SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
ประโยคซับซ้อนในการสื่อความ
“คำาและกลุ่มคำาสามารถสื่อความหมายและ
 กระตุ้นความรู้สกได้ก็จริง แต่คำาจะแสดง
                ึ
 ความคิดและอารมณ์ได้อย่างแจ่มชัดก็ต่อ
 เมื่อประกอบกันเป็นประโยคทีดีในการสือ
                               ่      ่
 ความ คือถูกไวยากรณ์ กะทัดรัด และ
 ชัดเจน”
หลักการใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยคซับ
 ซ้อนในการสือความ
            ่
 ประโยคซับซ้อน คือ ประโยคที่แสดงความ
  มากกว่าหนึง ประโยคซับซ้อนประกอบด้วย
            ่
  ประโยคความเดียวหลายประโยค และมีสนธาน ั
  เชือมประโยคความเดียวเหล่านันเข้าด้วยกัน
     ่                          ้
 จำาแนกประโยคซับซ้อนออกเป็น
 1. ประโยคซับซ้อนความรวม ประกอบด้วย
  ประโยคความเดียวที่สำาคัญเสมอกัน เช่น
 เขาอ่านหนังสือหรือเขานั่งหลับ
 2. ประโยคซับซ้อนความซ้อน ประกอบด้วย
  ประโยคความเดียวที่สำาคัญไม่เสมอกัน มี
  ประโยคหลัก และประโยคที่เป็นประโยคขยาย
  ความหมายของประโยคหลัก เช่น
 ฉันเห็นเขาเมื่อแสงไฟที่เขาถือสว่างขึ้น
  ประโยคเหล่านี้จะสามารถแสดงความคิดและอารมณ์
   ได้อย่างแจ่มชัด ประโยคที่ดในการสื่อความ ซึ่งมี
                             ี
   ลักษณะดังนี้
  1. ถูกไวยากรณ์
  2. ชัดเจน
  3. กะทัดรัด
ประโยคถูกไวยากรณ์
 ประโยคซับซ้อนที่ถกไวยากรณ์ไม่วาจะ
                      ู         ่
 เป็นประโยคซับซ้อน ความรวมหรือประโยค
 ซับซ้อน ไม่ควรมีลักษณะดังนี้
1. ขาดคำา
2. คำาเกิน
3. ประโยคไม่จบความ
4. เรียงคำาผิดลำาดับ
 1. ขาดคำา
 เมื่อประโยคขาดคำาบางคำา จะทำาให้ประโยคผิด
  ไวยากรณ์
 -ผลไม้ที่ขึ้นชือของจังหวัดนี้คอชมพู่ และยังเป็นแหล่ง
                 ่               ื
  ขนมหวานนานาชนิดอีกด้วย
 - ผลไม้ที่ขึ้นชือของจังหวัดนี้คือชมพู่ และจังหวัดนี้ยัง
                   ่
  เป็นแหล่งขนมหวานนานาชนิดอีกด้วย
 นอกจากนี้คำาที่ขาดหายไปอาจทำาให้ประโยคกำากวม
  ทำาให้สื่อสารเข้าใจไม่ตรงกัน
 -ก. สมหวังบอกวิภาว่าน้องของเขาทำาแจกันเขาแตก
 -ข. สมหวังบอกวิภาว่าน้องทำาแจกันแตก
 ประโยคขาดคำา อาจทำาให้ประโยคเปลี่ยนความหมาย
 - ผมจะสู่ขอคุณแม่ของคุณด้วยตัวของผมเอง
 - ผมจะสู่ขอคุณ ต่อ/จาก คุณแม่ของคุณด้วยตัวของผม
 2. คำาเกิน
 เมื่อมีคำาเกิน ประโยคก็อาจจะผิดไวยากรณ์ไป
  ได้
- ถ้าลูกศิษย์ต้องประสบความสำาเร็จใน
 ชีวตครูกปลื้มใจเป็นที่สด
     ิ     ็            ุ
- ถ้าลูกศิษย์ประสบความสำาเร็จในชีวต
                                   ิ
 ครูก็ปลื้มใจเป็นที่สด
                     ุ
-มิไยดีที่ใครจะร้องห้ามปราม เธอก็ทำา
 เรือล่มจนได้
มิไยที่ใครจะร้องห้ามปราม เธอก็ทำา
 3. เรียงคำาผิดลำาดับ
