปนตน ผลลัพธที่
ไดสามารถนําไปใชประโยชนตอผูที่เกี่ยวของได
คอมพิวเตอรสามารถรับขอมูลไดหลายรูปแบบ เพื่อนําเขาสูระบบการประมวลผล เพื่อใหได
ผลลัพธหรือสารสนเทศที่สามารถนําไปใชประโยชนไดตามความตองการขององคกร รูปแบบของ
ขอมูลที่นําเขาสูระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอรไดแก ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
และเสียง เปนตน
การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ
1. ดานการศึกษา
2. ดานธุรกิจ
3. ดานอุตสาหกรรม
4. ดานวิทยาศาสตร
5. ดานการติดตอสื่อสารระยะไกล
6. ดานการแพทย
7. ดานความบันเทิง
คอมพิวเตอรและอุปกรณ
1. คอมพิวเตอรและแหลงจายไฟ
2. หนวยรับขอมูล
3. หนวยแสดงผล
4. หนวยประมวลผล
5. หนวยความจํา
6. หนวยความจําสํารอง
7. แผงเมนบอรด
กิจกรรมการเรียนรู
1. บอกวัตถุประสงคของการเรียนการสอนรายวิชา เกณฑการใหคะแนน การปฏิบัติกิจกรรมการ
เรียน และขอควรปฏิบัติขณะเรียน
2. รวมสนทนาเกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร
3. ทําแบบทดสอบกอนเรียน
4. แนะนําและสาธิตการใช CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ
5. ใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองจาก CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ
6. แบงกลุมศึกษาเรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน แลวออกมานําเสนอหนาชั้น
7. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
8. ฝกปฏิบัติตอสายอุปกรณตาง ๆ
9. ทบทวนรายละเอียดการตอสาย
10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญ
11. เปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัย
12. ทดสอบและใหนักเรียนผลัดกันตรวจ
13. เปรียบเทียบผลการทดสอบกอน-หลังเรียน
สื่อและแหลงการเรียนรู
1. CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ
2. ใบความรู
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบกอนเรียน
5. แบบทดสอบหลังเรียน
การบูรณาการเชื่อมโยง
สาระการเรียนรู การบูรณาการ กิจกรรม
ภาษาไทย นําเสนอผลงานกลุม
วิทยาศาสตร ทดลองติดตั้งอุปกรณ
การใชงานคอมพิวเตอร
เบื้องตน
ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร
เครื่องมือวัดผลตามพุทธิพิสัย (6 คะแนน)
1. บอกความหมายของคอมพิวเตอรได (1 คะแนน)
2. เขียนระบบคอมพิวเตอรได (1 คะแนน)
3. แยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได (1 คะแนน)
4. วิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได (1 คะแนน)
5. เขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได (1 คะแนน)
6. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได(1 คะแนน
เครื่องมือวัดผลตามทักษะพิสัย (9 คะแนน)
1. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอร (5 คะแนน)
2. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ (4 คะแนน)
เครื่องมือวัดผลตามจิตพิสัย (5 คะแนน)
1. บรรยายบทบาทของคอมพิวเตอร (3 คะแนน)
2. ทํางานเปนกระบวนการกลุมดวยความรอบคอบและระมัดระวัง (2 คะแนน)
เกณฑการวัดผลตามพุทธิพิสัย
การตอบคําถามขอ 1
ความหมายของคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีการทํางานซับซอนและอัตโนมัติ มีการควบคุม
การทํางานดวยโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่มนุษยสรางขึ้น สามารถรับขอมูล ประมวลผล แสดงผลลัพธ
รวมถึงการจัดเก็บขอมูล เพื่อใหสามารถนํากลับมาใชไดอีก กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรมี
ความเร็วสูงและถูกตองแมนยํา
ถาผูเรียนตอบไดถูกตองให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวนไมใหคะแนน
การตอบคําถามขอที่ 2
ระบบคอมพิวเตอร
1. ฮารดแวร (Hardware)
2. ซอฟตแวร (Software)
3. พีเพิลแวร (Peopleware)
4. ขอมูล (Data)
ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวน
ไมใหคะแนน
การตอบคําถามขอที่ 3
ประเภทของคอมพิวเตอร
1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Suppercomputer)
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer)
3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer)
4. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)
ปจจุบันไดมีการผลิตคอมพิวเตอรประเภทที่ 5 คือคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค
คอมพิวเตอร ปาลม คอมพิวเตอรมือถือ และออกาไนเซอร เปนตน
ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวน
ไมใหคะแนน
การตอบคําถามขอที่ 4
วิเคราะหกระบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุทหรือหนวย
ปอนขอมูลเขา ไดแก คียบอรด เมาส สแกนเนอร กลองดิจิตอล จอยสติ๊ก และ ไมโครโฟน เปนตน เมื่อ
ผานทางอุปกรณอินพุทจะสงเขาไปยังหนวยประมวลผลกลาง(CPU) ซึ่งจะทําหนาที่ในการประมวลผล
ขอมูลและควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยจะทํางานรวมกับหนวยความจํา
(Memory Unit) ซึ่งมีอยู 2 ชนิดคือหนวยความจําชั่วคราว (RAM) และหนวยความจําถาวร (ROM) เมื่อ
ทํางานในขั้นตอนนี้เสร็จสิ้นแลวจะสงขอมูลไปยังหนวยแสดงผล ไดแก จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง
เครื่องฉายโปรเจคเตอร เปนตน
ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้ไมใหคะแนน
ถาตอบไมครบถวนหรือสมบูรณหักครึ่งคะแนน
การตอบคําถามขอที่ 5
ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร
1. เปดกลองแลวนําคอมพิวเตอรออกมาอยางระมัดระวัง
2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรดซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB
3. ตอสายเมาสเขากับพอรตตอเมาสซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB
4. ตอสายจอภาพเขากับพอรตตอจอภาพ พอรตนี้จะมีสีน้ําเงินจํานวน 15 ขา
5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอดานหลังเครื่องบริเวณการดเสียง ปกติ
ชองตอสายออดิโอแจ็คของลําโพงมักจะมีสีเขียว
6. นําสายไฟฟาตอเขากับจุดตอไฟเขา 220 โวลท
7. ตรวจสอบความถูกตองและทดลองเปดเครื่อง
ถาผูเรียนตอบคําถามไดตามตัวอยางขางตนใหขอละ 1 คะแนน ถาตอบผิดหักตามความเหมาะสม
วิธีคิดคะแนนในขอนี้หารดวย 7 เหลือ 1 คะแนน
การตอบคําถามขอ 6
ความหมายของระบบสารสนเทศ
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลดิบที่ไดผานการประมวลผลในหนวยประมวลผลกลาง
ของคอมพิวเตอรมาแลว นั่นคือไดผานการคํานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เปนตน ผลลัพธที่ได
สามารถนําไปใชประโยชนตอผูที่เกี่ยวของได
ถาผูเรียนตอบไดถูกตองให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวนหักครึ่งคะแนน
เกณฑการวัดผลตามทักษะพิสัย
การตอบคําถามขอ 1
- ไดจากประเมินจากการทําใบงานที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอร สามารถติดตั้งอุปกรณ
คอมพิวเตอรและตอสายอุปกรณตางๆ ไดถูกตอง นําคะแนนที่ไดทั้งหมด หาร เหลือ 5 คะแนน
การตอบคําถามขอ 2
- ไดจากประเมินจากการทําใบงานที่ 1 เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนําเทคโนโลยี
สารสนเทศมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พิจารณาใหคะแนนตามความสมบูรณและเหมาะสมของ
ผลงาน จากคะแนนทั้งหมด 4 คะแนน
เกณฑการวัดผลตามจิตพิสัย
การตอบคําถามขอที่ 1
บทบาทของคอมพิวเตอร
1. บทบาทของคอมพิวเตอรในสถานศึกษา
− คอมพิวเตอรชวยในงานบริหาร
− คอมพิวเตอรชวยในงานบริการ เชน หองสมุด
− คอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน
2. บทของคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม
− คอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบ
− คอมพิวเตอรชวยในการควบคุมหุนยนตใหทํางาน
− คอมพิวเตอรชวยในการวางแผน คํานวณโครงสราง
3. บทบาทของคอมพิวเตอรในวงราชการ
− คอมพิวเตอรชวยในการทําทะเบียนราษฎร
− คอมพิวเตอรชวยในการนับคะแนนเลือกตั้ง
− ชวยในการรวบรวมขอมูลและสถิติ ทั่วไป
4. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานวิทยาศาสตร
− คอมพิวเตอรชวยในการเปรียบเทียบขอมูล
− คอมพิวเตอรชวยในการทดลองที่อันตราย
− คอมพิวเตอรชวยในการเดินทางของยานอวกาศ การถายภาพระยะไกล
5. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ
− คอมพิวเตอรชวยการวางแผนธุรกิจ
− คอมพิวเตอรชวยในประเมินสถานการณทางเศรษฐกิจในอนาคตได
− คอมพิวเตอรชวยงานธุรการ เชน งานภาษี ฯ
6. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธนาคาร
− คอมพิวเตอรชวยในการับฝากและถอนเงิน
− คอมพิวเตอรชวยในการคิดดอกเบี้ยตางๆ
− คอมพิวเตอรชวยใหลูกคาฝากเงินดวน หรือโอนเงินจากเครื่องไดโดยอัตโนมัติ
7. บทบาทของคอมพิวเตอรในรานคาปลีก
− ใชคอมฯในการคิดเงินแทนเครื่องคิดเงิน
− การอานรหัสดวยเครื่องอาน
− ควบคุมอุณหภูมิ
8. บทบาทคอมพิวเตอรในวงการแพทย
− ชวยในการบันทึกคนหาทะเบียนประวัติผูปวย
− ชวยในการวินิจฉัยโรค เชน ตรวจคลื่นสมอง บันทึกการเตนของหัวใจ
− หาตําแหนงที่ถูกตองของอวัยวะกอนผาตัด
9. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานอุตสาหกรรม
− ชวยในการวางแผนการผลิต ควบคุมการผลิต
− ชวยโรงงานกลั่นน้ํามัน ตรวจวัดการสงน้ํามัน
− ชวยในการควบคุมการสงแกสธรรมชาติไปตามทอ โดยมีระบบควบคุมความดันของ
แกส
ถาผูเรียนตอบคําถามไดตามตัวอยางขางตนใหขอละ 1 คะแนน ถาตอบผิดหักขอละครึ่งคะแนน วิธี
วิธีคิดคะแนน นําคะแนนที่ไดทั้งหมดหาร 9 เหลือ 3 คะแนน
การตอบคําถามขอที่ 2
ไดจากแบบประเมินการทํางานกลุม นําคะแนนที่ไดทั้งหมด หาร 2 คะแนน
เกณฑการประเมินผลอยูภาคผนวก ก
แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมอยูภาคผนวก ข
แบบประเมินผลอยูภาคผนวก ค
แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนอยูภาคผนวก ง
ผลการใชแผนการสอนอยูภาคผนวก จ
ใบความรูที่ 1
การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน
ความหมายของคอมพิวเตอร
คําวา “คอมพิวเตอร” มีผูใหความหมายไวหลากหลายมากมาย ผูเรียบเรียงขอนํามากลาวไวพอ
สังเขป ดังตอไปนี้
คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computer ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา “เครื่องอิเล็กทรอ
นิกแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เหมือนสมองกลใชสําหรับแกปญหาตางๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธีทาง
คณิตศาสตร” *(http://thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/ hie/page11.htm)
คอมพิวเตอร (Computer) คือเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่สามารถจัดการกับสัญลักษณ
(Symbol)ตางๆ ดวยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมหรือชุดคําสั่งงานที่ถูกเขียนโดย
มนุษยดังนั้นถาคําสั่งของโปรแกรมมีประสิทธิภาพดีคอมพิวเตอรก็จะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพแต
ถาโปรแกรมสั่งงานมีคําสั่งที่ผิดพลาดอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรก็จะทํางานผิดพลาดไปดวย
เพราะฉะนั้น การที่เครื่องคอมพิวเตอรจะทํางานไดดีหรือไมเพียงไร จึงขึ้นอยูกับโปรแกรมที่ทําขึ้น รวม
ไปถึงขอมูลที่ปอนเขาไปในคอมพิวเตอรดวย*(http://ite.nectec.or.th/~wutthich/it/computerbasic.html.)
