SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับาาน้้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
หัว้้อเรื่อง
1.1 ความหมายของฐานข้อมูล
1.2 โครงสร้างข้อมูล
1.3 ความเป็ นมาของฐานข้อมูล
1.4 องค์ประกอบของฐานข้อมูล
1.5 ความสาคัญของฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
แนวคิด
ฐานข้อมูล เป็ นการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน
อย่างเป็ นระบบ รวมไว้เป็ นฐานข้อมูลเดียว ซึ่งผู้ใช้สามารถ
เรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ฐานข้อมูลช่วยลดความซ้าซ้อนของ
ข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลสามารถใช้ข้อมูล
ร่วมกันได้ ซึ่งองค์ประกอบของฐานข้อมูลมี 5 องค์ประกอบ
คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูลบุคลากร และขั้นตอนการ
ดาเนินการ แต่การมีฐานข้อมูลต้องใช้ต้นทุนสูง เสี่ยงต่อการ
หยุดชะงักของระบบ
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. บอกความหมายของข้อมูล ฐานข้อมูล และการจัดการ
ฐานข้อมูลได้
2. จาแนกข้อมูลตามโครงสร้างข้อมูลได้
3. บอกความเป็ นมาของฐานข้อมูลได้
4. บอกองค์ประกอบและหน้าที่ของฐานข้อมูลได้
5. บอกหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลได้
6. บอกความสาคัญของฐานข้อมูลได้
7. สามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลได้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.1 ความหมาย้องาาน้้อมูล
ฐ า น ข ้อ มูล ห ม า ย ถึง ก า ร จ ัด เ ก็บ ข ้อ มูล ที่มี
ความสัมพันธ์กันอย่างเป็ นระบบรวมไว้เป็ นฐานข้อมูลเดียว
ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.2 โครงสร้าง้้อมูล
ระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ทางานโดยใช้ข้อมูลที่เป็ น
รหัสของตัวเลข ตัวเลขที่ใช้เป็ นรหัสแทนข้อมูล คือ ระบบ
เลขฐานสอง ซึ่งมีรหัสแทนข้อมูล 2 ตัว ได้แก่ 0 และ 1 แล้ว
นาตัวเลขมาต่อเรียงกัน
รหัสของเลขฐาน 2 1 หลัก = 1 บิต (BIT)
รหัสของเลขฐาน 2 8 หลัก = 8 บิต (BIT) = 1
ไบต์ (BYTE) หรือ 1 แคแรกเตอร์ (CHARACTER)
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.2.1 องค์ประกอบโครงสร้างาาน้้อมูล
โครงสร้างของฐานข้อมูลจึงประกอบด้วย
แคแรกเตอร์ (CHARACTER) หรือ ไบต์ (BYTE)
หมายถึง ตังอักษร (A-Z,ก-ฮ) , ตัวเลข (0-9) และ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่อยู่บนแป้ นพิมพ์
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
ฟิ ลด์ (FIELD) หมายถึง แคแรกเตอร์ ตั้งแต่ 1 ตัว
ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน
เรคอร์ด (RECORD) หมายถึง ฟิ ลด์ ตั้งแต่ 1 ฟิ ลด์
ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน
ไฟล์ (FILE) หมายถึง เรคอร์ด ตั้งแต่ 1 เรคอร์ด
ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน
จากโครงสร้างข้อมูลดังกล่าว โครงสร้างของข้อมูล ที่
เล็กที่สุด คือ แคแรกเตอร์ (CHARACTER) และโครงสร้าง
ของข้อมูลที่ใหญ่ที่สุด คือ ไฟล์ (FILE) แต่ยังมีโครงสร้าง
ของข้อมูลที่ใหญ่กว่า ไฟล์ ก็คือ ฐานข้อมูล (DATABASE)
ซึ่ง หมาย ถึง ไฟล์ ตั้งแต่ 1 ไฟล์ ขึ้นไปมารวมกัน มี
ความสัมพันธ์กัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.3 ความเป็ นมา้องาาน้้อมูล
เป็ นเรื่องยากที่จะบอกว่าฐานข้อมูลได้ถือกาเนิดขึ้นเมื่อใด
แต่มีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้ว่า ต้นกาเนิดของฐานข้อมูลเกิดขึ้น
จากโครงการอาพอลโลของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็ นโครงการที่
ส่งมนุษย์อวกาศไปดวงจันทร์เมื่อปี พ.ศ.2511 เบื้องหลังการ
จัดการระบบข้อมูลในโครงการนี้เกิดจาก การว่าจ้างบริษัท