 ประโยคในภาษาไทย ถ้าเป็นประโยคความเดียว
  มักเรียง ประธาน กริยา กรรม คำาขยายประธานอยู่
  หลังประธาน คำาขยายกรรมอยู่หลังกรรม แต่คำา
  ขยายกริยานั้นอาจไม่ได้อยู่ชิดคำากริยา อาจมี
  กรรมแทรกอยู่ระหว่างคำากริยากับคำาขยายก็ได้
 -ทหารและตำารวจเป็นรั้วของชาติรักษาชายแดน
 -ทหารและตำารวจรักษาชายแดนเป็นรั้วของชาติ
 -ตำารวจตามล่าโจรเป็นเวลาหลายเดือนแล้วเกือบ
  ค่อนประเทศ
 -ตำารวจตามล่าโจรเกือบค่อนประเทศเป็นเวลา
  หลายเดือนแล้ว
 4. ประโยคไม่จบความ
 ประโยคไม่จบความ คือประโยคที่เรารู้สึกว่ายังมี
  หน่วยซึ่งอยู่ท้ายประโยคขาดหายไป
 -คนที่ทำาความสะอาดต้องเป็นคนเสียสละ ไม่
  เห็นแก่ตวั
 -คนที่ทำาความสะอาดต้องเป็นคนเสียสละ ไม่
  เห็นแก่ตว บ้านเมืองเราต้องการคนประเภทนี้
             ั
 -เมือยังเด็ก เราโง่ เราเขลา เราช่วยตัวเองไม่ได้
      ่
  บัดนี้อายุเราขึ้นต้นตัวเลข 3 แล้ว
 -เมือยังเด็ก เราโง่ เราเขลา เราช่วยตัวเองไม่ได้
        ่
  บัดนี้อายุเราขึ้นต้นตัวเลข 3 แล้ว เรายังช่วยตัว
 ประโยคชัดเจน
 ประโยคซับซ้อนในการสือความ นอกจากจะต้อง
                         ่
 ถูกต้องและกะทัดรัดแล้ว ยังควรมีความชัดเจน
  อีกด้วย ถ้าประโยคไม่ชดเจน การสื่อความก็มัก
                       ั
  จะไม่ประสบความสำาเร็จตามที่ต้องการ
 1. ประโยคไม่กระจ่าง
 2. ประโยคกำากวม
 1. ประโยคไม่กระจ่าง คือ ประโยคที่มีความ
  หมายไม่แน่นอน ผู้อ่านไม่ทราบว่าประโยคนัน  ้
  หมายความว่าอย่างไร
 1.1 ใช้คำาที่ไม่รู้จักกันดี
 - เขาพเนจรไปตามจังหวัดต่างๆ เป็นเวลา 3
  เดือน
 - เขาแต่งตัวเชยมาก
 - เธอชอบแต่งตัวคิกขุ
 1.2 ใช้คำาที่มีความหมายกว้างไม่เฉพาะเจาะจง
 - วันนีฉันไม่ได้มาโรงเรียนเพราะป่วย (เป็นไข้
         ้
  หวัด)
 1.3 ใช้คำาที่มีความหมายไม่แน่นอน
 - ฉันอยากจะซื้อบ้านใหญ่ๆ สักหลัง
 - ฉันอยากจะซื้อบ้านที่มีเนื้อที่เป็นบริเวณกว้างๆ
  สักหลังหนึ่ง
 1.4 ใช้คำาที่มีความหมายขัดแย้งกัน
 - ปัญหาเรื่องนี้ ผมคิดว่าแก้ยาก แต่ถ้าจะแก้กัน
  จริงๆ ก็งายนิดเดียว
           ่
 2. ประโยคกำากวม คือ ประโยคที่มีความหมายได้
  หลายอย่าง บางทีผู้พดหมายความอย่างหนึง แต่
                        ู                     ่
  ผู้ฟังอาจตีความเป็นอย่างอื่น
 2.1 การใช้คำา
 “คนที่จับเชือกควรจะเป็นคนสาว”
 “ชีวตเธอตกตำ่าจนต้องขายของเก่ากินไปวันๆ”
       ิ
 2.2 การใช้สรรพนาม
 “โอ๋กับเอ๋ทะเลาะกันเล่นเกม ในที่สุดเขาลุกขึ้น
  กระโดดเตะอย่างแรง จนเขาล้มควำ่า”
 2.3 โครงสร้างประโยค
 “นุ่มขี่จักรยานชนนิมล้มลงหัวแตก”
                     ่
 “นุ่มขี่จักรยานชน จนนิมล้มลงหัวแตก”
                        ่
 2.4 ประโยคแสดงคำาถามในประโยคปฏิเสธ
 “เขามาเมื่อไรกัน”
 เด็กอะไร ใช้ไม่ได้”