สรุป คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีการทํางานซับซอน และอัตโนมัติมีการควบคุมการ
ทํางานดวยโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่มนุษยสรางขึ้น สามารถรับขอมูล ประมวลผล แสดงผลลัพธ รวมถึงการจัดเก็บ
ขอมูล เพื่อใหสามารถนํากลับมาใชไดอีก กระบวณการทํางานของคอมพิวเตอรมีความเร็วสูงและถูกตองแมนยํา
ภาพที่1.1 รูปคอมพิวเตอร
ระบบของคอมพิวเตอร
ในความเปนจริงแลว ตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่เราพบเห็นกันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่ง
ของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น การที่คอมพิวเตอรจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น
จําเปนตองอาศัยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรวมกัน ซึ่งระบบของ
คอมพิวเตอรประกอบไปดวย
ฮาดรแวร (Hardware)
หมายถึงอุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางซึ่ง
สามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เมาส เปนตน
ภาพที่ 1.2 ฮาดรแวร
ซอฟตแวร (Software)
หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูก
เรียกขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่อง และ
คอมพิวเตอร ถาไมมีซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลยซอฟตแวร แบง
ออกเปน
1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งเร็จรูป ซึ่งจะ
ทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยางและอํานวย
ความสะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรระบบที่รูจักกันเปนอยางดีคือ DOS Windows, Unix,
Linux รวมทั้งโปรแกรมที่เปนภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร เชน ภาษา Basic , Cobol, Pascal, Fortran,
C เปนตน
2. ซอฟรแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟรแวรหรือโปรแกรมที่ทําให
คอมพิวเตอรทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ซึ่ง สามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
2.1 ซอฟรแวรสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนเพื่อการทํางานเฉพาะ
อยางที่เราตองการ ซึ่งแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความ
ตองการหรือกฎเกณฑของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถแกไขเพิ่มเติมในบางสวนของโปรแกรมได
เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใช
2.2 ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผูจัดทําไว เพื่อใชใน การ
ทํางานประเภทตางๆ ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆสามารถนําโปรแกรมไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได
แตไมสามารถทําการดัดแปลงหรือแกไขโปรแกรมไดโดยผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ไดแก
MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer เปนตน
ภาพที่ 1.3 ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป
บุคลากร
หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใช
งาน สั่งงานเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้
1. ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอร ใหเปน
ไปตามเปาหมายของหนวยงาน
2. นักวิเคราะหระบบ(System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมซึ่ง
ทําการวิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร
เพื่อใหทํางานตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว
4. ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวิธีการใชเครื่องและวิธี
การใชงานโปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมที่มีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ
ภาพที่ 1.4 ผูใชคอมพิวเตอร
ขอมูล
ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญ เปนสิ่งที่ตองปอนเขาไปในคอมพิวเตอร พรอมกับ
โปรแกรมที่นักคอมพิวเตอรเขียนขึ้น เพื่อผลิตผลลัพธที่ตองการออกมา เราสามารถแบงระดับ
โครงสรางขอมูล ดังนี้
1. บิต (Bit) คือ ขอมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เปนขอมูลที่เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถ
เขาใจและนําไปใชงานได ซึ่งไดแก เลข 0 หรือ เลข 1 เทานั้น
2. ไบต (Byte) หรือ อักขระ (Character) ไดแก ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือสัญลักษณ
พิเศษ 1 ตัว เชน 0, 1,.....,9,A,B,.....,Z และเครื่องหมายตางๆ ซึ่ง 1 ไบตจะเทากับ 8 บิต
3. ฟลด (Field) ไดแก ไบต หรือ อักขระตั้งแต 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเปนฟลด เชน เลข
ประจําตัว ชื่อพนักงาน เปนตน
4. เรคคอรด (Record) ไดแก ฟลดตั้งแต 1 ฟลด ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของ
รวมกันเปนเรคคอรด เชน ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัว ยอดขาย ขอมูลของพนักงาน 1 คน เปนตน
5. ไฟล (Files) หรือแฟมขอมูล ไดแก เรคคอรดหลายๆเรคคอรดรวมกันซึ่งเปนเรื่อง
เดียวกัน เชน ขอมูลของพนักงานแตละคนมารวมกันเปนไฟลหรือแฟมขอมูล เปนตน
6. ฐานขอมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟลขอมูลหลายๆไฟลที่เกี่ยวของกัน มา
รวมเขาดวยกัน เชน ไฟลขอมูลของแผนกตางๆ มารวมกันเปนฐานขอมูลของบริษัท เปนตน
การวัดขนาดขอมูล
ในการพิจารณาวาขอมูลนั้นมีขนาดมากนอยเทาไร ใหดูจากการวัดขนาดขอมูล ตอไปนี้
8 Bit = 1 Byte
1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต)
1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต)
1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต)
1,024 GB = 1 TB (เทราไบต)
ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร
ภาพที่ 1.5 แสดงการทํางานของคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทํางานของสวนตางๆ ที่มี
ความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีลักษณะของขบวนการทํางานดังนี้
1. หนวยรับขอมูลเขา(Input) คือ การนําขอมูลปอนเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร โดยผูใชปอนทาง
หนวยรับขอมูล ซึ่งหนวยรับขอมูลไดแก แปนพิมพ เมาส สแกนเนอร จอยสติ๊ก เปนตน
ภาพที่ 1.6 อุปกรณรับขอมูล
2. หนวยประมวลผลกลาง (CPU) เมื่อนําขอมูลเขามาแลว เครื่องจะดําเนินการกับขอมูลตาม
คําสั่งที่ไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดเรียง การนํา
ขอมูลมาเรียบเรียง เปนตน ซึ่งจะทํางานรวมกับ หนวยความจํา
3. หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยความจําในเครื่องแบงออกไดเปน 2 แบบ คือ
- RAM (Random-Access Memory) คือ หนวยความจําชั่วคราวที่สามารถ อาน และ เขียน
ขอมูลตางๆ ได หนวยความจําประเภทนี้จะจําขอมูลได เฉพาะชวงที่มีการเปดคอมพิวเตอรเทานั้น
ภาพที่ 1.7 แสดงหนวยความจํา RAM
- ROM (Read-Only Memory) คือ หนวยความจําถาวรที่ถูกติดตั้งมาพรอมกับแผง
เมนบอรดและจะเก็บขอมูล ซึ่งถูกบันทึกมาตั้งแตแรก
4. แสดงผลลัพธ (Output) เปนการนําผลลัพทจากการประมวลผลแสดงใหทราบทางอุปกรณ
โดยทั่วไปจะแสดงผานทางจอภาพ เครื่องพิมพ หรือ ลําโพง เปนตน
ประเภทของคอมพิวเตอร
จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการ
พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรใหเลือกใชหลายรูปแบบ
ตามความตองการของผูใช การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุม
หลัก ดังนี้
ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ
จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการ
ประมวลผล เปนหลัก ดังนี้
- ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุดสวนมากจะ
ใช เพื่องานทางดานวิทยาศาสตรที่ตองการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูงเชนงานวิจัย
ขีปนาวุธงานโครงการอวกาศสหรัฐ งานสื่อสารดาวเทียม เปนตน
ภาพที่ 1.8 ซุปเปอรคอมพิวเตอร
- เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลขอมูลที่มีหนวย
ความจํา, ความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและ
คําสั่งของเครื่องรุนอื่นในตระกูลเดียวกันไดโดย
ไมตองดัดแปลงใด ๆ สามารถทํางาน ในระบบ
เครือขาย ได สามารถทํางานไดพรอมกันหลาย
งาน (Multi Tasking) และใชงานไดหลายคน
(Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใชในธุรกิจ
ขนาดใหญ เพราะมีราคาแพงตั้งแตสิบลานบาท
ขึ้นไป ตัวอยางของเครื่องเมนเฟรม คือ คอมพิว-
เตอรของธนาคารที่เชื่อมตอไปยังตู ATM และ
สาขาของ ธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง ภาพที่ 1.9 เมนเฟรมคอมพิวเตอร
- มินิคอมพิวเตอร (Mini computer)
มินิคอมพิวเตอรคือเครื่องที่มีลักษณะพิเศษ
ในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขาง ที่ มี
ความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูง
ชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล ซึ่งจะ
สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงาน
และบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดนี้ไดแก กรม กอง
มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรมและโรงงาน
อุตสาหกรรมตางๆ ภาพที่ 1.10 มินิคอมพิวเตอร
- ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มีสวนของหนวยความจําและความเร็วในการ
ประมวลผลนอยที่สุดสามารถใชงานไดคนเดียว จึงมักถูกเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal
Computer : PC) บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอรออกจําหนายจนประสบความสําเร็จเปนบริษัทแรก
คือ บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร จําแนกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
1. แบบติดตั้งใชงานอยูกับที่บนโตะทํางาน (Desktop Computer)
2. แบบเคลื่อนยายได สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่จากภายนอกโดยสวน
ใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงาน เชน Laptop Computer, Notebook Computer
ภาพที่ 1.11 รูปเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคการใชงาน
จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ โปรแกรมควบคุม ใหทํางาน
อยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่
เนนการประมวลแบบรวดเร็ว เชน เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร เปนตน
เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานอเนกประสงค (General Purpose Computer)
หมายถึง เครื่องประมวลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับ
การออก แบบใหสามารถประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก ซึ่งระบบจะทํางานตาม
คําสั่งของโปรแกรมที่เขียนขึ้นและเมื่อผูใชตองการจะทํางานอะไรก็เพียงแตเรียกโปรแกรมมาใชงาน
ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล
จําแนกไดเปน 3 ประเภท คือ
คอมพิวเตอรแบบแอนาลอก (Analog Computer)
หมายถึง เครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใช
ขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวา
Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มักแสดงผลดวยสเกลหนาปทมและเข็มชี้ เชน การวัด
ความรอนจากการขยายตัวของปรอท เปนตน
คอมพิวเตอรแบบดิจิทัล (Digital Computer)
คือ คอมพิวเตอรที่ใชในการทํางานทั่ว ๆ ไปอาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะ การ
เปลี่ยนแปลงแบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัย
การนับสัญญาณขอมูลที่เปนจังหวะดวยตัวนับภายใตระบบฐานเวลา มาตรฐานทําใหไดผลลัพธ เปนที่
นาเชื่อถือ สามารถนับขอมูลใหคาความละเอียดสูง เชน แสดงผลลัพธ เปน ทศนิยมหลายตําแหนงได
เปนตน
คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer)
เครื่องประมวลผลขอมูล ที่อาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog และ
Digital Computer โดยทั่วไปมักใชในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่อง
คอมพิวเตอรในยานอวกาศ ที่ใช Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช Digital
Computer ในการคํานวณระยะทาง เปนตน การทํางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร ชนิดนี้ ยังคง
จําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เชนเดิม
บทบาทของคอมพิวเตอร
ในปจจุบัน คอมพิวเตอรไดกลายเปนสิ่งสําคัญในชีวิตของเรา และความสําคัญนี้ไดทวีมากยิ่ง
ขึ้นในอนาคต คอมพิวเตอรไดเขาไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกับงานที่มีขอมูลมาก ๆ
และกําลังจะกลายเปนเครื่องใชสามัญในบานเหมือนกับ เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน  บทบาทของคอม-
พิวเตอรในงานตางๆ จําแนกได ดังนี้
1. บทบาทของคอมพิวเตอรในสถานศึกษา
- คอมฯ ชวยในงานบริหาร เชน การคิดคะแนน
- คอมพิวเตอรชวยในงานบริการ เชน หองสมุด
- คอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน
ภาพที่ 1.12 แสดงการใชคอมฯในสถานศึกษา
2. บทของคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม
- คอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบ
- คอมฯ ชวยในการควบคุมหุนยนตใหทํางาน
- คอมฯ ชวยในการวางแผน คํานวณโครงสราง
ภาพที่ 1.13 แสดงการใชคอมฯในงานวิศวกรรม
3. บทบาทของคอมพิวเตอรในวงราชการ
- คอมพิวเตอรชวยในการทําทะเบียนราษฎร
- คอมพิวเตอรชวยในการนับคะแนนเลือกตั้ง
- ชวยในการรวบรวมขอมูลและสถิติ ทั่วไป
ภาพที่ 1.14 แสดงการใชคอมฯในวงราชการ
4. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานวิทยาศาสตร
- คอมพิวเตอรชวยในการเปรียบเทียบขอมูล
- คอมพิวเตอรชวยในการทดลองที่อันตราย
- คอมพิวเตอรชวยในการเดินทางของยาน
อวกาศ การถายภาพระยะไกล
ภาพที่ 1.15 แสดงการใชคอมฯ ในงานวิทยาศาสตร
5. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ
- คอมพิวเตอรชวยการวางแผนธุรกิจ
- คอมพิวเตอรชวยในประเมินสถานการณทาง
เศรษฐกิจในอนาคตได
- คอมพิวเตอรชวยงานธุรการ เชน งานภาษี ฯ
ภาพที่ 1.16 แสดงการใชคอมฯ ในงานธุรกิจ
6. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธนาคาร
- คอมพิวเตอรชวยในการับฝากและถอนเงิน
- คอมพิวเตอรชวยในการคิดดอกเบี้ยตางๆ
- คอมพิวเตอรชวยใหลูกคาฝากเงินดวน หรือ
โอนเงินจากเครื่องไดโดยอัตโนมัติ
ภาพที่ 1.17 แสดงการใชคอมฯ ในงานธนาคาร
7. บทบาทของคอมพิวเตอรในรานคาปลีก
- ใชคอมฯในการคิดเงินแทนเครื่องคิดเงิน
- การอานรหัสดวยเครื่องอาน
- ควบคุมอุณหภูมิ
ภาพที่ 1.18 แสดงการใชคอมฯ ในรานคาปลีก
8. บทบาทคอมพิวเตอรในวงการแพทย
- ชวยในการบันทึกคนหาทะเบียนประวัติผูปวย
- ชวยในการวินิจฉัยโรค เชน ตรวจคลื่นสมอง
บันทึกการเตนของหัวใจ
- หาตําแหนงที่ถูกตองของอวัยวะกอนผาตัด
ภาพที่ 1.19 แสดงการคอมฯในวงการแพทย
9. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานอุตสาหกรรม
- ชวยในการวางแผนการผลิต ควบคุมการผลิต
- ชวยโรงงานกลั่นน้ํามัน ตรวจวัดการสงน้ํามัน
- ชวยในการควบคุมการสงแกสธรรมชาติไป
ตามทอ โดยมีระบบควบคุมความดันของแกส
ภาพที่ 1.20 แสดงการใชคอมฯ ในงานอุตสาหกรรม
การติดตั้งคอมพิวเตอร
1. นําอุปกรณคอมพิวเตอรออกมาจากกลองดวยความระมัดระวัง เพื่อไมใหเกิดการกระแทก
หรือสะเทือนเพราะจะทําใหเกิดการชํารุดได
2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรด (จะมี
6 รู ) เรียกวา พอรตแบบ PS/2 ซึ่งหลังเคสก็มีสัญลักษณ
หรือ ขอความแสดงใหทราบวาเปนจุดตอคียบอรด ขณะ
ที่เสียบ ควรจะสังเกตตําแหนงขั้วใหตรงกัน ไมเชนนั้น
เข็มของขั้วตออาจจะหักงอได ภาพที่ 1.21 แสดงการตอสายคียบอรด
3. ตอสายเมาส (PS/2)เขากับจุดตอของพอรต ที่เคส
ซึ่งปกติจะมีสีเขียว หรือถาเมาสเปนพอรตแบบ USB ก็ให
นํามาตอที่พอรตแบบ USB
ภาพที่ 1.22 แสดงการตอสายเมาส
4. ตอสายสัญญาณภาพจากพอรตที่จอมอนิเตอร ซึ่ง
โดยทั่วไปพอรตนี้จะมีสีน้ําเงิน (มี 15 รูเข็ม) สังเกตตําแหนง
ใหตรงกันแลวจึงเสียบสายเขาไป
ภาพที่ 1.23 แสดงการตอสัญญาณภาพ
5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอ
ที่เคส โดยทั่วไปแลวสายลําโพงมักจะมีสีเขียว หรือจะมี
สัญลักษณแจงใหทราบ ถาตองการใชไมโครโฟน ก็ใหนํา
มาตอที่ชองออดิโอแจ็คของไมโครโฟน ซึ่งจะมีสีชมพูใกล
กับชองตอของลําโพง
ภาพที่ 1.24 แสดงการตอสายลําโพง
6. นําสายไฟฟากระแสสลับ ตอเขาจุดตอไฟเขา
220 โวลต  นําไปตอเขากับเครื่องสํารองไฟฟา เพื่อปอง-
กันไฟฟาขัดของ ซึ่งจะยืดอายุการใชงานของคอมพิวเตอร
ใหมีระยะเวลาในการใชงานนานขึ้น
ภาพที่ 1.25 แสดงการตอไฟฟากระแสสลับ
7. เมื่อตอสายตางๆ ครบแลว ใหกดสวิตส Power
ของเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อทดสอบการทํางาน
ภาพที่ 1.26 แสดงการเปดเครื่องเพื่อใชงาน
การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร
1.ไมควรติดตั้งคอมพิวเตอรในสถานที่ที่ถูกแสงแดดโดยตรงหรือพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป
หรือต่ําไป อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับคอมพิวเตอร คือ 10 องศาเซลเซียส ถึง 35 องศาเซลเซียส
2. ระวังอยาใหของเหลวหรือน้ําหยดลงไปในคอมพิวเตอรหรือคียบอรด
3. หมั่นทําความสะอาดคอมพิวเตอรและจอภาพ โดยใชผาสักหลาดหรือผานุมเช็ดฝุนละออง ไม
แนะนําใหใชผลิตภัณฑทําความสะอาดจําพวกสารเคมี เนื่องจากอาจทําใหสารเคมีที่เคลือบ และ ฉนวน
ที่หอหุมคอมพิวเตอรชํารุดได
4. หากจําเปนควรทําความสะอาดโดยการกําจัดฝุนละอองออกจากชองระบายอากาศเพื่อใหการ
ระบายอากาศดี
5. แมวาในปจจุบันจะมีคอมพิวเตอรรุนใหมๆ ที่ออกแบบใหมีระบบประหยัดพลังงานใน
ระหวางที่เปดคอมพิวเตอรทิ้งไว ก็ตามแตถาเราไมใชเครื่องเปนเวลานาน ควรปดสวิตชคอมพิวเตอร
เพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่อง
ขอควรระวัง คือ กอนทําความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร ควรถอดปลั๊กไฟของคอมพิวเตอร
ออกเสียกอน เพื่อปองกันอันตรายจากไฟฟาลัดวงจร
ระบบสารสนเทศ (Information System)
ขอมูล (data) หมายถึง ความเปนจริง ที่ยังเปนขอมูลดิบ ซึ่งยังไมไดผานการ ประมวลผล ใดๆ
มากอน
ขอมูลสารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลที่ไดรับการ กลั่นกรอง เรียบเรียงตีความ