IBM ให้พัฒนาระบบการดูแลข้อมูล ที่เรียกว่า GUAM
(GENERALIZED UPDATE ACCESS METHOD) ซึ่งถือ
เป็ นต้นกาเนิดของระบบจัดการฐานข้อมูลในอีก 2 ปี ถัดมา
IBM จึงได้พัฒนาการจัดการข้อมูลขึ้นมาใหม่ เพื่อการใช้งาน
ในวงการธุรกิจทั่งไป ได้แก่ ระบบ DL/I (DATA
LANGUAGE/L) พ ัฒ น า จ น ก ร ะ ทั ่ง ไ ด ้ร ะ บ บ IMS
(INFORMATION MANAGEMENT SYSTEM)
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
นอกจากบริษัท IBM แล้วยังมีบริษัท GE (GENERAL
ELECTRIC) ที่ได้พัฒนาฐานข้อมูล เช่น ระบบ IDS
(INTEGRATED DATA STORE) โดยมี CHARLES
BACHMAN เป็ นหัวหน้าทีม IDS เริ่มใช้งานในปี พ.ศ. 2509
และเป็ นต้นกาเนิดของระบบโคดาชิวล์ (CODASYL) หรือโมเดล
แบบเน็ตเวิร์คที่ยังนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน CODSYL
เกิดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็ นทีมงานเดียวกับชุดที่พัฒนา
ภาษาโคบอล
ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับที่ CODSYL ฉบับมาตรฐานได้รับ
การบัญญัติขึ้น ดร. คอดด์ (E.F. CODD) ได้เสนอผลงานทาง
วิชาการเกี่ยวกับโมเดลใหม่ ได้แก่ โมเดลเชิงสัมพันธ์ หลักทฤษฎี
ของ ดร. คอดด์ได้ถูกพัฒนาโดยบริษัท IBM คือระบบ R ซึ่ง
เป็ นระบบต้นแบบที่ใช้เฉพาะในห้องวิจัยเท่านั้น โดย IBM ได้
สร้างระบบ DB2 ขึ้นมาแทน เพื่อนาออกสู่งานด้านธุรกิจ
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4 องค์ประกอบ้องาาน้้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลมักจะนาเอาระบบคอมพิวเตอร์
มาช่วยในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้ทันต่อความต้องการในการ
ใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมีความเชื่อถือได้ โดยมี
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมช่วยจัดการข้อมูล องค์ประกอบของ
ฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 องค์ประกอบ ดังนี้ ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ ข้อมูล และบุคลากร
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4.1 ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์รอบนอกที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถจับ
ต้องได้ ฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ที่มี
ประสิทธิภาพ สามารถอานวยความสะดวกในการบริหาร
ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ขนาดของหน่วยความจา
หลัก ความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา
สารอง อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลและอุปกรณ์ออกรายงานต้อง
รองรับการประมวลผลข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4.2 ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย
ซอฟต์แวร์ 2 ประเภท คือ
1. ซ อฟต์แวร์ระบ บ ซึ่งเรีย กว่า ระบบจัดการ
ฐานข้อมูล เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการและควบคุมดูแล
การสร้าง การเรียกใช้ข้อมูล การจัดทารายงานการ
ปรับเปลี่ยน แก้ไขโครงสร้าง ทาหน้าที่ในการจัดการ
ฐานข้อมูลโดยจะเป็ นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรม
ประยุกต์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
2. ซอฟต์แวร์ใช้งาน เป็ นโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้
เครื่องมือต่าง ๆ ของระบบจัดการฐานข้อมูล ในการทางาน
เฉพาะอย่าง โปรแกรมใช้งานนี้ถูกเขียนโดยใช้ภาษาระดับสูงที่
สามารถติดต่อสื่อสารกับระบบจัดการฐานข้อมูลได้ เช่น
ภาษา SQL, VISUAL BASIC เป็ นต้น
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4.3 ้้อมูล
ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวบรวม
แฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดความ
ซ้าซ้อนของข้อมูลที่จะถูกเก็บในแฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ ให้มากที่สุด
เท่าที่จะสามารถทาได้ ซึ่งผู้ใช้หลายคนสามารถเรียกใช้หรือดึง
ข้อมูลชุดเดียวกันได้ ณ เวลาเดียวกัน หรือต่างเวลากันได้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4.4 บุคลากร
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฐานข้อมูล มีดังนี้
1. ผู้ใช้ทั่วไป เป็ นบุคลากรที่ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล
เพื่อให้งานสาเร็จลุล่วงได้
2. พนักงานปฏิบัติการ เป็ นผู้ปฏิบัติการด้านการ
ประมวลผล การป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
3. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เป็ นบุคลากรที่ทา
หน้าที่วิเคราะห์ฐานข้อมูล และออกแบบระบบงานที่จะนามาใช้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
4. ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน เป็ นผู้ทาหน้าที่
เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ เพื่อให้การจัดเก็บ การ
เรียกใช้ข้อมูลเป็ นไปตามความต้องการของผู้ใช้
5. ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็ นบุคลากรที่มีหน้าที่ควบคุม
และบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทั้ง
หลักการบริหารและด้านเทคนิคของระบบจัดการฐานข้อมูล
เนื่องจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทาหน้าที่เป็ นที่ปรึกษาและ
ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ ายปฏิบัติการ
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.4.5 ้ั้นตอนการปฏิบัติงาน
ในฐานข้อมูลควรมีการจัดทาเอกสารที่ระบุขั้นตอน
การทางานของหน้าที่งานต่าง ๆ ของฐานข้อมูล ทั้งในสภาวะ
ปกติและในสภาวะที่ระบบเกิดปัญหา ซึ่งเป็ นขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานเป็ นกฎระเบียบที่ใช้ควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล
ซึ่งผู้ใช้งานฐานข้อมูลต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการทางานทุก
ขั้นตอนที่อยู่ในเอกสาร เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาและข้อผิดพลาด
ในการใช้งานฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.5 ความสาคัญ้องาาน้้อมูล
การจัดข้อมูลให้เป็ นฐานข้อมูลทาให้มีข้อมูลส่วนดีกว่า
การเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้ มข้อมูล เพราะการจัดเก็บข้อมูลใน
ฐานข้อมูลจะมีส่วนที่สาคัญกว่าการจัดเก็บข้อมูลของ
แฟ้ มข้อมูล ดังนี้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.5.1 ความสาคัญ้องาาน้้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล มี
ประโยชน์ต่อองค์กร พอสรุปได้ดังนี้
1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้
2. สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
4. สามารถรักษาความถูกต้องและเชื่อถือได้ของ
ข้อมูล
5. สามารถกาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้
6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
7. มีความเป็ นอิสระของข้อมูลและโปรแกรมระบบ
จัดการ ฐานข้อมูล
8. สามารถขยายงานได้ง่าย
9. ทาให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้เร็วและมี
มาตรฐาน
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
1.5.2 ้้อเสีย้องการจัดเก็บ้้อมูลในาาน้้อมูล
ข้อเสียของการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็ นฐานข้อมูล มีดังนี้
1. มีต้นทุนสูง
2. มีความซับซ้อน
3. เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004

