SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
๗๙

                     การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design
                     กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานเกษตร ๑                    ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑          เวลา ๒ ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๘ การใช้ ประโยชน์ จากผลผลิตทางการเกาตรเพือเศรษฐกิจพอเพียง
                                                                                 ่
๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้
                ้
    การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
                                        ผัง (Big Idea)
                                  การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง


                                     การใช้ ประโยชน์ จาก
                                    ผลผลิตทางการเกษตร
                                    เพือเศรษฐกิจพอเพียง
                                       ่

๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย
                               ้
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
         ั                                                                           ิ
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
          ั                                 ิ
   ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                      ั
   ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
   ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๘๐

๔. เปาหมายการเรียนรู้
      ้
     ๑. ความเข้ าใจที่คงทน
         การปลูกพืช สร้างผลผลิตให้แก่มนุษย์มากมายไม่ว่าจะนามาใช้เป็ นอาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย
                                                                                                 ่
และยารักษาโรค ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นในชีวิตประจาวัน แต่ผลผลิตของพืชอาจจะมีมากมายเกินความจาเป็ น
ในบางฤดูหากไม่มีการเก็บรักษาให้อยูในสภาพที่เหมาะสมหรื อเปลี่ยนแปลงสภาพของพืชเหล่านั้น
                                        ่
ให้เก็บได้ยาวนานขึ้นก็จะทาให้พืชเหล่านั้นสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์จึงต้องหาวิธีการเก็บรักษาหรื อ
ดัดแปลงพืชผลให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น
     ๒. จิตพิสัย
         ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้
         ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
        ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
     ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน
         ๑) ความสามารถในการสื่อสาร
 ๒         ) ความสามารถในการคิด
         ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ๔         ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต
                                      ั
         ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
     ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
         ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
         ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต
 ๓)          มีวินย    ั
 ๔)          ใฝ่ เรี ยนรู้
 ๕)          อยูอย่างพอเพียง
                 ่
 ๖)          มุ่งมันในการทางาน
                     ่
 ๗)          รักความเป็ นไทย
 ๘)          มีจิตสาธารณะ
๘๑

   ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
        ๑) อธิบายหลักการปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงได้
        ๒) ปฏิบติการลดรายจ่ายเสริ มรายได้จากผลผลิตทางการเกษตร
                ั
๓) ปฏิบติการแปรรู ปผลผลิตที่เหลือใช้จากการเกษตรได้
        ั
๔) ปฏิบติการจัดการต่างสวนหย่อมและสวนในภาชนะได้
          ั
   ๖. ทักษะคร่ อมวิชา
       ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน
       ๒) การนาเสนอ การนาเสน                อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
       ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
๘๒

                                        แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘
วิชา งานเกษตร ๑                                                            ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑
หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๘ การใช้ ประโยชน์ จากผลผลิตทางการเกษตร                เวลา ๒ ชั่วโมง
                      เพือเศรษฐกิจพอเพียง
                         ่
๑. เปาหมายการเรียนรู้
     ้
       การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
๒. สาระสาคัญ
     การปลูกพืช สร้างผลผลิตให้แก่มนุษย์มากมายไม่วาจะนามาใช้เป็ นอาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย
                                                     ่                                      ่
และยารักษาโรค ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นในชีวิตประจาวัน แต่ผลผลิตของพืชอาจจะมีมากมายเกินความจาเป็ น
ในบางฤดูหากไม่มีการเก็บรักษาให้อยูในสภาพที่เหมาะสมหรื อเปลี่ยนแปลงสภาพของพืชเหล่านั้น
                                      ่
ให้เก็บได้ยาวนานขึ้นก็จะทาให้พชเหล่านั้นสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์จึงต้องหาวิธีการเก็บรักษาหรื อ
                                  ื
ดัดแปลงพืชผลให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น
๓. มาตรฐานและตัวชี้วด      ั
    มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ
                                                          ั
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต
             ั                                                                       ิ
และครอบครัว
    ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้
           ั                                 ิ
    ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน
                       ั
    ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ
    ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
    การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
๘๓

๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
           K (Knowledge)                      P (Practice)                     A (Attitude)
          ความรู้ ความเข้ าใจ                 การฝึ กปฏิบัติ       คุณลักษณะอันพึงประสงค์
 ๑.   อธิบายหลักการปลูกพืช        ๑.   รู้จกหลักการปลูกพืชเพื่อ
                                           ั                      ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
      เพื่อเศรษฐกิจพอเพียงได้          เศรษฐกิจพอเพียง            ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต
 ๒.   ปฏิบติการลดรายจ่าย
            ั                     ๒.   สามารถปฏิบติการลดรายจ่าย
                                                     ั            ๓. มีวินย  ั
      เสริ มรายได้จากผลผลิต            เสริ มรายได้จากผลผลิตทาง   ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้
      ทางการเกษตร                      การเกษตร                   ๕. อยูอย่างพอเพียง
                                                                         ่
 ๓.   ปฏิบติการแปรรู ปผลผลิต
              ั                   ๓.   สามารถปฏิบติการแปรรู ป
                                                       ั          ๖. มุ่งมันในการทางาน
                                                                           ่
      ที่เหลือใช้จากการเกษตรได้        ผลผลิตที่เหลือใช้จากการ    ๗. รักความเป็ นไทย
 ๔.   ปฏิบติการจัดตกแต่ง
                ั                      เกษตรได้                   ๘. มีจิตสาธารณะ
      สวนหย่อมและสวน              ๔.   สามารถปฏิบติการจัดตกแต่ง
                                                         ั
      ในภาชนะได้                       สวนหย่อมและสวนในภาชนะ
                                       ได้
๖. การวัดและประเมินผล
๑.        เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน             /หลังเรี ยน
          ๒) แบบทดสอบ
๓)              ใบงาน
๔           ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวดผล
        ั
          ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน
          ๒) ตรวจแบบทดสอบ
          ๓) ตรวจใบงาน
๘๔

        ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
        ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
        ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน
        ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
    ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
        ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ
                    ่                                         ่
            คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน
        ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
        ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ
            การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
                                      ั
        ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
            เกินร้อยละ ๕๐
        ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง
                                                            ่
        ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม
                                                                  ่ ั
            สภาพจริ ง
        ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั
            การประเมินตามสภาพจริ ง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑ . ผลการทาแบบทดสอบ
    ๒. ผลการทาใบงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
  ชั่วโมงที่ ๑
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๑) ครู ทบทวนเรื่ องการแปรรู ปผลผลิตที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น
  ขั้นสอน
๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์ของการปลูกพืช
       เพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ชนิดของพืชที่ควรปลูกเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน
       งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๘๕

๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
         ั
   ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
       จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอย
                                                                ้
       ให้คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน
  ขั้นสรุปและการประยุกต์
  ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ
                                            ั
  ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้
       เข้าใจร่ วมกัน ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                           ั
  ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
       - ใบงานที่ ๘.๑
  ชั่วโมงที่ ๒
  ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
๘) ครู อธิบายการลดรายจ่ายและเสริ มรายได้ในครัวเรื อน จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑
       ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้
        ั
   ขั้นสอน
   ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การลดรายจ่ายและเสริ มรายได้
          ในครัวเรื อน จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ
                                                                           ้
          โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา
   ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้
                                       ั
- การจัดสวนถาด - การทาไข่เค็มดินสอพอง
- การทาแชมพูสมุนไพร - การทายาหม่องเสลดพังพอน
โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้
                                     ั
- การวางแผนการทางาน
- ปฏิบติงานตามแผน
        ั
          - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม
นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้
๘๖

  - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร
  - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่
  - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร
                    ้
  - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร
                ั
  - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง
     ขั้นสรุปและการประยุกต์
     ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป
     ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม
                                                                        ้
     ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้
      - กิจกรรมที่ ๑ การแปรรู ปผลผลิตการเกษตร การทาไข่เค็มดินสอพอง
      - กิจกรรมที่ ๒ ลดรายจ่ายเสริ มรายได้ ทาแชมพูสมุนไพ
      - กิจกรรมที่ ๓ ลดรายจ่ายเสริ มรายได้ ยาหม่องเสลดพังพอน
     ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๘
              ั
 ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
 ๑.       หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
 ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๑๐. การบูรณาการ
     บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
๘๗


คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด
                ั                            ู
๑. การปลูกพืชให้ประโยชน์แก่นกเรี ยนอย่างไร
                                   ั
     ก. เป็ นรายได้เสริ ม                    ข. ทาให้อากาศบริ สุทธิ์
ค.      ได้ออกกาลังกาย                       ง. ถูกทุกข้อ
๒. พืชที่ใช้เป็ นยารักษาโรคได้ เรี ยกว่าอะไร
ก.      ไม้ผล ข.                                   พืชผัก
ค.      พืชสมุนไพร                             ง. พืชสวน
๓. การลดรายจ่ายในครัวเรื อหมายถึง
ก.      การซื้ออาหารให้นอยลง ข.
                            ้                      การเก็บออมเงินให้มากที่สุด
ค.      การปลุกพืชไว้ขาย                       ง. การปลูกพืชและทาผลิตภัณฑ์ใช้เอง
๔. พืชในข้อใดเป็ นพืชผักสวนครัว
ก.      องุ่น ส้ม ชมพู่                        ข. กระเพรา พริ ก ชะอม
ค.      ขนุน มะรุ ม มะพร้าว                     ง. ถูกทุกข้อ
๕. รายได้เสริ มคืออะไร
     ก. เงินที่เก็บไว้                       ข.รายได้ที่ได้รับประจา
     ค. รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการทางานเสริ ม    ง. รายได้ที่ได้จากการลดค่าใช้จ่าย
๖. สินค้าโอท็อป (OTOP) คือข้อใด
     ก. สินค้าจากภูมปัญญาท้องถิ่น ข.
                       ิ                          สินค้าที่รับจากพ่อค้าคนกลาง
     ค. สินค้าเกษตร                            ง. สินค้านาเข้าจากต่างประเทศ


                             เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
                                   ๑   ง        ๔   ข

                                   ๒   ค        ๕   ค

                                   ๓   ง        ๖   ก
๘๘

                                               บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                      ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน
                                                                                                                ู้
                                                            (...............................................)
                                                       วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย
                                           ี
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
      …………………………………………………………………………………………………….
                                                                 ลงชื่อ...............................................................
                                                                       (............................................................)

More Related Content

What's hot

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑Manas Panjai
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาCoverslide Bio
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5juckit009
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1Ploykarn Lamdual
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1jamjuree_ben
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นAopja
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 

What's hot (20)

หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๑
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
 
แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5แผนการเรียนรู้เกษตร5
แผนการเรียนรู้เกษตร5
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
ใบความรู้วิชาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร8

ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Lekleklek Jongrak
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16Anny Na Sonsawan
 
การวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อการวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อWorapon Masee
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรkruhome1
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentKo Kung
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาDuangsuwun Lasadang
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 

Similar to แผนการเรียนรู้เกษตร8 (20)

หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
ใบงานโครงงาน 9 10 11 14 15 16
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1Ans n1-w1-1
Ans n1-w1-1
 
การวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อการวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อ
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
Pre o-net job6
Pre o-net job6Pre o-net job6
Pre o-net job6
 
ข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพรข้าวหลามสมุนไพร
ข้าวหลามสมุนไพร
 
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-studentข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
ข้อสอบกรงานฯPre onet ม 6-2555 for-student
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 