หมาย แบงหมวดกลุม วิเคราะหและสรุปแลว ถือเปนขอมูลที่นาเชื่อถือและสามารถนําไปใชงานได
อยางมี ประสิทธิภาพ
ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งของคอมพิวเตอร ขอมูลที่สามารถนํามาใชกับ
คอมพิวเตอรได มี 5 ประเภท คือ
1. ขอมูลตัวเลข (Numeric Data)
2. ขอมูลตัวอักษร (Text Data)
3. ขอมูลเสียง (Audio Data)
4. ขอมูลภาพ (Images Data)
5. ขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ภาพที่ 1.27 ขอมูลสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Tech nology) คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บ
ประมวลผล และการเผยแพรสารสนเทศ เพื่อชวยใหไดสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ฉับไวทันตอ
เหตุการณปจจุบัน โดยอาจจะรวมถึง เครื่องมือและอุปกรณตางๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใช-
สํานักงานอุปกรณเกี่ยวกับคมนาคมตางๆ รวมทั้งซอฟทแวรตางๆ ซึ่งเปนเครื่องมือที่ทันสมัยและใช
เทคโนโลยีระดับสูง ขั้นตอนการนําอุปกรณตางๆ มาใชงานเพื่อ รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ
แสดงผลลัพธออกมาเปนสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ
ตัวอยางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใชในงานดานตาง ๆ
1. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geograhic Information System or GIS) เปนระบบที่ นํา
ขอมูลเชิงพื้นที่มาจัดทําแผนที่ ซึ่งขอมูลเชิงพื้นที่นั้นสามารถใชระบุรูปรางและตําแหนงของสิ่ง ตางๆที่
ปรากฏบนพื้นผิวโลกไดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวย คอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะในการ
คํานวณสูง อุปกรณสําหรับการแสดงผลเปน แผนที่ไดอยางละเอียดและแมนยําสูง
2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction or CAI) เปนการใช
คอมพิวเตอรเพื่อผลิตสื่อการสอน ที่รวมภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ขอความและขอมูลไวดวยกันทํา
ใหผูใชไดรับขอมูลขาวสารอยางครบถวน และนาสนใจ ระบบ CAI จะถูกสรางขึ้นโดยการใชซอรฟแวร
ที่มีความสามารถในการสรางภาพทางมัลติมีเดีย เชน Authorware เปนตน
ภาพที่ 1.28 เทคโนโลยีสารสนเทศ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติDuangjai Boonmeeprasert
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5sripayom
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหาร
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหารรูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหาร
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหารปริญญา สุโพธิ์
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวvorravan
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์Nattapon
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57Khemjira Plongsawai
 

What's hot (20)

คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
Present perfect tense
Present  perfect  tensePresent  perfect  tense
Present perfect tense
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติเรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
เรียงความชนะเลิศ เนื่องในวันแม่แห่งชาติ
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล  ชั้น ป.5
ชุดการสอนวิชาสุขศึกษา เรื่องการปฐมพยาบาล ชั้น ป.5
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
Pat4 53
Pat4 53Pat4 53
Pat4 53
 
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหาร
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหารรูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหาร
รูปตัวอย่าง สด.8 และ สด.3 และเลขที่ใบสำคัญทางทหาร
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัว
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
direct speech
direct speechdirect speech
direct speech
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57งานวิจัยในชั้นเรียน 57
งานวิจัยในชั้นเรียน 57
 

Similar to แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1

กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์jamiezaa123
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นWithawat Na Wanma
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2Oh Aeey
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)ภูเบศ เศรษฐบุตร
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทBabymook Juku
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 

Similar to แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1 (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
รวมข้อสอบ O-NETปี51-54 (คอมพิวเตอร์)
 
แบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบทแบบฝึกหัดท้ายบท
แบบฝึกหัดท้ายบท
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 

แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1

  • 1. โครงการจัดการเรียนรู วิชา 2001-0001 คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ ครั้งที่ 1หนวยที่ 1 คอมพิวเตอรกับระบบสารสนเทศ เรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน 1. ความหมายของคอมพิวเตอร 2. ระบบของคอมพิวเตอร 3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร 4. ประเภทของคอมพิวเตอร 5. บทบาทของคอมพิวเตอร 6.การติดตั้งคอมพิวเตอร 7.ระบบสารสนเทศ 8.การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ 9.คอมพิวเตอรและอุปกรณ จํานวน 3 ชั่วโมง จุดประสงคการสอน รายการสอน 1. บอกความหมายของคอมพิวเตอรได 2. เขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได 3. แยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได 4. วิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได 5. เขียนระบบคอมพิวเตอรได 6. ติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณ รอบขางไดถูกตองและใชงานได 7. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได 8. นําสารสนเทศและขอมูลดิบไปใชงานได 9. นําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชงานได 10. เขียนชื่อและหนาที่การทํางานของอุปกรณ คอมพิวเตอรได 11. ดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณ คอมพิวเตอรได 1. ความหมายของคอมพิวเตอร 2. ระบบของคอมพิวเตอร 3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร 4. ประเภทของคอมพิวเตอร 5. บทบาทของคอมพิวเตอร 6. การติดตั้งคอมพิวเตอร 7. ระบบสารสนเทศ 8. การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดาน ตาง ๆ 9. คอมพิวเตอรและอุปกรณ
  • 2. วิธีการสอน ทําแบบทดสอบกอนเรียน / บรรยาย / ถาม- ตอบ / ปฏิบัติ / ทําแบบทดสอบหลังเรียน สื่อการสอน 1. CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร เพื่องานอาชีพ 2. ใบความรู 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบกอนเรียน 5. แบบทดสอบหลังเรียน หนังสืออางอิง บุญสืบ โพธิ์ศรีและคณะ. คอมพิวเตอรเพื่อ งาน อาชีพ. ศสอ. กรุงเทพฯ การประเมินผล ทําแบบทดสอบ ไดเกินรอยละ80 แผนการจัดการเรียนรู รหัสวิชา 2001-0001 วิชา คอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ จํานวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห ชื่อหนวย คอมพิวเตอรกับระบบสารสนเทศ เรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน 1. ความหมายของคอมพิวเตอร 2. ระบบของคอมพิวเตอร 3. ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร 4. ประเภทของคอมพิวเตอร 5. บทบาทของคอมพิวเตอร 6. การติดตั้งคอมพิวเตอร 7. ระบบสารสนเทศ 8. การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ 9. คอมพิวเตอรและอุปกรณ สาระสําคัญ กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุท หรือหนวยปอน ขอมูลเขาไปยังหนวยประมวลผลซึ่งจะทํางานรวมกับหนวยความจําและสงไปยังเอาพุท การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใชงานจะตองพิจารณาตําแหนงที่เหมาะสมมีอากาศถายเทได สะดวก เพื่อใหมีการระบายความรอนที่ดี โตะและเกาอี้จะตองไมต่ําหรือสูงเกินไป สามารถนั่งพิมพได เปนเวลานาน
  • 3. จุดประสงคการเรียน จุดประสงคทั่วไป เพื่อใหนักเรียน มีความรู ความเขาใจ ความหมายของคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอร กระบวนการ ทํางานของคอมพิวเตอร ประเภทคอมพิวเตอร บทบาทของคอมพิวเตอรและการติดตั้งเครื่อง คอมพิวเตอร จุดประสงคเชิงพฤติกรรม พุทธิพิสัย 1. ผูเรียนสามารถบอกความหมายของคอมพิวเตอรได 2. ผูเรียนสามารถเขียนระบบคอมพิวเตอรได 3. ผูเรียนสามารถวิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได 4. ผูเรียนสามารถแยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได 5. ผูเรียนสามารถอธิบายบทบาทของคอมพิวเตอรได 6. ผูเรียนสามารถเขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได 7. ผูเรียนสามารถบอกความหมายของระบบสารสนเทศได ทักษะพิสัย 1. ผูเรียนสามารถติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขางไดถูกตองและใชงานได 2. ผูเรียนสามารถนําสารสนเทศและขอมูลดิบไปใชงานได 3. ผูเรียนสามารถนําคอมพิวเตอรไปประยุกตใชงานได จิตพิสัย 1. ผูเรียนสามารถบรรยายประโยชนของคอมพิวเตอรได 2. ผูเรียนสามารถทํางานเปนกระบวนการกลุมดวยความรอบคอบและระมัดระวัง