More Related Content

What's hot

นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานtapabnum
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมkanjana123
 

What's hot (16)

นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Slide Chapter1
Slide Chapter1Slide Chapter1
Slide Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
งานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอมงานนำเสนอ1คอม
งานนำเสนอ1คอม
 

Viewers also liked

1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์
1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์
1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์amnajmeerat
 
2 ธาตุทางทัศนศิลป์
2 ธาตุทางทัศนศิลป์2 ธาตุทางทัศนศิลป์
2 ธาตุทางทัศนศิลป์amnajmeerat
 
Using Augmented Reality for Teaching Physics.
Using Augmented Reality for Teaching Physics.Using Augmented Reality for Teaching Physics.
Using Augmented Reality for Teaching Physics.Prachyanun Nilsook
 
Chủ đề của chương
Chủ đề của chươngChủ đề của chương
Chủ đề của chươngKimdung Phanthi
 
Japan Literature
Japan LiteratureJapan Literature
Japan LiteratureMa Lovely
 
8.3 sportsmanship case study: andrew speed
8.3 sportsmanship case study: andrew speed 8.3 sportsmanship case study: andrew speed
8.3 sportsmanship case study: andrew speed Andrew Speed
 
Mmd + aneurysms ebs
Mmd + aneurysms ebsMmd + aneurysms ebs
Mmd + aneurysms ebsMQ_Library
 
English for Computer Unit 7 Maintenance and Safety
English for Computer Unit 7 Maintenance and SafetyEnglish for Computer Unit 7 Maintenance and Safety
English for Computer Unit 7 Maintenance and Safetyanchalee khunseesook
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกKruOrraphan Kongmun
 
Mega Trends Shaping Higher Education
Mega Trends Shaping Higher EducationMega Trends Shaping Higher Education
Mega Trends Shaping Higher EducationMichael Mathews
 
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la India
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la IndiaOportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la India
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la IndiaCarlos Alberto Aquino Rodriguez
 

Viewers also liked (17)

1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์
1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์
1 หลักการจัดการองค์ประกอบศิลป์
 
2 ธาตุทางทัศนศิลป์
2 ธาตุทางทัศนศิลป์2 ธาตุทางทัศนศิลป์
2 ธาตุทางทัศนศิลป์
 
Unit 4 normalazation
Unit 4 normalazationUnit 4 normalazation
Unit 4 normalazation
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Unit 3 er model
Unit 3 er modelUnit 3 er model
Unit 3 er model
 
Using Augmented Reality for Teaching Physics.
Using Augmented Reality for Teaching Physics.Using Augmented Reality for Teaching Physics.
Using Augmented Reality for Teaching Physics.
 
Chủ đề của chương
Chủ đề của chươngChủ đề của chương
Chủ đề của chương
 
2185
21852185
2185
 
Japan Literature
Japan LiteratureJapan Literature
Japan Literature
 
Mle fabricacion 2015
Mle fabricacion 2015Mle fabricacion 2015
Mle fabricacion 2015
 
8.3 sportsmanship case study: andrew speed
8.3 sportsmanship case study: andrew speed 8.3 sportsmanship case study: andrew speed
8.3 sportsmanship case study: andrew speed
 
Natural Capital, Counting it in!
Natural Capital, Counting it in! Natural Capital, Counting it in!
Natural Capital, Counting it in!
 
Mmd + aneurysms ebs
Mmd + aneurysms ebsMmd + aneurysms ebs
Mmd + aneurysms ebs
 
English for Computer Unit 7 Maintenance and Safety
English for Computer Unit 7 Maintenance and SafetyEnglish for Computer Unit 7 Maintenance and Safety
English for Computer Unit 7 Maintenance and Safety
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
Mega Trends Shaping Higher Education
Mega Trends Shaping Higher EducationMega Trends Shaping Higher Education
Mega Trends Shaping Higher Education
 
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la India
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la IndiaOportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la India
Oportunidades y desafíos del Acuerdo Comercial del Perú con la India
 

Similar to หน่วยที่ 1

นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comlovelovejung
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comLuckfon Fonew
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลApirada Prayougsab
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic newQoo Kratai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลchaiwat vichianchai
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5miwmilk
 

Similar to หน่วยที่ 1 (20)

บทที่่ 1
บทที่่ 1บทที่่ 1
บทที่่ 1
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 comนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ ม.5 เลขที่ 16 com
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Mai
MaiMai
Mai
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
Database basic new
Database basic newDatabase basic new
Database basic new
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาว มลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาว มลทิรา เอกกุล ม.5
 
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5นางสาวมลทิรา   เอกกุล ม.5
นางสาวมลทิรา เอกกุล ม.5
 