ประโยคกะทัดรัด
 ประโยคกะทัดรัดควรมีลักษณะดังต่อไปนี้
 1 รวบความให้กระชับ
 2. ลำาดับความให้รัดกุม
 3. จำากัดความ
 4. ไม่มีคำาที่ไม่จำาเป็น
 5. ประโยคไม่ยาวจนเกินไป

 1. รวบความให้กระชับ
 “ชาวเหนือ ชาวอีสาน ชาวใต้ ล้วนเป็นชาวไทย
  ทั้งสิ้น”
 “ภาษาไทยในยุคปัจจุบนนับวันจะเสื่อมลงไปใน
                         ั
  ทางทีไม่สมควร”
          ่
 “คำาราชาศัพท์นนถ้าเลี่ยงได้ เราควรจะเลี่ยงเสีย
                  ั้
  ในกรณีที่เลี่ยงได้”
 2. ลำาดับความให้รัดกุม
 “เขาไม่เคยโกงใคร ถึงแม้ว่าเขาจะเก่งกล้า
  สามารถและไม่สู้เฉลียวฉลาดเหมือนคนอื่น”
 “ถึงเขาจะไม่เก่งกล้าสามารถและไม่สเฉลียว
                                      ู้
  ฉลาดเหมือนใครๆ แต่ก็เขาไม่เคยโกงใคร”
 3. จำากัดความ
 “เขาเป็นคนเรียนเก่ง และขับรถสปอร์ตมา
  โรงเรียนทุกวัน”
 “เขาเป็นคนเรียนเก่ง และมีหวังได้เกียรตินิยม
  เมื่อเรียนจบ”
 “แม้รูปร่างเธอไม่สวย แต่เธอก็เป็นลูกสาวคน
 4. ไม่มีคำาที่ไม่จำาเป็น
 “เรื่องนี้ข้าพเจ้าได้ทำาการศึกษาค้นคว้ามาเป็น
  เวลากว่า 20 ปี”
 “เขาประสบความผิดหวังอย่างใหญ่หลวง”
 “เขามีความเสียใจที่ทำาให้บิดามารดาผิดหวัง”
 เครื่องนุงห่มร่างกายทำาให้คนผิดแผกต่างกันไป
            ่
  โดยลักษณะ
 5. ประโยคไม่ยาวจนเกินไป
 “เรากำาลังจะเดินทางไปยังจังหวัดหนึ่ง ซึ่งเป็น
  จังหวัดที่มีชื่อปรากฏทางประวัตศาสตร์และ
                                  ิ
  สำาคัญมากจังหวัดหนึ่ง คือจังหวัดสุโขทัย”
 “เรากำาลังจะเดินทางไปยังจังหวัดสำาคัญทาง
  ประวัติศาสตร์จังหวัดหนึ่ง คือจังหวัดสุโขทัย
  นันเอง”
    ่
 “ตอนกลางคืน เราออกไปกินอาหารนอกโรงแรม
  พบว่ามีร้านอาหารให้เลือกหลายร้าน แต่ละร้าน
  คึกคักไปด้วยผู้คน แสดงว่าคนมุกดาหารชอบกิน
  ข้าวนอกบ้าน ตีความได้วาเศรษฐกิจของจังหวัด
                           ่
  นีต้องดีพอสมควร”
      ้
การบ้าน

 ประโยคต่อไปนี้เป็นประโยคกำากวม ให้วิเคราะห์
  และแก้ไข
 ๑. ใครเดินทางมาเยือนไม่มผิดหวังในยามนี้
                             ี
 ๒. เขาลุกขึ้นพรวดพราดเพื่อทำาร่างกายให้
  สะอาดก่อนที่จะเข้าพิธีอย่างรีบร้อน
 ๓. การท่องเที่ยวให้ความรู้แก่ผู้เดินทางทาง
  อ้อม
 ๔. ไม่ได้หรอกครับ มันเป็นของลับ ผมต้องให้
  กับมือเธอ

More Related Content

What's hot

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power pointThank Chiro
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...Prachoom Rangkasikorn
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2iberryh
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 

What's hot (20)

1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
รายงาน Power point
รายงาน Power pointรายงาน Power point
รายงาน Power point
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง  แม่เหล็กไฟฟ้า  ป.2+222+dltv...
ใบความรู้ แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรื่อง แม่เหล็กไฟฟ้า ป.2+222+dltv...
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย ป.2
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 