  • 4. เนื้อหาสาระ ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรหมายถึง เครื่องจักรกลทางดานอิเล็กทรอนิกสที่มนุษยคิดคนขึ้นมา เพื่ออํานวย ความสะดวกในดานตาง ๆ เชนการคํานวณ การออกแบบ การเก็บขอมูล โดยมนุษยสามารถเขียน โปรแกรมหรือคําสั่ง สั่งใหคอมพิวเตอรทํางานตามขั้นตอนที่กําหนด และประมวลผลออกมาตามที่ ตองการได ระบบคอมพิวเตอร 1. ฮารดแวร (Hardware) 2. ซอฟตแวร (Software) 3. พีเพิลแวร (Peopleware) 4. ขอมูล (Data) กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอร กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุทหรือหนวย ปอนขอมูลเขา ไดแก คียบอรด เมาส สแกนเนอร กลองดิจิตอล จอยสติ๊ก และ ไมโครโฟน เปนตน เมื่อ ผานทางอุปกรณอินพุทจะสงเขาไปยังหนวยประมวลผลกลาง(CPU) ซึ่งจะทําหนาที่ในการประมวลผล ขอมูลและควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยจะทํางานรวมกับหนวยความจํา (Memory Unit) ซึ่งมีอยู 2 ชนิดคือหนวยความจําชั่วคราว (RAM) และหนวยความจําถาวร (ROM) เมื่อ ทํางานในขั้นตอนนี้เสร็จสิ้นแลวจะสงขอมูลไปยังหนวยแสดงผล ไดแก จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง เครื่องฉายโปรเจคเตอร เปนตน ประเภทของคอมพิวเตอร 1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Suppercomputer) 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer) 3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) 4. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) ปจจุบันไดมีการผลิตคอมพิวเตอรประเภทที่ 5 คือคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค คอมพิวเตอร ปาลม คอมพิวเตอรมือถือ และออกาไนเซอร เปนตน
  • 5. การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใชงานจะตองพิจารณาตําแหนงที่เหมาะสมมีอากาศถายเทได สะดวก เพื่อใหมีการระบายความรอนที่ดี โตะและเกาอี้จะตองไมต่ําหรือสูงเกินไป สามารถนั่งพิมพได เปนเวลานาน วิธีการติดตั้งใหปฏิบัติดังนี้ 1. เปดกลองแลวนําคอมพิวเตอรออกมาอยางระมัดระวัง 2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรดซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB 3. ตอสายเมาสเขากับพอรตตอเมาสซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB 4. ตอสายจอภาพเขากับพอรตตอจอภาพ พอรตนี้จะมีสีน้ําเงินจํานวน 15 ขา 5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอดานหลังเครื่องบริเวณการดเสียง ปกติ ชองตอสายออดิโอแจ็คของลําโพงมักจะมีสีเขียว 6. นําสายไฟฟาตอเขากับจุดตอไฟเขา 220 โวลท 7. ตรวจสอบความถูกตองและทดลองเปดเครื่อง การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร 1. ไมควรติดตั้งคอมพิวเตอรในสถานที่ที่ถูกแสงแดดโดยตรงหรือพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงหรือ ต่ําเกินไป 2. ระวังอยาใหของเหลวหรือน้ําหยดลงไปในคอมพิวเตอรหรือคียบอรด 3. หมั่นทําความสะอาดคอมพิวเตอรและจอภาพ โดยใชผาสักหลาดหรือผานุมเช็ดฝุน 4. หากจําเปนควรทําความสะอาด โดยการกําจัดฝุนละอองออกจากชองระบายอากาศเพื่อให การระบายอากาศดี 5. เมื่อไมใชเครื่องเปนเวลานาน ควรปดสวิตชคอมพิวเตอร เพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่อง คอมพิวเตอร ขอควรระวัง คือ กอนทําความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร ควรถอดปลั๊กไฟของคอมพิวเตอร ออกเสียกอน ระบบสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลดิบที่ไดผานการประมวลผลในหนวยประมวลผล กลางของคอมพิวเตอรมาแลว นั่นคือไดผานการคํานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เปนตน ผลลัพธที่ ไดสามารถนําไปใชประโยชนตอผูที่เกี่ยวของได คอมพิวเตอรสามารถรับขอมูลไดหลายรูปแบบ เพื่อนําเขาสูระบบการประมวลผล เพื่อใหได ผลลัพธหรือสารสนเทศที่สามารถนําไปใชประโยชนไดตามความตองการขององคกร รูปแบบของ ขอมูลที่นําเขาสูระบบการประมวลผลของคอมพิวเตอรไดแก ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
  • 6. และเสียง เปนตน การใชคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศดานตาง ๆ 1. ดานการศึกษา 2. ดานธุรกิจ 3. ดานอุตสาหกรรม 4. ดานวิทยาศาสตร 5. ดานการติดตอสื่อสารระยะไกล 6. ดานการแพทย 7. ดานความบันเทิง คอมพิวเตอรและอุปกรณ 1. คอมพิวเตอรและแหลงจายไฟ 2. หนวยรับขอมูล 3. หนวยแสดงผล 4. หนวยประมวลผล 5. หนวยความจํา 6. หนวยความจําสํารอง 7. แผงเมนบอรด กิจกรรมการเรียนรู 1. บอกวัตถุประสงคของการเรียนการสอนรายวิชา เกณฑการใหคะแนน การปฏิบัติกิจกรรมการ เรียน และขอควรปฏิบัติขณะเรียน 2. รวมสนทนาเกี่ยวกับเรื่องคอมพิวเตอร 3. ทําแบบทดสอบกอนเรียน 4. แนะนําและสาธิตการใช CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 5. ใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองจาก CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 6. แบงกลุมศึกษาเรื่อง การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน แลวออกมานําเสนอหนาชั้น 7. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 7. 8. ฝกปฏิบัติตอสายอุปกรณตาง ๆ 9. ทบทวนรายละเอียดการตอสาย 10. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญ 11. เปดโอกาสใหนักเรียนซักถามขอสงสัย 12. ทดสอบและใหนักเรียนผลัดกันตรวจ 13. เปรียบเทียบผลการทดสอบกอน-หลังเรียน สื่อและแหลงการเรียนรู 1. CAI ประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ 2. ใบความรู 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบกอนเรียน 5. แบบทดสอบหลังเรียน
  • 8. การบูรณาการเชื่อมโยง สาระการเรียนรู การบูรณาการ กิจกรรม ภาษาไทย นําเสนอผลงานกลุม วิทยาศาสตร ทดลองติดตั้งอุปกรณ การใชงานคอมพิวเตอร เบื้องตน ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องมือวัดผลตามพุทธิพิสัย (6 คะแนน) 1. บอกความหมายของคอมพิวเตอรได (1 คะแนน) 2. เขียนระบบคอมพิวเตอรได (1 คะแนน) 3. แยกประเภทคอมพิวเตอรตามขนาดได (1 คะแนน) 4. วิเคราะหกระบวนการทํางานคอมพิวเตอรได (1 คะแนน) 5. เขียนขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรได (1 คะแนน) 6. บอกความหมายของระบบสารสนเทศได(1 คะแนน เครื่องมือวัดผลตามทักษะพิสัย (9 คะแนน) 1. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอร (5 คะแนน) 2. ทําใบงานประจําหนวยที่ 1 เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ (4 คะแนน) เครื่องมือวัดผลตามจิตพิสัย (5 คะแนน) 1. บรรยายบทบาทของคอมพิวเตอร (3 คะแนน) 2. ทํางานเปนกระบวนการกลุมดวยความรอบคอบและระมัดระวัง (2 คะแนน) เกณฑการวัดผลตามพุทธิพิสัย การตอบคําถามขอ 1 ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีการทํางานซับซอนและอัตโนมัติ มีการควบคุม การทํางานดวยโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่มนุษยสรางขึ้น สามารถรับขอมูล ประมวลผล แสดงผลลัพธ รวมถึงการจัดเก็บขอมูล เพื่อใหสามารถนํากลับมาใชไดอีก กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรมี ความเร็วสูงและถูกตองแมนยํา ถาผูเรียนตอบไดถูกตองให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวนไมใหคะแนน
  • 9. การตอบคําถามขอที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร 1. ฮารดแวร (Hardware) 2. ซอฟตแวร (Software) 3. พีเพิลแวร (Peopleware) 4. ขอมูล (Data) ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวน ไมใหคะแนน การตอบคําถามขอที่ 3 ประเภทของคอมพิวเตอร 1. ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Suppercomputer) 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer) 3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer) 4. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) ปจจุบันไดมีการผลิตคอมพิวเตอรประเภทที่ 5 คือคอมพิวเตอรแบบพกพา เชน โนตบุค คอมพิวเตอร ปาลม คอมพิวเตอรมือถือ และออกาไนเซอร เปนตน ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวน ไมใหคะแนน การตอบคําถามขอที่ 4 วิเคราะหกระบวนการทํางานของคอมพิวเตอร กระบวนการทํางานของคอมพิวเตอรเริ่มจากปอนขอมูลเขาทางหนวยอินพุทหรือหนวย ปอนขอมูลเขา ไดแก คียบอรด เมาส สแกนเนอร กลองดิจิตอล จอยสติ๊ก และ ไมโครโฟน เปนตน เมื่อ ผานทางอุปกรณอินพุทจะสงเขาไปยังหนวยประมวลผลกลาง(CPU) ซึ่งจะทําหนาที่ในการประมวลผล ขอมูลและควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหมด โดยจะทํางานรวมกับหนวยความจํา (Memory Unit) ซึ่งมีอยู 2 ชนิดคือหนวยความจําชั่วคราว (RAM) และหนวยความจําถาวร (ROM) เมื่อ ทํางานในขั้นตอนนี้เสร็จสิ้นแลวจะสงขอมูลไปยังหนวยแสดงผล ไดแก จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง เครื่องฉายโปรเจคเตอร เปนตน ถาผูเรียนตอบคําถามตามแนวทางขางตนให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้ไมใหคะแนน ถาตอบไมครบถวนหรือสมบูรณหักครึ่งคะแนน