หน่วยที่ 1

  • 2. หัว้้อเรื่อง 1.1 ความหมายของฐานข้อมูล 1.2 โครงสร้างข้อมูล 1.3 ความเป็ นมาของฐานข้อมูล 1.4 องค์ประกอบของฐานข้อมูล 1.5 ความสาคัญของฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 3. แนวคิด ฐานข้อมูล เป็ นการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน อย่างเป็ นระบบ รวมไว้เป็ นฐานข้อมูลเดียว ซึ่งผู้ใช้สามารถ เรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ฐานข้อมูลช่วยลดความซ้าซ้อนของ ข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลสามารถใช้ข้อมูล ร่วมกันได้ ซึ่งองค์ประกอบของฐานข้อมูลมี 5 องค์ประกอบ คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูลบุคลากร และขั้นตอนการ ดาเนินการ แต่การมีฐานข้อมูลต้องใช้ต้นทุนสูง เสี่ยงต่อการ หยุดชะงักของระบบ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 4. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของข้อมูล ฐานข้อมูล และการจัดการ ฐานข้อมูลได้ 2. จาแนกข้อมูลตามโครงสร้างข้อมูลได้ 3. บอกความเป็ นมาของฐานข้อมูลได้ 4. บอกองค์ประกอบและหน้าที่ของฐานข้อมูลได้ 5. บอกหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลได้ 6. บอกความสาคัญของฐานข้อมูลได้ 7. สามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลได้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 5. 1.1 ความหมาย้องาาน้้อมูล ฐ า น ข ้อ มูล ห ม า ย ถึง ก า ร จ ัด เ ก็บ ข ้อ มูล ที่มี ความสัมพันธ์กันอย่างเป็ นระบบรวมไว้เป็ นฐานข้อมูลเดียว ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกใช้ข้อมูลร่วมกันได้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 6. 1.2 โครงสร้าง้้อมูล ระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ทางานโดยใช้ข้อมูลที่เป็ น รหัสของตัวเลข ตัวเลขที่ใช้เป็ นรหัสแทนข้อมูล คือ ระบบ เลขฐานสอง ซึ่งมีรหัสแทนข้อมูล 2 ตัว ได้แก่ 0 และ 1 แล้ว นาตัวเลขมาต่อเรียงกัน รหัสของเลขฐาน 2 1 หลัก = 1 บิต (BIT) รหัสของเลขฐาน 2 8 หลัก = 8 บิต (BIT) = 1 ไบต์ (BYTE) หรือ 1 แคแรกเตอร์ (CHARACTER) ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 7. 1.2.1 องค์ประกอบโครงสร้างาาน้้อมูล โครงสร้างของฐานข้อมูลจึงประกอบด้วย แคแรกเตอร์ (CHARACTER) หรือ ไบต์ (BYTE) หมายถึง ตังอักษร (A-Z,ก-ฮ) , ตัวเลข (0-9) และ สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่อยู่บนแป้ นพิมพ์ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 8. ฟิ ลด์ (FIELD) หมายถึง แคแรกเตอร์ ตั้งแต่ 1 ตัว ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน เรคอร์ด (RECORD) หมายถึง ฟิ ลด์ ตั้งแต่ 1 ฟิ ลด์ ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน ไฟล์ (FILE) หมายถึง เรคอร์ด ตั้งแต่ 1 เรคอร์ด ขึ้นไปมารวมกัน มีความสัมพันธ์กัน จากโครงสร้างข้อมูลดังกล่าว โครงสร้างของข้อมูล ที่ เล็กที่สุด คือ แคแรกเตอร์ (CHARACTER) และโครงสร้าง ของข้อมูลที่ใหญ่ที่สุด คือ ไฟล์ (FILE) แต่ยังมีโครงสร้าง ของข้อมูลที่ใหญ่กว่า ไฟล์ ก็คือ ฐานข้อมูล (DATABASE) ซึ่ง หมาย ถึง ไฟล์ ตั้งแต่ 1 ไฟล์ ขึ้นไปมารวมกัน มี ความสัมพันธ์กัน ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 9. 1.3 ความเป็ นมา้องาาน้้อมูล เป็ นเรื่องยากที่จะบอกว่าฐานข้อมูลได้ถือกาเนิดขึ้นเมื่อใด แต่มีเหตุผลที่น่าเชื่อถือได้ว่า ต้นกาเนิดของฐานข้อมูลเกิดขึ้น จากโครงการอาพอลโลของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็ นโครงการที่ ส่งมนุษย์อวกาศไปดวงจันทร์เมื่อปี พ.