Similar to ภาษาไทย ม.6

บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6thaneerat
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยthaneerat
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์คุณานนต์ ทองกรด
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้Atima Teraksee
 

Similar to ภาษาไทย ม.6 (20)

คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
คำซ้อน 1
คำซ้อน 1คำซ้อน 1
คำซ้อน 1
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยป6
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทยบทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
บทเรียนสำเร็จรูปภาษาไทย
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
การร้อยเรียงประโยค ครูคุณานนต์
 
Proverb1
Proverb1Proverb1
Proverb1
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Thai onet[1]
Thai onet[1]Thai onet[1]
Thai onet[1]
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
000
000000
000
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
 

ภาษาไทย ม.6

  • 2. “คำาและกลุ่มคำาสามารถสื่อความหมายและ กระตุ้นความรู้สกได้ก็จริง แต่คำาจะแสดง ึ ความคิดและอารมณ์ได้อย่างแจ่มชัดก็ต่อ เมื่อประกอบกันเป็นประโยคทีดีในการสือ ่ ่ ความ คือถูกไวยากรณ์ กะทัดรัด และ ชัดเจน”
  • 3. หลักการใช้คำาและกลุ่มคำาสร้างประโยคซับ ซ้อนในการสือความ ่  ประโยคซับซ้อน คือ ประโยคที่แสดงความ มากกว่าหนึง ประโยคซับซ้อนประกอบด้วย ่ ประโยคความเดียวหลายประโยค และมีสนธาน ั เชือมประโยคความเดียวเหล่านันเข้าด้วยกัน ่ ้  จำาแนกประโยคซับซ้อนออกเป็น  1. ประโยคซับซ้อนความรวม ประกอบด้วย ประโยคความเดียวที่สำาคัญเสมอกัน เช่น  เขาอ่านหนังสือหรือเขานั่งหลับ
  • 4.  2. ประโยคซับซ้อนความซ้อน ประกอบด้วย ประโยคความเดียวที่สำาคัญไม่เสมอกัน มี ประโยคหลัก และประโยคที่เป็นประโยคขยาย ความหมายของประโยคหลัก เช่น  ฉันเห็นเขาเมื่อแสงไฟที่เขาถือสว่างขึ้น ประโยคเหล่านี้จะสามารถแสดงความคิดและอารมณ์ ได้อย่างแจ่มชัด ประโยคที่ดในการสื่อความ ซึ่งมี ี ลักษณะดังนี้ 1. ถูกไวยากรณ์ 2. ชัดเจน 3. กะทัดรัด
  • 5. ประโยคถูกไวยากรณ์  ประโยคซับซ้อนที่ถกไวยากรณ์ไม่วาจะ ู ่ เป็นประโยคซับซ้อน ความรวมหรือประโยค ซับซ้อน ไม่ควรมีลักษณะดังนี้ 1. ขาดคำา 2. คำาเกิน 3. ประโยคไม่จบความ 4. เรียงคำาผิดลำาดับ