  • 10. การตอบคําถามขอที่ 5 ขั้นตอนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร 1. เปดกลองแลวนําคอมพิวเตอรออกมาอยางระมัดระวัง 2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรดซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB 3. ตอสายเมาสเขากับพอรตตอเมาสซึ่งอาจจะเปนแบบ PS/2 หรือแบบ USB 4. ตอสายจอภาพเขากับพอรตตอจอภาพ พอรตนี้จะมีสีน้ําเงินจํานวน 15 ขา 5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอดานหลังเครื่องบริเวณการดเสียง ปกติ ชองตอสายออดิโอแจ็คของลําโพงมักจะมีสีเขียว 6. นําสายไฟฟาตอเขากับจุดตอไฟเขา 220 โวลท 7. ตรวจสอบความถูกตองและทดลองเปดเครื่อง ถาผูเรียนตอบคําถามไดตามตัวอยางขางตนใหขอละ 1 คะแนน ถาตอบผิดหักตามความเหมาะสม วิธีคิดคะแนนในขอนี้หารดวย 7 เหลือ 1 คะแนน การตอบคําถามขอ 6 ความหมายของระบบสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลดิบที่ไดผานการประมวลผลในหนวยประมวลผลกลาง ของคอมพิวเตอรมาแลว นั่นคือไดผานการคํานวณ การจัดเรียง การเปรียบเทียบ เปนตน ผลลัพธที่ได สามารถนําไปใชประโยชนตอผูที่เกี่ยวของได ถาผูเรียนตอบไดถูกตองให 1 คะแนน ถาตอบนอกเหนือจากนี้หรือไมครบถวนหักครึ่งคะแนน เกณฑการวัดผลตามทักษะพิสัย การตอบคําถามขอ 1 - ไดจากประเมินจากการทําใบงานที่ 1 เรื่องการติดตั้งคอมพิวเตอร สามารถติดตั้งอุปกรณ คอมพิวเตอรและตอสายอุปกรณตางๆ ไดถูกตอง นําคะแนนที่ไดทั้งหมด หาร เหลือ 5 คะแนน การตอบคําถามขอ 2 - ไดจากประเมินจากการทําใบงานที่ 1 เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถนําเทคโนโลยี สารสนเทศมาประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พิจารณาใหคะแนนตามความสมบูรณและเหมาะสมของ ผลงาน จากคะแนนทั้งหมด 4 คะแนน
  • 11. เกณฑการวัดผลตามจิตพิสัย การตอบคําถามขอที่ 1 บทบาทของคอมพิวเตอร 1. บทบาทของคอมพิวเตอรในสถานศึกษา − คอมพิวเตอรชวยในงานบริหาร − คอมพิวเตอรชวยในงานบริการ เชน หองสมุด − คอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน 2. บทของคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม − คอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบ − คอมพิวเตอรชวยในการควบคุมหุนยนตใหทํางาน − คอมพิวเตอรชวยในการวางแผน คํานวณโครงสราง 3. บทบาทของคอมพิวเตอรในวงราชการ − คอมพิวเตอรชวยในการทําทะเบียนราษฎร − คอมพิวเตอรชวยในการนับคะแนนเลือกตั้ง − ชวยในการรวบรวมขอมูลและสถิติ ทั่วไป 4. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานวิทยาศาสตร − คอมพิวเตอรชวยในการเปรียบเทียบขอมูล − คอมพิวเตอรชวยในการทดลองที่อันตราย − คอมพิวเตอรชวยในการเดินทางของยานอวกาศ การถายภาพระยะไกล 5. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ − คอมพิวเตอรชวยการวางแผนธุรกิจ − คอมพิวเตอรชวยในประเมินสถานการณทางเศรษฐกิจในอนาคตได − คอมพิวเตอรชวยงานธุรการ เชน งานภาษี ฯ 6. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธนาคาร − คอมพิวเตอรชวยในการับฝากและถอนเงิน − คอมพิวเตอรชวยในการคิดดอกเบี้ยตางๆ − คอมพิวเตอรชวยใหลูกคาฝากเงินดวน หรือโอนเงินจากเครื่องไดโดยอัตโนมัติ 7. บทบาทของคอมพิวเตอรในรานคาปลีก − ใชคอมฯในการคิดเงินแทนเครื่องคิดเงิน − การอานรหัสดวยเครื่องอาน − ควบคุมอุณหภูมิ
  • 12. 8. บทบาทคอมพิวเตอรในวงการแพทย − ชวยในการบันทึกคนหาทะเบียนประวัติผูปวย − ชวยในการวินิจฉัยโรค เชน ตรวจคลื่นสมอง บันทึกการเตนของหัวใจ − หาตําแหนงที่ถูกตองของอวัยวะกอนผาตัด 9. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานอุตสาหกรรม − ชวยในการวางแผนการผลิต ควบคุมการผลิต − ชวยโรงงานกลั่นน้ํามัน ตรวจวัดการสงน้ํามัน − ชวยในการควบคุมการสงแกสธรรมชาติไปตามทอ โดยมีระบบควบคุมความดันของ แกส ถาผูเรียนตอบคําถามไดตามตัวอยางขางตนใหขอละ 1 คะแนน ถาตอบผิดหักขอละครึ่งคะแนน วิธี วิธีคิดคะแนน นําคะแนนที่ไดทั้งหมดหาร 9 เหลือ 3 คะแนน การตอบคําถามขอที่ 2 ไดจากแบบประเมินการทํางานกลุม นําคะแนนที่ไดทั้งหมด หาร 2 คะแนน เกณฑการประเมินผลอยูภาคผนวก ก แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมอยูภาคผนวก ข แบบประเมินผลอยูภาคผนวก ค แบบประเมินพฤติกรรมของนักเรียนอยูภาคผนวก ง ผลการใชแผนการสอนอยูภาคผนวก จ
  • 13. ใบความรูที่ 1 การใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตน ความหมายของคอมพิวเตอร คําวา “คอมพิวเตอร” มีผูใหความหมายไวหลากหลายมากมาย ผูเรียบเรียงขอนํามากลาวไวพอ สังเขป ดังตอไปนี้ คอมพิวเตอรมาจากภาษาละตินวา Computer ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหความหมายของคอมพิวเตอรไววา “เครื่องอิเล็กทรอ นิกแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เหมือนสมองกลใชสําหรับแกปญหาตางๆ ที่งายและซับซอนโดยวิธีทาง คณิตศาสตร” *(http://thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/ hie/page11.htm) คอมพิวเตอร (Computer) คือเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสที่สามารถจัดการกับสัญลักษณ (Symbol)ตางๆ ดวยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมหรือชุดคําสั่งงานที่ถูกเขียนโดย มนุษยดังนั้นถาคําสั่งของโปรแกรมมีประสิทธิภาพดีคอมพิวเตอรก็จะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพแต ถาโปรแกรมสั่งงานมีคําสั่งที่ผิดพลาดอยูภายในเครื่องคอมพิวเตอรก็จะทํางานผิดพลาดไปดวย เพราะฉะนั้น การที่เครื่องคอมพิวเตอรจะทํางานไดดีหรือไมเพียงไร จึงขึ้นอยูกับโปรแกรมที่ทําขึ้น รวม ไปถึงขอมูลที่ปอนเขาไปในคอมพิวเตอรดวย*(http://ite.nectec.or.th/~wutthich/it/computerbasic.html.) สรุป คอมพิวเตอร คือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีการทํางานซับซอน และอัตโนมัติมีการควบคุมการ ทํางานดวยโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่มนุษยสรางขึ้น สามารถรับขอมูล ประมวลผล แสดงผลลัพธ รวมถึงการจัดเก็บ ขอมูล เพื่อใหสามารถนํากลับมาใชไดอีก กระบวณการทํางานของคอมพิวเตอรมีความเร็วสูงและถูกตองแมนยํา ภาพที่1.1 รูปคอมพิวเตอร
  • 14. ระบบของคอมพิวเตอร ในความเปนจริงแลว ตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่เราพบเห็นกันอยูนี้เปนเพียงองคประกอบสวนหนึ่ง ของระบบคอมพิวเตอรเทานั้น การที่คอมพิวเตอรจะทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่เราตองการนั้น จําเปนตองอาศัยองคประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรวมกัน ซึ่งระบบของ คอมพิวเตอรประกอบไปดวย ฮาดรแวร (Hardware) หมายถึงอุปกรณตางๆ ที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร มีลักษณะเปนโครงรางซึ่ง สามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชน จอภาพ คียบอรด เมาส เปนตน ภาพที่ 1.2 ฮาดรแวร ซอฟตแวร (Software) หมายถึง สวนที่มนุษยสัมผัสไมไดโดยตรง (นามธรรม) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูก เรียกขึ้นเพื่อสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเหมือนตัวเชื่อมระหวางผูใชเครื่อง และ คอมพิวเตอร ถาไมมีซอฟตแวรเราก็ไมสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรทําอะไรไดเลยซอฟตแวร แบง ออกเปน 1. ซอฟตแวรสําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดคําสั่งที่เขียนไวเปนคําสั่งเร็จรูป ซึ่งจะ ทํางานใกลชิดกับคอมพิวเตอรมากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮารดแวรทุกอยางและอํานวย ความสะดวกใหกับผูใชในการใชงาน ซอฟตแวรระบบที่รูจักกันเปนอยางดีคือ DOS Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมที่เปนภาษาของเครื่องคอมพิวเตอร เชน ภาษา Basic , Cobol, Pascal, Fortran, C เปนตน
