SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทเรียนสาเร็จร ูป
เรือง การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
่
ั
(Scientific Revolution)
ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 6
้
ี

โดย
นางสาวจิตติมา ศรีผด ุงพร เลขที่ 6
นางสาวอารียา ละมูล
เลขที่ 29
ชัน ม. 6.10
้
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ได้
ั

2. มีความสนใจใฝรเ้ ู กี่ยวกับการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
่
ั

3. วิเคราะห์ขอมูลเกี่ยวกับการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ได้
้
ั
พวกเราเปนภูตความรูนะจ๊ะ
็
้
กีกี ้ : แม่ มดน้ อยผู้มีจตใจโอบอ้ อมอารี
ิ
เธอรู้ ทุกอย่ างเกี่ยวกับการปฏิวัติ
วิทยาศาสตร์

ซิฟโฟ่ : ฟั กทองผู้อวดรู้ เป็ น
พวกร้ อนวิชา แต่ ในที่สุดเขาก็
ขอเป็ นศิษย์ ของกีกี ้
สารบัญ
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั

ปัจจัยส่งเสริมการปฏิวติวิทยาศาสตร์
ั

ความสาคัญของการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก
ั

การปฏิวติช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17
ั

การปฏิวติช่วงปลายคริสต์สตวรรษที่ 17
ั
ผลของการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั

แบบประลองความร ้ ู

เอกสารอ้างอิง
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั
การปฏิวตวิทยาศาสตร์เริ่มขึนในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็ น
ั ิ
้
ผลมาจากการพัฒนาความคิดที่ยึดหลักเหตุผลซึ่งได้รบอิทธิพล
ั
จากขบวนการมนุษย์นยมในสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ การปฏิวติ
ิ
ั
ทางวิทยาศาสตร์ยงส่งผลให้เกิดการค้นคว้าเพื่อแสวงหาความรู้
ั
ใหม่ๆ และการเปลี่ยนแปลงองค์ความรูของมนุษยชาติ
้
ฟังเรืองเล่าคลิ๊ก!!!
่
ปัจจัยส่งเสริมการปฏิวติวิทยาศาสตร์
ั
1.การฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ ทาให้มนุษย์เชื่อมันในความสามารถของตน มีอิสระ
่
ทางความคิด หลุดพ้นจากการครอบงาของคริ สตจักร และมุ่งมันที่จะเอาชนะ
่
่
ธรรมชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และความเป็ นอยูของตนให้ดีข้ ึน