  • 6.  1. ขาดคำา  เมื่อประโยคขาดคำาบางคำา จะทำาให้ประโยคผิด ไวยากรณ์  -ผลไม้ที่ขึ้นชือของจังหวัดนี้คอชมพู่ และยังเป็นแหล่ง ่ ื ขนมหวานนานาชนิดอีกด้วย  - ผลไม้ที่ขึ้นชือของจังหวัดนี้คือชมพู่ และจังหวัดนี้ยัง ่ เป็นแหล่งขนมหวานนานาชนิดอีกด้วย  นอกจากนี้คำาที่ขาดหายไปอาจทำาให้ประโยคกำากวม ทำาให้สื่อสารเข้าใจไม่ตรงกัน  -ก. สมหวังบอกวิภาว่าน้องของเขาทำาแจกันเขาแตก  -ข. สมหวังบอกวิภาว่าน้องทำาแจกันแตก  ประโยคขาดคำา อาจทำาให้ประโยคเปลี่ยนความหมาย  - ผมจะสู่ขอคุณแม่ของคุณด้วยตัวของผมเอง  - ผมจะสู่ขอคุณ ต่อ/จาก คุณแม่ของคุณด้วยตัวของผม
  • 7.  2. คำาเกิน  เมื่อมีคำาเกิน ประโยคก็อาจจะผิดไวยากรณ์ไป ได้ - ถ้าลูกศิษย์ต้องประสบความสำาเร็จใน ชีวตครูกปลื้มใจเป็นที่สด ิ ็ ุ - ถ้าลูกศิษย์ประสบความสำาเร็จในชีวต ิ ครูก็ปลื้มใจเป็นที่สด ุ -มิไยดีที่ใครจะร้องห้ามปราม เธอก็ทำา เรือล่มจนได้ มิไยที่ใครจะร้องห้ามปราม เธอก็ทำา
  • 8.  3. เรียงคำาผิดลำาดับ  ประโยคในภาษาไทย ถ้าเป็นประโยคความเดียว มักเรียง ประธาน กริยา กรรม คำาขยายประธานอยู่ หลังประธาน คำาขยายกรรมอยู่หลังกรรม แต่คำา ขยายกริยานั้นอาจไม่ได้อยู่ชิดคำากริยา อาจมี กรรมแทรกอยู่ระหว่างคำากริยากับคำาขยายก็ได้  -ทหารและตำารวจเป็นรั้วของชาติรักษาชายแดน  -ทหารและตำารวจรักษาชายแดนเป็นรั้วของชาติ  -ตำารวจตามล่าโจรเป็นเวลาหลายเดือนแล้วเกือบ ค่อนประเทศ  -ตำารวจตามล่าโจรเกือบค่อนประเทศเป็นเวลา หลายเดือนแล้ว
  • 9.  4. ประโยคไม่จบความ  ประโยคไม่จบความ คือประโยคที่เรารู้สึกว่ายังมี หน่วยซึ่งอยู่ท้ายประโยคขาดหายไป  -คนที่ทำาความสะอาดต้องเป็นคนเสียสละ ไม่ เห็นแก่ตวั  -คนที่ทำาความสะอาดต้องเป็นคนเสียสละ ไม่ เห็นแก่ตว บ้านเมืองเราต้องการคนประเภทนี้ ั  -เมือยังเด็ก เราโง่ เราเขลา เราช่วยตัวเองไม่ได้ ่ บัดนี้อายุเราขึ้นต้นตัวเลข 3 แล้ว  -เมือยังเด็ก เราโง่ เราเขลา เราช่วยตัวเองไม่ได้ ่ บัดนี้อายุเราขึ้นต้นตัวเลข 3 แล้ว เรายังช่วยตัว
  • 10.  ประโยคชัดเจน  ประโยคซับซ้อนในการสือความ นอกจากจะต้อง ่  ถูกต้องและกะทัดรัดแล้ว ยังควรมีความชัดเจน อีกด้วย ถ้าประโยคไม่ชดเจน การสื่อความก็มัก ั จะไม่ประสบความสำาเร็จตามที่ต้องการ  1. ประโยคไม่กระจ่าง  2. ประโยคกำากวม
  • 11.  1. ประโยคไม่กระจ่าง คือ ประโยคที่มีความ หมายไม่แน่นอน ผู้อ่านไม่ทราบว่าประโยคนัน ้ หมายความว่าอย่างไร  1.1 ใช้คำาที่ไม่รู้จักกันดี  - เขาพเนจรไปตามจังหวัดต่างๆ เป็นเวลา 3 เดือน  - เขาแต่งตัวเชยมาก  - เธอชอบแต่งตัวคิกขุ  1.2 ใช้คำาที่มีความหมายกว้างไม่เฉพาะเจาะจง  - วันนีฉันไม่ได้มาโรงเรียนเพราะป่วย (เป็นไข้ ้ หวัด)
  • 12.  1.3 ใช้คำาที่มีความหมายไม่แน่นอน  - ฉันอยากจะซื้อบ้านใหญ่ๆ สักหลัง  - ฉันอยากจะซื้อบ้านที่มีเนื้อที่เป็นบริเวณกว้างๆ สักหลังหนึ่ง  1.4 ใช้คำาที่มีความหมายขัดแย้งกัน  - ปัญหาเรื่องนี้ ผมคิดว่าแก้ยาก แต่ถ้าจะแก้กัน จริงๆ ก็งายนิดเดียว ่  2. ประโยคกำากวม คือ ประโยคที่มีความหมายได้ หลายอย่าง บางทีผู้พดหมายความอย่างหนึง แต่ ู ่ ผู้ฟังอาจตีความเป็นอย่างอื่น