  • 15. 2. ซอฟรแวรประยุกต (Application Software) คือ ซอฟรแวรหรือโปรแกรมที่ทําให คอมพิวเตอรทํางานตางๆ ตามที่ผูใชตองการ ซึ่ง สามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟรแวรสําหรับงานเฉพาะดาน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนเพื่อการทํางานเฉพาะ อยางที่เราตองการ ซึ่งแตละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรมแตกตางกันออกไปตามความ ตองการหรือกฎเกณฑของแตละหนวยงานที่ใช ซึ่งสามารถแกไขเพิ่มเติมในบางสวนของโปรแกรมได เพื่อใหตรงกับความตองการของผูใช 2.2 ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป เปนโปรแกรมประยุกตที่มีผูจัดทําไว เพื่อใชใน การ ทํางานประเภทตางๆ ทั่วไป โดยผูใชคนอื่นๆสามารถนําโปรแกรมไปประยุกตใชกับขอมูลของตนได แตไมสามารถทําการดัดแปลงหรือแกไขโปรแกรมไดโดยผูใชไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมเอง ไดแก MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer เปนตน ภาพที่ 1.3 ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไป บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานดานคอมพิวเตอร ซึ่งมีความรูเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สามารถใช งาน สั่งงานเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่ตองการ แบงออกได 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผูจัดการระบบ (System Manager) คือ ผูวางนโยบายการใชคอมพิวเตอร ใหเปน ไปตามเปาหมายของหนวยงาน 2. นักวิเคราะหระบบ(System Analyst) คือ ผูที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหมซึ่ง ทําการวิเคราะหความเหมาะสม ความเปนไปไดในการใชคอมพิวเตอรกับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร (Programmer) คือ ผูเขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหทํางานตามความตองการของผูใช โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะหระบบไดเขียนไว 4. ผูใช (User) คือ ผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป ซึ่งตองเรียนรูวิธีการใชเครื่องและวิธี การใชงานโปรแกรม เพื่อใหโปรแกรมที่มีอยูสามารถทํางานไดตามที่ตองการ
  • 16. ภาพที่ 1.4 ผูใชคอมพิวเตอร ขอมูล ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญ เปนสิ่งที่ตองปอนเขาไปในคอมพิวเตอร พรอมกับ โปรแกรมที่นักคอมพิวเตอรเขียนขึ้น เพื่อผลิตผลลัพธที่ตองการออกมา เราสามารถแบงระดับ โครงสรางขอมูล ดังนี้ 1. บิต (Bit) คือ ขอมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด เปนขอมูลที่เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถ เขาใจและนําไปใชงานได ซึ่งไดแก เลข 0 หรือ เลข 1 เทานั้น 2. ไบต (Byte) หรือ อักขระ (Character) ไดแก ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือสัญลักษณ พิเศษ 1 ตัว เชน 0, 1,.....,9,A,B,.....,Z และเครื่องหมายตางๆ ซึ่ง 1 ไบตจะเทากับ 8 บิต 3. ฟลด (Field) ไดแก ไบต หรือ อักขระตั้งแต 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเปนฟลด เชน เลข ประจําตัว ชื่อพนักงาน เปนตน 4. เรคคอรด (Record) ไดแก ฟลดตั้งแต 1 ฟลด ขึ้นไป ที่มีความสัมพันธเกี่ยวของ รวมกันเปนเรคคอรด เชน ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัว ยอดขาย ขอมูลของพนักงาน 1 คน เปนตน 5. ไฟล (Files) หรือแฟมขอมูล ไดแก เรคคอรดหลายๆเรคคอรดรวมกันซึ่งเปนเรื่อง เดียวกัน เชน ขอมูลของพนักงานแตละคนมารวมกันเปนไฟลหรือแฟมขอมูล เปนตน 6. ฐานขอมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟลขอมูลหลายๆไฟลที่เกี่ยวของกัน มา รวมเขาดวยกัน เชน ไฟลขอมูลของแผนกตางๆ มารวมกันเปนฐานขอมูลของบริษัท เปนตน
  • 17. การวัดขนาดขอมูล ในการพิจารณาวาขอมูลนั้นมีขนาดมากนอยเทาไร ใหดูจากการวัดขนาดขอมูล ตอไปนี้ 8 Bit = 1 Byte 1,024 Byte = 1 KB (กิโลไบต) 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต) 1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต) 1,024 GB = 1 TB (เทราไบต) ขบวนการทํางานของคอมพิวเตอร ภาพที่ 1.5 แสดงการทํางานของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรไมวาจะเปนประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทํางานของสวนตางๆ ที่มี ความสัมพันธกันเปนกระบวนการ โดยมีลักษณะของขบวนการทํางานดังนี้ 1. หนวยรับขอมูลเขา(Input) คือ การนําขอมูลปอนเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร โดยผูใชปอนทาง หนวยรับขอมูล ซึ่งหนวยรับขอมูลไดแก แปนพิมพ เมาส สแกนเนอร จอยสติ๊ก เปนตน ภาพที่ 1.6 อุปกรณรับขอมูล
  • 18. 2. หนวยประมวลผลกลาง (CPU) เมื่อนําขอมูลเขามาแลว เครื่องจะดําเนินการกับขอมูลตาม คําสั่งที่ไดรับมาเพื่อใหไดผลลัพธตามที่ตองการ เชน นําขอมูลมาหาผลรวม นําขอมูลมาจัดเรียง การนํา ขอมูลมาเรียบเรียง เปนตน ซึ่งจะทํางานรวมกับ หนวยความจํา 3. หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยความจําในเครื่องแบงออกไดเปน 2 แบบ คือ - RAM (Random-Access Memory) คือ หนวยความจําชั่วคราวที่สามารถ อาน และ เขียน ขอมูลตางๆ ได หนวยความจําประเภทนี้จะจําขอมูลได เฉพาะชวงที่มีการเปดคอมพิวเตอรเทานั้น ภาพที่ 1.7 แสดงหนวยความจํา RAM - ROM (Read-Only Memory) คือ หนวยความจําถาวรที่ถูกติดตั้งมาพรอมกับแผง เมนบอรดและจะเก็บขอมูล ซึ่งถูกบันทึกมาตั้งแตแรก 4. แสดงผลลัพธ (Output) เปนการนําผลลัพทจากการประมวลผลแสดงใหทราบทางอุปกรณ โดยทั่วไปจะแสดงผานทางจอภาพ เครื่องพิมพ หรือ ลําโพง เปนตน
  • 19. ประเภทของคอมพิวเตอร จากประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร จะเห็นไดวาเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรมีการ พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็วมาก ทําใหปจจุบันมีเครื่องคอมพิวเตอรใหเลือกใชหลายรูปแบบ ตามความตองการของผูใช การแบงประเภทของคอมพิวเตอรนั้น สามารถจําแนกออกไดเปน 3 กลุม หลัก ดังนี้ ประเภทของคอมพิวเตอรตามความสามารถของระบบ จําแนกออกไดเปน 4 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูล และ ความเร็วในการ ประมวลผล เปนหลัก ดังนี้ - ซุปเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงที่สุดสวนมากจะ ใช เพื่องานทางดานวิทยาศาสตรที่ตองการประมวลผลซับซอน และตองการความเร็วสูงเชนงานวิจัย ขีปนาวุธงานโครงการอวกาศสหรัฐ งานสื่อสารดาวเทียม เปนตน ภาพที่ 1.8 ซุปเปอรคอมพิวเตอร
  • 20. - เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframecomputer) หมายถึงเครื่องประมวลผลขอมูลที่มีหนวย ความจํา, ความเร็วนอยลง สามารถใชขอมูลและ คําสั่งของเครื่องรุนอื่นในตระกูลเดียวกันไดโดย ไมตองดัดแปลงใด ๆ สามารถทํางาน ในระบบ เครือขาย ได สามารถทํางานไดพรอมกันหลาย งาน (Multi Tasking) และใชงานไดหลายคน (Multi User) ปกติเครื่องชนิดนี้นิยมใชในธุรกิจ ขนาดใหญ เพราะมีราคาแพงตั้งแตสิบลานบาท ขึ้นไป ตัวอยางของเครื่องเมนเฟรม คือ คอมพิว- เตอรของธนาคารที่เชื่อมตอไปยังตู ATM และ สาขาของ ธนาคารทั่วประเทศนั่นเอง ภาพที่ 1.9 เมนเฟรมคอมพิวเตอร - มินิคอมพิวเตอร (Mini computer) มินิคอมพิวเตอรคือเครื่องที่มีลักษณะพิเศษ ในการทํางานรวมกับอุปกรณประกอบรอบขาง ที่ มี ความเร็วสูงได มีการใชแผนจานแมเหล็กความจุสูง ชนิดแข็ง (Harddisk) ในการเก็บรักษาขอมูล ซึ่งจะ สามารถอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว หนวยงาน และบริษัทที่ใชคอมพิวเตอรขนาดนี้ไดแก กรม กอง มหาวิทยาลัย หางสรรพสินคา โรงแรมและโรงงาน อุตสาหกรรมตางๆ ภาพที่ 1.10 มินิคอมพิวเตอร
  • 21. - ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลขนาดเล็ก มีสวนของหนวยความจําและความเร็วในการ ประมวลผลนอยที่สุดสามารถใชงานไดคนเดียว จึงมักถูกเรียกวา คอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer : PC) บริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอรออกจําหนายจนประสบความสําเร็จเปนบริษัทแรก คือ บริษัทแอปเปลคอมพิวเตอร เครื่องไมโครคอมพิวเตอร จําแนกออกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ 1. แบบติดตั้งใชงานอยูกับที่บนโตะทํางาน (Desktop Computer) 2. แบบเคลื่อนยายได สามารถพกพาติดตัว อาศัยพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่จากภายนอกโดยสวน ใหญมักเรียกตามลักษณะของการใชงาน เชน Laptop Computer, Notebook Computer ภาพที่ 1.11 รูปเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ประเภทของคอมพิวเตอรตามวัตถุประสงคการใชงาน จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึง เครื่องประมวลผลขอมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ โปรแกรมควบคุม ใหทํางาน อยางใดอยางหนึ่งเปนการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใชในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่ เนนการประมวลแบบรวดเร็ว เชน เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมสัญญาณไฟจราจร เปนตน เครื่องคอมพิวเตอรเพื่องานอเนกประสงค (General Purpose Computer)