ศ.2511 เบื้องหลังการ จัดการระบบข้อมูลในโครงการนี้เกิดจาก การว่าจ้างบริษัท IBM ให้พัฒนาระบบการดูแลข้อมูล ที่เรียกว่า GUAM (GENERALIZED UPDATE ACCESS METHOD) ซึ่งถือ เป็ นต้นกาเนิดของระบบจัดการฐานข้อมูลในอีก 2 ปี ถัดมา IBM จึงได้พัฒนาการจัดการข้อมูลขึ้นมาใหม่ เพื่อการใช้งาน ในวงการธุรกิจทั่งไป ได้แก่ ระบบ DL/I (DATA LANGUAGE/L) พ ัฒ น า จ น ก ร ะ ทั ่ง ไ ด ้ร ะ บ บ IMS (INFORMATION MANAGEMENT SYSTEM) ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 10. นอกจากบริษัท IBM แล้วยังมีบริษัท GE (GENERAL ELECTRIC) ที่ได้พัฒนาฐานข้อมูล เช่น ระบบ IDS (INTEGRATED DATA STORE) โดยมี CHARLES BACHMAN เป็ นหัวหน้าทีม IDS เริ่มใช้งานในปี พ.ศ. 2509 และเป็ นต้นกาเนิดของระบบโคดาชิวล์ (CODASYL) หรือโมเดล แบบเน็ตเวิร์คที่ยังนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน CODSYL เกิดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2517 ซึ่งเป็ นทีมงานเดียวกับชุดที่พัฒนา ภาษาโคบอล ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกับที่ CODSYL ฉบับมาตรฐานได้รับ การบัญญัติขึ้น ดร. คอดด์ (E.F. CODD) ได้เสนอผลงานทาง วิชาการเกี่ยวกับโมเดลใหม่ ได้แก่ โมเดลเชิงสัมพันธ์ หลักทฤษฎี ของ ดร. คอดด์ได้ถูกพัฒนาโดยบริษัท IBM คือระบบ R ซึ่ง เป็ นระบบต้นแบบที่ใช้เฉพาะในห้องวิจัยเท่านั้น โดย IBM ได้ สร้างระบบ DB2 ขึ้นมาแทน เพื่อนาออกสู่งานด้านธุรกิจ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 11. 1.4 องค์ประกอบ้องาาน้้อมูล การจัดการฐานข้อมูลมักจะนาเอาระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยในการจัดเก็บข้อมูล เพื่อให้ทันต่อความต้องการในการ ใช้งาน สะดวก รวดเร็ว และถูกต้องมีความเชื่อถือได้ โดยมี ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมช่วยจัดการข้อมูล องค์ประกอบของ ฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 5 องค์ประกอบ ดังนี้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล และบุคลากร ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 12. 1.4.1 ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์รอบนอกที่ต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถจับ ต้องได้ ฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ที่มี ประสิทธิภาพ สามารถอานวยความสะดวกในการบริหาร ข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ขนาดของหน่วยความจา หลัก ความเร็วของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจา สารอง อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลและอุปกรณ์ออกรายงานต้อง รองรับการประมวลผลข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 13. 1.4.2 ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลประกอบด้วย ซอฟต์แวร์ 2 ประเภท คือ 1. ซ อฟต์แวร์ระบ บ ซึ่งเรีย กว่า ระบบจัดการ ฐานข้อมูล เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการและควบคุมดูแล การสร้าง การเรียกใช้ข้อมูล การจัดทารายงานการ ปรับเปลี่ยน แก้ไขโครงสร้าง ทาหน้าที่ในการจัดการ ฐานข้อมูลโดยจะเป็ นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้และโปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 14. 2. ซอฟต์แวร์ใช้งาน เป็ นโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ เครื่องมือต่าง ๆ ของระบบจัดการฐานข้อมูล ในการทางาน เฉพาะอย่าง โปรแกรมใช้งานนี้ถูกเขียนโดยใช้ภาษาระดับสูงที่ สามารถติดต่อสื่อสารกับระบบจัดการฐานข้อมูลได้ เช่น ภาษา SQL, VISUAL BASIC เป็ นต้น ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 15. 