  • 13.  2.1 การใช้คำา  “คนที่จับเชือกควรจะเป็นคนสาว”  “ชีวตเธอตกตำ่าจนต้องขายของเก่ากินไปวันๆ” ิ  2.2 การใช้สรรพนาม  “โอ๋กับเอ๋ทะเลาะกันเล่นเกม ในที่สุดเขาลุกขึ้น กระโดดเตะอย่างแรง จนเขาล้มควำ่า”  2.3 โครงสร้างประโยค  “นุ่มขี่จักรยานชนนิมล้มลงหัวแตก” ่  “นุ่มขี่จักรยานชน จนนิมล้มลงหัวแตก” ่
  • 14.  2.4 ประโยคแสดงคำาถามในประโยคปฏิเสธ  “เขามาเมื่อไรกัน”  เด็กอะไร ใช้ไม่ได้” ประโยคกะทัดรัด  ประโยคกะทัดรัดควรมีลักษณะดังต่อไปนี้  1 รวบความให้กระชับ  2. ลำาดับความให้รัดกุม  3. จำากัดความ
  • 15.  4. ไม่มีคำาที่ไม่จำาเป็น  5. ประโยคไม่ยาวจนเกินไป  1. รวบความให้กระชับ  “ชาวเหนือ ชาวอีสาน ชาวใต้ ล้วนเป็นชาวไทย ทั้งสิ้น”  “ภาษาไทยในยุคปัจจุบนนับวันจะเสื่อมลงไปใน ั ทางทีไม่สมควร” ่  “คำาราชาศัพท์นนถ้าเลี่ยงได้ เราควรจะเลี่ยงเสีย ั้ ในกรณีที่เลี่ยงได้”
  • 16.  2. ลำาดับความให้รัดกุม  “เขาไม่เคยโกงใคร ถึงแม้ว่าเขาจะเก่งกล้า สามารถและไม่สู้เฉลียวฉลาดเหมือนคนอื่น”  “ถึงเขาจะไม่เก่งกล้าสามารถและไม่สเฉลียว ู้ ฉลาดเหมือนใครๆ แต่ก็เขาไม่เคยโกงใคร”  3. จำากัดความ  “เขาเป็นคนเรียนเก่ง และขับรถสปอร์ตมา โรงเรียนทุกวัน”  “เขาเป็นคนเรียนเก่ง และมีหวังได้เกียรตินิยม เมื่อเรียนจบ”  “แม้รูปร่างเธอไม่สวย แต่เธอก็เป็นลูกสาวคน
  • 17.  4. ไม่มีคำาที่ไม่จำาเป็น  “เรื่องนี้ข้าพเจ้าได้ทำาการศึกษาค้นคว้ามาเป็น เวลากว่า 20 ปี”  “เขาประสบความผิดหวังอย่างใหญ่หลวง”  “เขามีความเสียใจที่ทำาให้บิดามารดาผิดหวัง”  เครื่องนุงห่มร่างกายทำาให้คนผิดแผกต่างกันไป ่ โดยลักษณะ
  • 18.  5. ประโยคไม่ยาวจนเกินไป  “เรากำาลังจะเดินทางไปยังจังหวัดหนึ่ง ซึ่งเป็น จังหวัดที่มีชื่อปรากฏทางประวัตศาสตร์และ ิ สำาคัญมากจังหวัดหนึ่ง คือจังหวัดสุโขทัย”  “เรากำาลังจะเดินทางไปยังจังหวัดสำาคัญทาง ประวัติศาสตร์จังหวัดหนึ่ง คือจังหวัดสุโขทัย นันเอง” ่  “ตอนกลางคืน เราออกไปกินอาหารนอกโรงแรม พบว่ามีร้านอาหารให้เลือกหลายร้าน แต่ละร้าน คึกคักไปด้วยผู้คน แสดงว่าคนมุกดาหารชอบกิน ข้าวนอกบ้าน ตีความได้วาเศรษฐกิจของจังหวัด ่ นีต้องดีพอสมควร” ้
  • 19. การบ้าน  ประโยคต่อไปนี้เป็นประโยคกำากวม ให้วิเคราะห์ และแก้ไข  ๑. ใครเดินทางมาเยือนไม่มผิดหวังในยามนี้ ี  ๒. เขาลุกขึ้นพรวดพราดเพื่อทำาร่างกายให้ สะอาดก่อนที่จะเข้าพิธีอย่างรีบร้อน  ๓. การท่องเที่ยวให้ความรู้แก่ผู้เดินทางทาง อ้อม  ๔. ไม่ได้หรอกครับ มันเป็นของลับ ผมต้องให้ กับมือเธอ