แผนการเรียนรู้เกษตร8

  • 1. ๗๙ การออกแบบหน่ วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๘ การใช้ ประโยชน์ จากผลผลิตทางการเกาตรเพือเศรษฐกิจพอเพียง ่ ๑. การกาหนดเปาหมายการเรียนรู้ ้ การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ผัง (Big Idea) การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ ประโยชน์ จาก ผลผลิตทางการเกษตร เพือเศรษฐกิจพอเพียง ่ ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็ นเปาหมาย ้ มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ๓. ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล
  • 2. ๘๐ ๔. เปาหมายการเรียนรู้ ้ ๑. ความเข้ าใจที่คงทน การปลูกพืช สร้างผลผลิตให้แก่มนุษย์มากมายไม่ว่าจะนามาใช้เป็ นอาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย ่ และยารักษาโรค ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นในชีวิตประจาวัน แต่ผลผลิตของพืชอาจจะมีมากมายเกินความจาเป็ น ในบางฤดูหากไม่มีการเก็บรักษาให้อยูในสภาพที่เหมาะสมหรื อเปลี่ยนแปลงสภาพของพืชเหล่านั้น ่ ให้เก็บได้ยาวนานขึ้นก็จะทาให้พืชเหล่านั้นสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์จึงต้องหาวิธีการเก็บรักษาหรื อ ดัดแปลงพืชผลให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น ๒. จิตพิสัย ๑) การมีความสุขในการเรี ยนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓. สมรรถนะสาคัญของ นักเรียน ๑) ความสามารถในการสื่อสาร ๒ ) ความสามารถในการคิด ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔ ) ความสามารถในการใช้ทกษะชีวิต ั ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ๒) ซื่อสัตย์สุจริ ต ๓) มีวินย ั ๔) ใฝ่ เรี ยนรู้ ๕) อยูอย่างพอเพียง ่ ๖) มุ่งมันในการทางาน ่ ๗) รักความเป็ นไทย ๘) มีจิตสาธารณะ
  • 3. ๘๑ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) อธิบายหลักการปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๒) ปฏิบติการลดรายจ่ายเสริ มรายได้จากผลผลิตทางการเกษตร ั ๓) ปฏิบติการแปรรู ปผลผลิตที่เหลือใช้จากการเกษตรได้ ั ๔) ปฏิบติการจัดการต่างสวนหย่อมและสวนในภาชนะได้ ั ๖. ทักษะคร่ อมวิชา ๑) การเขียนรายงาน การเขียนรายงาน ๒) การนาเสนอ การนาเสน อ และการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓) ทักษะการทางานกลุ่ม การทางานกลุ่ม
  • 4. ๘๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ วิชา งานเกษตร ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ หน่ วยการเรียนรู้ที่ ๘ การใช้ ประโยชน์ จากผลผลิตทางการเกษตร เวลา ๒ ชั่วโมง เพือเศรษฐกิจพอเพียง ่ ๑. เปาหมายการเรียนรู้ ้ การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ๒. สาระสาคัญ การปลูกพืช สร้างผลผลิตให้แก่มนุษย์มากมายไม่วาจะนามาใช้เป็ นอาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย ่ ่ และยารักษาโรค ซึ่งเป็ นสิ่งจาเป็ นในชีวิตประจาวัน แต่ผลผลิตของพืชอาจจะมีมากมายเกินความจาเป็ น ในบางฤดูหากไม่มีการเก็บรักษาให้อยูในสภาพที่เหมาะสมหรื อเปลี่ยนแปลงสภาพของพืชเหล่านั้น ่ ให้เก็บได้ยาวนานขึ้นก็จะทาให้พชเหล่านั้นสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์จึงต้องหาวิธีการเก็บรักษาหรื อ ื ดัดแปลงพืชผลให้ใช้ประโยชน์ได้ยาวนานขึ้น ๓. มาตรฐานและตัวชี้วด ั มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการทางาน ทักษะการจัดการ ั ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางานร่ วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวต ั ิ และครอบครัว ตัวชี้วด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตได้ ั ิ ๑. วิเคราะห์ข้นตอนการทางานตามกระบวนการทางาน ั ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง
  • 5. ๘๓ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) P (Practice) A (Attitude) ความรู้ ความเข้ าใจ การฝึ กปฏิบัติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. อธิบายหลักการปลูกพืช ๑. รู้จกหลักการปลูกพืชเพื่อ ั ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ เพื่อเศรษฐกิจพอเพียงได้ เศรษฐกิจพอเพียง ๒. ซื่อสัตย์ สุจริ ต ๒. ปฏิบติการลดรายจ่าย ั ๒. สามารถปฏิบติการลดรายจ่าย ั ๓. มีวินย ั เสริ มรายได้จากผลผลิต เสริ มรายได้จากผลผลิตทาง ๔. ใฝ่ เรี ยนรู้ ทางการเกษตร การเกษตร ๕. อยูอย่างพอเพียง ่ ๓. ปฏิบติการแปรรู ปผลผลิต ั ๓. สามารถปฏิบติการแปรรู ป ั ๖. มุ่งมันในการทางาน ่ ที่เหลือใช้จากการเกษตรได้ ผลผลิตที่เหลือใช้จากการ ๗. รักความเป็ นไทย ๔. ปฏิบติการจัดตกแต่ง ั เกษตรได้ ๘. มีจิตสาธารณะ สวนหย่อมและสวน ๔. สามารถปฏิบติการจัดตกแต่ง ั ในภาชนะได้ สวนหย่อมและสวนในภาชนะ ได้ ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบก่อนเรี ยน /หลังเรี ยน ๒) แบบทดสอบ ๓) ใบงาน ๔ ) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวดผล ั ๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน ๒) ตรวจแบบทดสอบ ๓) ตรวจใบงาน
  • 6. ๘๔ ๔) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๕) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖) สังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) สาหรับชัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรี ยนไม่มีเกณฑ์ผาน เก็บคะแนนไว้เปรี ยบเทียบ กับ ่ ่ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน ๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบเกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่ องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ั ๔) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผานการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุ ง ่ ๖) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบการประเมินตาม ่ ั สภาพจริ ง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน คะแนนขึ้นอยูกบ่ ั การประเมินตามสภาพจริ ง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑ . ผลการทาแบบทดสอบ ๒. ผลการทาใบงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๑) ครู ทบทวนเรื่ องการแปรรู ปผลผลิตที่ได้เรี ยนไปแล้ว นักเรี ยนซักถามและแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน ๒) ครู อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญเรื่ อง การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์ของการปลูกพืช เพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ชนิดของพืชที่ควรปลูกเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
  • 7. ๘๕ ๓) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ๔) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอย ้ ให้คาแนะนา นาผลงานที่ได้มาร่ วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนาเสนอหน้าชั้นเรี ยน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครู แนะนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นกเรี ยนนาเสนอ ั ๖) ครู และนักเรี ยนช่วยกันสรุ ปประเด็นสาคัญ ความรู้เรื่ องการปลูกพืชเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ เข้าใจร่ วมกัน ครู สงเกตสมรรถนะของนักเรี ยนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ั ๗) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - ใบงานที่ ๘.