2.การพัฒนาเทคโนโลยีในดินแดนเยอรมันตอนใต้ โดยเฉพาะการประดิษฐ์
เครื่ องพิมพ์แบบใช้วิธีเรี ยงตัวอักษร กูเตนเบิร์ก ในปี ค.ศ. 1448 ทาให้สามารถ
พิมพ์หนังสื อเผยแพร่ ความรู ้ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง
3.การสารวจทางทะเลและการติดต่อกับโลกตะวันออก ตั้งแต่คริ สต์ศตวรรษที่16
เป็ นต้นมาทาให้อารยธรรมความรู ้ต่างๆ จากจีน อินเดีย อาหรับ และ
เปอร์เซี ย เผยแพร่ เข้ามาในสังคมตะวันตกมากขึ้น
การใช้หลักเหต ุผลในการแสวงหาความจริง
ความรูเ้ กี่ยวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติซึ่งเป็ นที่ยอมรับกันมาตังแต่ตน
้
้
คริสต์ศักราชจนถึงปลายสมัยกลาง เช่น การยอมรับว่าโลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล
และพระเจ้าเป็ นผูสร้างโลก ล้วนเป็ นการยอมรับโดยไม่มขอโต้แย้งหรือการพิสจน์ใดๆ
้
ี ้
ู
ต่อมาเมือมีการส่งเสริมให้ใช้หลักเหตุผลในการแสวงหาความจริง นักวิทยาศาสตร์จึงเริ่ม
่
ตังข้อสงสัยต่อความจริง และเริ่มศึกษาโดยวิธีการสังเกต รวบรวมข้อมูลและทดลอง ก่อน
้
สรุปเป็ นองค์ความรูหรือทฤษฎี วิธีการศึกษาดังกล่าวได้ชอว่าเป็ น “วิธีการแบบ
้
ื่
วิทยาศาสตร์” ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้นของการปฏิวตวิทยาศาสตร์ เพราะทาให้เกิดการ
ั ิ
เปลี่ยนแปลงองค์ความรูและเกิดการศึกษาค้นคว้าต่อไปเพื่อให้ไดคาตอบที่เป็ นความจริง
้
การฟนฟูวิทยาการสมัยคลาสสิก
้ื
การศึกษาองค์ความรูเ้ กี่ยวกับวิทยาการสมัยคลาสสิก ทาให้
นักวิทยาศาสตร์ยโุ รปเรียนรูความคิดที่กาวหน้าและการใช้หลักเหตุผลของ
้
้
นักปราชญ์ชาวกรีกและโรมัน เช่น อริสโตเติล ยูคลิด (Euclid) อาร์คิมดส
ิ ิ
(Archemedes) แนวคิดดังกล่าวช่วยให้นกวิทยาศาสตร์หลุดออกจากกรอบ
ั
ความคิดที่ถกกาหนดโดยอิทธิพลของศาสนา นอกจากนีความก้าวหน้าด้าน
ู
้
การพิมพ์ยงช่วยให้องค์ความรูใ้ หม่ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ได้เผยแพร่สสงคม
ั
ู่ ั
และเป็ นที่ยอมรับกันต่อมา
ความสาคัญของการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั
• ทาให้มนุษย์เชือมันในสติปัญญาและความสามารถของตน เชือมันในความมีเหตุผล และ
่ ่
่ ่
นาไปสูการแสวงหาความรูโ้ ดยไม่มสิ้นสุด
่
ี
• ก่อให้เกิดความรูและความเจริญก้าวหน้าในวิทยาการด้านต่าง ๆ และทาให้
้
วิทยาศาสตร์กลายเป็ นศาสตร์ที่มความสาคัญ โดยเน้นศึกษาเรื่องราวของธรรมชาติ
ี
• ทาให้เกิดการค้นคว้าทดลองและแสวงหาความรูดานต่าง ๆ ซึ่งนาไปสูการประดิษฐ์
้ ้
่
คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ อย่างต่อเนือง และเป็ นพื้นฐานของการปฏิวตอตสาหกรรมในสมัยต่อมา
่
ั ิ ุ
• ทาให้ชาวตะวันตกมีทศนคติเป็ นนักคิด ชอบสังเกต ชอบซักถาม ชอบค้นคว้าทดลอง
ั
เพื่อหาคาตอบ และนาความรูที่ได้รบไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ตอการดาเนินชีวิต
้ ั
่
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก
ั
การปฏิวตทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก เป็ นการค้นพบความรูทางดาราศาสตร์
ั ิ
้
ทาให้เกิดคาอธิบายเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติตาง ๆ ซึ่งเป็ นการท้าทายความ
่
เชือดังเดิมของคริสต์ศาสนา เรียงลาดับเหตุการณ์ตามการค้นพบของนักวิทยาศาสตร์
่ ้
หรือนักปราชญ์ได้ดงนี้
ั
การค้นพบทฤษฎีระบบส ุริยจักรวาลของนิโคลัส (Nicholaus
Copernicus) ชาวโปแลนด์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17
สาระสาคัญ คือ ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมี
โลกและดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ โคจรโดยรอบ ทฤษฎีของโคเปอร์
นิคสขัดแย้งกับหลักความเชือของคริสต์จกรอย่างมากที่เชือว่า
ั
่
ั
่
โลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล แม้จะถูกประณามอย่างรุนแรง
แต่ถือว่าความคิดของโคเปอร์นคสเป็ นจุดเริ่มต้นของการปฏิวติ
ิ ั
ั
ทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ชาวตะวันตกให้ความสนในเรื่องราวลี้ลบ
ั
ของธรรมชาติ
การประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ (Telescope)
ของกาลิเลโอ (Galileo Galilei) ชาวอิตาลีในปี
ค.ศ. 1609 ทาให้ความรูเ้ รื่องระบบสุริยจักรวาล
ชัดเจนยิ่งขึน เช่น ได้เห็นจุดดับในดวงอาทิตย์ได้
้
สังเกตการเคลื่อนไหวของดวงดาว และได้เห็นพื้น
ขรุขระของดวงจันทร์ เป็ นต้น