1.4.3 ้้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูลควรเก็บรวบรวม แฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดความ ซ้าซ้อนของข้อมูลที่จะถูกเก็บในแฟ้ มข้อมูลต่าง ๆ ให้มากที่สุด เท่าที่จะสามารถทาได้ ซึ่งผู้ใช้หลายคนสามารถเรียกใช้หรือดึง ข้อมูลชุดเดียวกันได้ ณ เวลาเดียวกัน หรือต่างเวลากันได้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 16. 1.4.4 บุคลากร บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการฐานข้อมูล มีดังนี้ 1. ผู้ใช้ทั่วไป เป็ นบุคลากรที่ใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล เพื่อให้งานสาเร็จลุล่วงได้ 2. พนักงานปฏิบัติการ เป็ นผู้ปฏิบัติการด้านการ ประมวลผล การป้ อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ เป็ นบุคลากรที่ทา หน้าที่วิเคราะห์ฐานข้อมูล และออกแบบระบบงานที่จะนามาใช้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 17. 4. ผู้เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน เป็ นผู้ทาหน้าที่ เขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ เพื่อให้การจัดเก็บ การ เรียกใช้ข้อมูลเป็ นไปตามความต้องการของผู้ใช้ 5. ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็ นบุคลากรที่มีหน้าที่ควบคุม และบริหารทรัพยากรฐานข้อมูลขององค์กร ควรมีความรู้ทั้ง หลักการบริหารและด้านเทคนิคของระบบจัดการฐานข้อมูล เนื่องจากผู้บริหารฐานข้อมูลจะทาหน้าที่เป็ นที่ปรึกษาและ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ ายปฏิบัติการ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 18. 1.4.5 ้ั้นตอนการปฏิบัติงาน ในฐานข้อมูลควรมีการจัดทาเอกสารที่ระบุขั้นตอน การทางานของหน้าที่งานต่าง ๆ ของฐานข้อมูล ทั้งในสภาวะ ปกติและในสภาวะที่ระบบเกิดปัญหา ซึ่งเป็ นขั้นตอนการ ปฏิบัติงานเป็ นกฎระเบียบที่ใช้ควบคุมการใช้งานฐานข้อมูล ซึ่งผู้ใช้งานฐานข้อมูลต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการทางานทุก ขั้นตอนที่อยู่ในเอกสาร เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาและข้อผิดพลาด ในการใช้งานฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 19. 1.5 ความสาคัญ้องาาน้้อมูล การจัดข้อมูลให้เป็ นฐานข้อมูลทาให้มีข้อมูลส่วนดีกว่า การเก็บข้อมูลในรูปของแฟ้ มข้อมูล เพราะการจัดเก็บข้อมูลใน ฐานข้อมูลจะมีส่วนที่สาคัญกว่าการจัดเก็บข้อมูลของ แฟ้ มข้อมูล ดังนี้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 20. 1.5.1 ความสาคัญ้องาาน้้อมูล การจัดเก็บข้อมูลโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล มี ประโยชน์ต่อองค์กร พอสรุปได้ดังนี้ 1. สามารถลดความซ้าซ้อนของข้อมูลได้ 2. สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ 3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 4. สามารถรักษาความถูกต้องและเชื่อถือได้ของ ข้อมูล 5. สามารถกาหนดความเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ 6. สามารถกาหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 21. 7. มีความเป็ นอิสระของข้อมูลและโปรแกรมระบบ จัดการ ฐานข้อมูล 8. สามารถขยายงานได้ง่าย 9. ทาให้ข้อมูลบูรณะกลับสู่สภาพปกติได้เร็วและมี มาตรฐาน ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004
  • 22. 1.5.2 ้้อเสีย้องการจัดเก็บ้้อมูลในาาน้้อมูล ข้อเสียของการจัดเก็บข้อมูลรวมเป็ นฐานข้อมูล มีดังนี้ 1. มีต้นทุนสูง 2. มีความซับซ้อน 3. เสี่ยงต่อการหยุดชะงักของระบบข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล รหัสวิชา 3204-2004