๑ ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ๘) ครู อธิบายการลดรายจ่ายและเสริ มรายได้ในครัวเรื อน จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๙) ให้นกเรี ยนซักถามในเรื่ องที่ไม่เข้าใจ ครู สุ่มถามคาถามกับนักเรี ยน ชมเชยนักเรี ยนที่ตอบได้ ั ขั้นสอน ๑๐) นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คนศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่ อง การลดรายจ่ายและเสริ มรายได้ ในครัวเรื อน จากหนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ เอกสาร ผูรู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ ้ โดยมีคุณครู คอยให้คาแนะนา ๑๑) นักเรี ยนแต่ละกลุ่มทดลองปฏิบติตามหัวข้อต่อไปนี้ ั - การจัดสวนถาด - การทาไข่เค็มดินสอพอง - การทาแชมพูสมุนไพร - การทายาหม่องเสลดพังพอน โดยครู คอยสังเกตขณะนักเรี ยนปฏิบติงาน และเสนอแนะเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ อง ดังต่อไปนี้ ั - การวางแผนการทางาน - ปฏิบติงานตามแผน ั - ประเมินผลการทางานของกลุ่ม นักเรี ยนร่ วมกันประเมินผลการทางานเป็ นกลุ่มแล้วรายงานผลต่อไปนี้
  • 8. ๘๖ - การวางแผนการทางานเป็ นอย่างไร - ทางานตามขั้นตอนหรื อไม่ - ทางานร่ วมกับผูอื่นได้หรื อไม่ มีปัญหาอย่างไร ้ - ลักษณะนิสยในการทางานเป็ นอย่างไร ั - ผลงานเป็ นอย่างไร ควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไร มีอะไรบ้าง ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒) ช่วยกันสรุ ปผลการทางานและการแก้ไขปรับปรุ งในการทางานครั้งต่อไป ๑๓) นักเรี ยนสรุ ปความรู้ที่ได้รับจากการเรี ยนอย่างไร และสิ่งใดที่ตองการเรี ยนรู้เพิ่มเติม ้ ๑๔) นักเรี ยนทากิจกรรมหรื อใบงานตามที่ครู แนะนาดังนี้ - กิจกรรมที่ ๑ การแปรรู ปผลผลิตการเกษตร การทาไข่เค็มดินสอพอง - กิจกรรมที่ ๒ ลดรายจ่ายเสริ มรายได้ ทาแชมพูสมุนไพ - กิจกรรมที่ ๓ ลดรายจ่ายเสริ มรายได้ ยาหม่องเสลดพังพอน ๑๕) ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๘ ั ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. หนังสือเสริ มฝึ กประสบการณ์ งานเกษตร ๑ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอรายงาน
  • 9. ๘๗ คาชี้แจง ให้นกเรี ยนเขียน  ล้อมรอบคาตอบที่ถกที่สุด ั ู ๑. การปลูกพืชให้ประโยชน์แก่นกเรี ยนอย่างไร ั ก. เป็ นรายได้เสริ ม ข. ทาให้อากาศบริ สุทธิ์ ค. ได้ออกกาลังกาย ง. ถูกทุกข้อ ๒. พืชที่ใช้เป็ นยารักษาโรคได้ เรี ยกว่าอะไร ก. ไม้ผล ข. พืชผัก ค. พืชสมุนไพร ง. พืชสวน ๓. การลดรายจ่ายในครัวเรื อหมายถึง ก. การซื้ออาหารให้นอยลง ข. ้ การเก็บออมเงินให้มากที่สุด ค. การปลุกพืชไว้ขาย ง. การปลูกพืชและทาผลิตภัณฑ์ใช้เอง ๔. พืชในข้อใดเป็ นพืชผักสวนครัว ก. องุ่น ส้ม ชมพู่ ข. กระเพรา พริ ก ชะอม ค. ขนุน มะรุ ม มะพร้าว ง. ถูกทุกข้อ ๕. รายได้เสริ มคืออะไร ก. เงินที่เก็บไว้ ข.รายได้ที่ได้รับประจา ค. รายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการทางานเสริ ม ง. รายได้ที่ได้จากการลดค่าใช้จ่าย ๖. สินค้าโอท็อป (OTOP) คือข้อใด ก. สินค้าจากภูมปัญญาท้องถิ่น ข. ิ สินค้าที่รับจากพ่อค้าคนกลาง ค. สินค้าเกษตร ง. สินค้านาเข้าจากต่างประเทศ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๑ ง ๔ ข ๒ ค ๕ ค ๓ ง ๖ ก
  • 10. ๘๘ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้ อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครู ผสอน ู้ (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้ อเสนอแนะของหัวหน้ าสถานศึกษาหรือผู้ท่ได้ รับมอบหมาย ี ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ............................................................... (............................................................)