  • 22. หมายถึง เครื่องประมวลขอมูลที่มีความยืดหยุนในการทํางาน (Flexible) โดยไดรับ การออก แบบใหสามารถประยุกตใชในงานประเภทตางๆ ไดโดยสะดวก ซึ่งระบบจะทํางานตาม คําสั่งของโปรแกรมที่เขียนขึ้นและเมื่อผูใชตองการจะทํางานอะไรก็เพียงแตเรียกโปรแกรมมาใชงาน ประเภทของคอมพิวเตอรตามหลักการประมวลผล จําแนกไดเปน 3 ประเภท คือ คอมพิวเตอรแบบแอนาลอก (Analog Computer) หมายถึง เครื่องมือประมวลผลขอมูลที่อาศัยหลักการวัด (Measuring Principle) ทํางานโดยใช ขอมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบตอเนื่อง (Continuous Data) แสดงออกมาในลักษณะสัญญาณที่เรียกวา Analog Signal เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มักแสดงผลดวยสเกลหนาปทมและเข็มชี้ เชน การวัด ความรอนจากการขยายตัวของปรอท เปนตน คอมพิวเตอรแบบดิจิทัล (Digital Computer) คือ คอมพิวเตอรที่ใชในการทํางานทั่ว ๆ ไปอาศัยหลักการนับ ทํางานกับขอมูลที่มีลักษณะ การ เปลี่ยนแปลงแบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสัญญาณไฟฟา หรือ Digital Signal อาศัย การนับสัญญาณขอมูลที่เปนจังหวะดวยตัวนับภายใตระบบฐานเวลา มาตรฐานทําใหไดผลลัพธ เปนที่ นาเชื่อถือ สามารถนับขอมูลใหคาความละเอียดสูง เชน แสดงผลลัพธ เปน ทศนิยมหลายตําแหนงได เปนตน คอมพิวเตอรแบบลูกผสม (Hybrid Computer) เครื่องประมวลผลขอมูล ที่อาศัยเทคนิคการทํางานแบบผสมผสาน ระหวาง Analog และ Digital Computer โดยทั่วไปมักใชในงานเฉพาะกิจ โดยเฉพาะงานดานวิทยาศาสตร เชน เครื่อง คอมพิวเตอรในยานอวกาศ ที่ใช Analog Computer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช Digital Computer ในการคํานวณระยะทาง เปนตน การทํางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร ชนิดนี้ ยังคง จําเปนตองอาศัยตัวเปลี่ยนสัญญาณ (Converter) เชนเดิม
  • 23. บทบาทของคอมพิวเตอร ในปจจุบัน คอมพิวเตอรไดกลายเปนสิ่งสําคัญในชีวิตของเรา และความสําคัญนี้ไดทวีมากยิ่ง ขึ้นในอนาคต คอมพิวเตอรไดเขาไปมีบทบาทในทุกวงการอาชีพ โดยเฉพาะกับงานที่มีขอมูลมาก ๆ และกําลังจะกลายเปนเครื่องใชสามัญในบานเหมือนกับ เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน  บทบาทของคอม- พิวเตอรในงานตางๆ จําแนกได ดังนี้ 1. บทบาทของคอมพิวเตอรในสถานศึกษา - คอมฯ ชวยในงานบริหาร เชน การคิดคะแนน - คอมพิวเตอรชวยในงานบริการ เชน หองสมุด - คอมพิวเตอรชวยในการเรียนการสอน ภาพที่ 1.12 แสดงการใชคอมฯในสถานศึกษา 2. บทของคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม - คอมพิวเตอรชวยในการเขียนแบบ - คอมฯ ชวยในการควบคุมหุนยนตใหทํางาน - คอมฯ ชวยในการวางแผน คํานวณโครงสราง ภาพที่ 1.13 แสดงการใชคอมฯในงานวิศวกรรม 3. บทบาทของคอมพิวเตอรในวงราชการ - คอมพิวเตอรชวยในการทําทะเบียนราษฎร - คอมพิวเตอรชวยในการนับคะแนนเลือกตั้ง - ชวยในการรวบรวมขอมูลและสถิติ ทั่วไป
  • 24. ภาพที่ 1.14 แสดงการใชคอมฯในวงราชการ 4. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานวิทยาศาสตร - คอมพิวเตอรชวยในการเปรียบเทียบขอมูล - คอมพิวเตอรชวยในการทดลองที่อันตราย - คอมพิวเตอรชวยในการเดินทางของยาน อวกาศ การถายภาพระยะไกล ภาพที่ 1.15 แสดงการใชคอมฯ ในงานวิทยาศาสตร 5. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ - คอมพิวเตอรชวยการวางแผนธุรกิจ - คอมพิวเตอรชวยในประเมินสถานการณทาง เศรษฐกิจในอนาคตได - คอมพิวเตอรชวยงานธุรการ เชน งานภาษี ฯ ภาพที่ 1.16 แสดงการใชคอมฯ ในงานธุรกิจ 6. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธนาคาร - คอมพิวเตอรชวยในการับฝากและถอนเงิน - คอมพิวเตอรชวยในการคิดดอกเบี้ยตางๆ - คอมพิวเตอรชวยใหลูกคาฝากเงินดวน หรือ โอนเงินจากเครื่องไดโดยอัตโนมัติ ภาพที่ 1.17 แสดงการใชคอมฯ ในงานธนาคาร
  • 25. 7. บทบาทของคอมพิวเตอรในรานคาปลีก - ใชคอมฯในการคิดเงินแทนเครื่องคิดเงิน - การอานรหัสดวยเครื่องอาน - ควบคุมอุณหภูมิ ภาพที่ 1.18 แสดงการใชคอมฯ ในรานคาปลีก 8. บทบาทคอมพิวเตอรในวงการแพทย - ชวยในการบันทึกคนหาทะเบียนประวัติผูปวย - ชวยในการวินิจฉัยโรค เชน ตรวจคลื่นสมอง บันทึกการเตนของหัวใจ - หาตําแหนงที่ถูกตองของอวัยวะกอนผาตัด ภาพที่ 1.19 แสดงการคอมฯในวงการแพทย 9. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานอุตสาหกรรม - ชวยในการวางแผนการผลิต ควบคุมการผลิต - ชวยโรงงานกลั่นน้ํามัน ตรวจวัดการสงน้ํามัน - ชวยในการควบคุมการสงแกสธรรมชาติไป ตามทอ โดยมีระบบควบคุมความดันของแกส ภาพที่ 1.20 แสดงการใชคอมฯ ในงานอุตสาหกรรม
  • 26. การติดตั้งคอมพิวเตอร 1. นําอุปกรณคอมพิวเตอรออกมาจากกลองดวยความระมัดระวัง เพื่อไมใหเกิดการกระแทก หรือสะเทือนเพราะจะทําใหเกิดการชํารุดได 2. ตอสายคียบอรดเขากับพอรตตอคียบอรด (จะมี 6 รู ) เรียกวา พอรตแบบ PS/2 ซึ่งหลังเคสก็มีสัญลักษณ หรือ ขอความแสดงใหทราบวาเปนจุดตอคียบอรด ขณะ ที่เสียบ ควรจะสังเกตตําแหนงขั้วใหตรงกัน ไมเชนนั้น เข็มของขั้วตออาจจะหักงอได ภาพที่ 1.21 แสดงการตอสายคียบอรด 3. ตอสายเมาส (PS/2)เขากับจุดตอของพอรต ที่เคส ซึ่งปกติจะมีสีเขียว หรือถาเมาสเปนพอรตแบบ USB ก็ให นํามาตอที่พอรตแบบ USB ภาพที่ 1.22 แสดงการตอสายเมาส 4. ตอสายสัญญาณภาพจากพอรตที่จอมอนิเตอร ซึ่ง โดยทั่วไปพอรตนี้จะมีสีน้ําเงิน (มี 15 รูเข็ม) สังเกตตําแหนง ใหตรงกันแลวจึงเสียบสายเขาไป ภาพที่ 1.23 แสดงการตอสัญญาณภาพ
  • 27. 5. นําขั้วตอออดิโอแจ็คของลําโพงตอเขากับจุดตอ ที่เคส โดยทั่วไปแลวสายลําโพงมักจะมีสีเขียว หรือจะมี สัญลักษณแจงใหทราบ ถาตองการใชไมโครโฟน ก็ใหนํา มาตอที่ชองออดิโอแจ็คของไมโครโฟน ซึ่งจะมีสีชมพูใกล กับชองตอของลําโพง ภาพที่ 1.24 แสดงการตอสายลําโพง 6. นําสายไฟฟากระแสสลับ ตอเขาจุดตอไฟเขา 220 โวลต  นําไปตอเขากับเครื่องสํารองไฟฟา เพื่อปอง- กันไฟฟาขัดของ ซึ่งจะยืดอายุการใชงานของคอมพิวเตอร ใหมีระยะเวลาในการใชงานนานขึ้น ภาพที่ 1.25 แสดงการตอไฟฟากระแสสลับ 7. เมื่อตอสายตางๆ ครบแลว ใหกดสวิตส Power ของเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อทดสอบการทํางาน ภาพที่ 1.26 แสดงการเปดเครื่องเพื่อใชงาน การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร 1.ไมควรติดตั้งคอมพิวเตอรในสถานที่ที่ถูกแสงแดดโดยตรงหรือพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงเกินไป หรือต่ําไป อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับคอมพิวเตอร คือ 10 องศาเซลเซียส ถึง 35 องศาเซลเซียส
  • 28. 2. ระวังอยาใหของเหลวหรือน้ําหยดลงไปในคอมพิวเตอรหรือคียบอรด 3. หมั่นทําความสะอาดคอมพิวเตอรและจอภาพ โดยใชผาสักหลาดหรือผานุมเช็ดฝุนละออง ไม แนะนําใหใชผลิตภัณฑทําความสะอาดจําพวกสารเคมี เนื่องจากอาจทําใหสารเคมีที่เคลือบ และ ฉนวน ที่หอหุมคอมพิวเตอรชํารุดได 4. หากจําเปนควรทําความสะอาดโดยการกําจัดฝุนละอองออกจากชองระบายอากาศเพื่อใหการ ระบายอากาศดี 5. แมวาในปจจุบันจะมีคอมพิวเตอรรุนใหมๆ ที่ออกแบบใหมีระบบประหยัดพลังงานใน ระหวางที่เปดคอมพิวเตอรทิ้งไว ก็ตามแตถาเราไมใชเครื่องเปนเวลานาน ควรปดสวิตชคอมพิวเตอร เพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่อง ขอควรระวัง คือ กอนทําความสะอาดเครื่องคอมพิวเตอร ควรถอดปลั๊กไฟของคอมพิวเตอร ออกเสียกอน เพื่อปองกันอันตรายจากไฟฟาลัดวงจร ระบบสารสนเทศ (Information System) ขอมูล (data) หมายถึง ความเปนจริง ที่ยังเปนขอมูลดิบ ซึ่งยังไมไดผานการ ประมวลผล ใดๆ มากอน ขอมูลสารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลที่ไดรับการ กลั่นกรอง เรียบเรียงตีความ หมาย แบงหมวดกลุม วิเคราะหและสรุปแลว ถือเปนขอมูลที่นาเชื่อถือและสามารถนําไปใชงานได อยางมี ประสิทธิภาพ ขอมูลเปนองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งของคอมพิวเตอร ขอมูลที่สามารถนํามาใชกับ คอมพิวเตอรได มี 5 ประเภท คือ 1. ขอมูลตัวเลข (Numeric Data) 2. ขอมูลตัวอักษร (Text Data) 3. ขอมูลเสียง (Audio Data) 4. ขอมูลภาพ (Images Data) 5. ขอมูลภาพเคลื่อนไหว (Video Data) ภาพที่ 1.27 ขอมูลสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 29. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Tech nology) คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพรสารสนเทศ เพื่อชวยใหไดสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ฉับไวทันตอ เหตุการณปจจุบัน โดยอาจจะรวมถึง เครื่องมือและอุปกรณตางๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องใช- สํานักงานอุปกรณเกี่ยวกับคมนาคมตางๆ รวมทั้งซอฟทแวรตางๆ ซึ่งเปนเครื่องมือที่ทันสมัยและใช เทคโนโลยีระดับสูง ขั้นตอนการนําอุปกรณตางๆ มาใชงานเพื่อ รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และ แสดงผลลัพธออกมาเปนสารสนเทศในรูปแบบตาง ๆ ตัวอยางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใชในงานดานตาง ๆ 1. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geograhic Information System or GIS) เปนระบบที่ นํา ขอมูลเชิงพื้นที่มาจัดทําแผนที่ ซึ่งขอมูลเชิงพื้นที่นั้นสามารถใชระบุรูปรางและตําแหนงของสิ่ง ตางๆที่ ปรากฏบนพื้นผิวโลกไดระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวย คอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะในการ คํานวณสูง อุปกรณสําหรับการแสดงผลเปน แผนที่ไดอยางละเอียดและแมนยําสูง 2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction or CAI) เปนการใช คอมพิวเตอรเพื่อผลิตสื่อการสอน ที่รวมภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง ขอความและขอมูลไวดวยกันทํา ใหผูใชไดรับขอมูลขาวสารอยางครบถวน และนาสนใจ ระบบ CAI จะถูกสรางขึ้นโดยการใชซอรฟแวร ที่มีความสามารถในการสรางภาพทางมัลติมีเดีย เชน Authorware เปนตน ภาพที่ 1.28 เทคโนโลยีสารสนเทศ