การค้นพบทฤษฎีการโคจรของดาวเคราะห์
ของโจฮันเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler)
ชาวเยอรมัน ในช่างต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17
สรุปได้ว่า เส้นทางโคจรของดาวเคราะห์รอบดวง
อาทิตย์เป็ นรูปไข่หรือรูปวงรี มิใช่เป็ นวงกลม
ตามทฤษฎีของโคเปอร์นคส
ิ ั
การปฏิวติช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17
ั

เรอเน เดการ์ต

เซอร์ฟรานซิส เบคอน

เรอเน เดการ์ต (Rene Descartes) ชาวฝรังเศส และ
่
เซอร์ฟรานซิส เบคอน (Sir Francis Bacon) ชาว
อังกฤษ ได้ร่วมกันเสนอหลักการใช้เหตุผล วิธีการทาง
คณิตศาสตร์ และการค้นคว้าวิจยมาใช้ตรวจสอบ
ั
ข้อเท็จจริงและการแสวงหาความรูทางด้านวิทยาศาสตร์
้
• ความคิดของเดการ์ต เสนอว่าวิชาเรขาคณิตเป็ นหลัก
ความจริง สามารถนาไปใช้สืบค้นข้อเท็จจริงทาง
วิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งได้รบความเชือถือจากนักวิทยาศาสตร์
ั
่
ในสมัยต่อมาเป็ นอย่างมาก
• ความคิดของเบคอน เสนอแนวทางการค้นคว้าวิจยทาง
ั
วิทยาศาสตร์ โดยใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์” เป็ น
เครื่องมือศึกษา ทาให้วิทยาศาสตร์ได้รบความสนใจอย่าง
ั
กว้างขวาง
การปฏิวติช่วงปลายคริสต์สตวรรษที่ 17
ั
การค้นพบความรูหรือทฤษฎีใหม่ของ เซอร์ ไอแซค
้
นิวตัน (Sir Isaac Newton) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ในตอนปลายคริสต์สตวรรษที่ 17 มี 2 ทฤษฏี คือ กฎแรง
ดึงดูดของจักรวาลและกฎแห่งความโน้มถ่วง
• ผลจากการค้นพบทฤษฏีทงสองดังกล่าว ทาให้
ั้
นักวิทยาศาสตร์สามารถอธิบายได้ว่าเพราะเหตุใดโลกและ
ดาวเคราะห์จึงหมุนรอบดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์จึง
หมุนรอบโลกได้โดยไม่หลุดจากวงโคจร และสาเหตุที่ทาให้
วัตถุตาง ๆ ตกจากที่สงลงสูพื้นดินโดยไม่หลุดลอยไปใน
่
ู
่
อวกาศ
• ความรูที่พบกลายเป็ นหลักของวิชากลศาสตร์ ทาให้
้
นักวิทยาศาสตร์เข้าในเรื่องราวของเอกภพสะสาร พลังงาน
เวลา และการเคลื่อนตัวของวัตถุในท้องฟา โดยใช้ความรู้
้
และวิธีการทางคณิตศาสตร์ชวยค้นหาคาตอบ
่
ผลของการปฏิวติทางวิทยาศาสตร์
ั
ความสาเร็จของการปฏิวติวิทยาศาสตร์ทาให้โลกก้าวสู่
ั
สมัยใหม่ที่มี
1. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. ความก้าวหน้าด้านภ ูมิปัญญา
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การปฏิวตวิทยาศาสตร์ทาให้สงคมยอมรับวิทยาการสมัยใหม่และทาให้การศึกษา
ั ิ
ั
วิทยาศาสตร์กาวหน้าอย่างไม่หยุดยัง เนืองจากนักวิทยาศาสตร์สมัยต่อมาได้ศึกษา
้
้ ่
ค้นคว้าองค์ความรูเ้ พิ่มเติมจากทฤษฎีที่นกวิทยาศาสตร์ร่นแรกๆ ค้นคว้าไว้ นอกจากนี้
ั
ุ
การศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ยงขยายออกไปหลายสาขา เช่น การแพทย์ ฟิ สิกส์ เคมี
ั
ชีววิทยา ฯลฯ อนึง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ได้สงเสริมให้มการประดิษฐ์คิดค้น
่
่
ี
เทคโนโลยีหลากหลาย เช่น เครื่องทุนแรงและเครื่องจักรต่างๆ ส่งผลให้เทคโนโลยีและ
่
สิ่งประดิษฐ์ตางๆ กลายเป็ นส่วนหนึงในชีวิตประจาวันของมนุษย์จนถึงปั จจุบน
่
่
ั
ความก้าวหน้าทางด้านภ ูมิปัญญา
การปฏิวตทางวิทยาศาสตร์ยงส่งผลต่อการศึกษาและการพัฒนาความคิดใน
ั ิ
ั
คริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเป็ นสมัยที่มความก้าวหน้าทางภูมปัญญาทุกด้าน ทังด้านปรัชญา
ี
ิ
้
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม จึงได้รบการยกย่องว่าเป็ นสมัยภูมธรรม (Age of
ั
ิ
Enlightenment) หรือยุคเหตุผล (Age of Reason) ผูนาความคิดในการใช้หลักเหตุผล
้
(rationalism) ของสมัยนีคือ นักปราชญ์ฝรังเศส นาโดย วอลแตร์ (Voltaire) และมงเตสกิ
้
่
เออ (Montesquieu) อนึง นักคิดในสมัยนีได้นาหลักเหตุผลแบบการศุกษาวิทยาศาสตร์ไปใช้
่
้
ในการศึกษาศาสตร์แขนงต่างๆ และสันบสนุนการใช้เสรีภาพในการคิดวิเคราะห์ และการ
วิพากษ์ ทาให้มผลงานของนักปราชญ์การเมืองคนสาคัญที่มอิทธิพลต่อความคิดของ
ี
ี
ประชาชน เช่น ผลงานของจอห์น ล็อก (John Locke) นักปราชญ์การเมืองชาวอังกฤษ
วอลแตร์ มงเตสกิเออ และรูสโซ (Rousseau)
แบบประลองความรู้
• การปฏิวติวิทยาศาสตร์เป็ นผลมาจากสาเหตุใด?
ั
เป็ นผลมาจากการพัฒนาความคิดที่ยึดหลักเหตุผลซึ่งได้รบอิทธิพลจาก
ั
ขบวนการมนุษย์นยมในสมัยฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
ิ

• การฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการเป็ นปั จจัยที่สงเสริมการปฏิวติวิทยาศาสตร์
่
ั
อย่างไร?
การฟื้ นฟูศิลปะวิทยาการ ทาให้มนุษย์เชือมันในความสามารถของตนเอง
่ ่
มีอิสระทางความคิด หลุดพ้นจากการครอบงาของคริสตจักร และมุงมันที่จะเอาชนะ
่ ่
ธรรมชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต จึงนาไปสูการปฏิวตวิทยาศาสตร์
่
ั ิ
• การปฏิวตทางวิทยาศาสตร์ในระยะแรก เป็ นการค้นพบความรูทางด้านใด ?
ั ิ
้
ค้นพบความรูทางด้านดาราศาสตร์
้

• ความคิดของเบคอนเสนอแนวทางการค้นคว้าวิจยทางวิทยาศาสตร์โดยใช้
ั
วิธีการใด ?
ใช้ “วิธีการทางวิทยาศาสตร์” โดยเน้นการทดลอง

• การปฏิวตวิทยาศาสตร์ทาให้เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ั ิ
อย่างไร ?
การปฏิวตวิทยาศาสตร์ทาให้สงคมยอมรับวิทยาการสมัยใหม่และทาให้การศึกษา
ั ิ
ั
วิทยาศาสตร์กาวหน้าอย่างไม่หยุดยังและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ได้สงเสริมให้มการ
้
้
่
ี
ประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีหลากหลาย
เอกสารอ้างอิง
• http://www.baanjomyut.com/library/scientific_revolution
• http://metricsyst.wordpress.com/2013/02/24
• http://www.thaigoodview.com/node/48565
ลาก่อนนะจ๊ะ...

More Related Content

What's hot

Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนNattha Namm
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 

What's hot (20)

Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 

Similar to บทเรียน ปฏิวัติวิทยาศาสตร์

ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15wan55dee
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 

Similar to บทเรียน ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (20)

การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
6.3 36 45 15
6.3 36 45 156.3 36 45 15
6.3 36 45 15
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
Sun
SunSun
Sun
 
งานแคท
งานแคทงานแคท
งานแคท
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
สาระวิทย์ ฉบับที่ 51 มิถุนายน 2560
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 

บทเรียน ปฏิวัติวิทยาศาสตร์