SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แบบแผนการสุ่มตัวอย่าง
แบบแผนการสุ่มตัวอย่าง
ในการสุ่มตัวอย่างจากประชากรอาจแบ่งได้ ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ
◼ การสุ่มตัวอย่างชนิดที่ไม่ทราบโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่แต่ละหน่วยถูก
เลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่าง (Non – probability sampling)
◼ การสุ่มตัวอย่างชนิดที่ทราบโอกาส หรือความน่าจะเป็นที่แต่ละหน่วยถูกเลือก
ขึ้นมาเป็นตัวอย่าง (Probability sampling)
◼ การสุ่มตัวอย่างชนิดที่ไม่ทราบโอกาส
- ไม่สามารถวัดควาถูกต้องหรือความเชื่อถือได้ของค่าประมาณจากตัวอย่าง
นั้น ๆ ใช้ได้ผลดีในกรณีที่ลักษณะของสิ่งที่ศึกษาพบได้น้อยในประชากร และ
ในกรณีที่ไม่สามารถกาหนดกรอบของหน่วยศึกษาได้
- การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า (Quota sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบบอลล์หิมะ (Snowball sampling)
◼ การสุ่มตัวอย่างชนิดที่ทราบโอกาส
- สามารถกาหนดได้ว่าหน่วยแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสเท่าใดที่จะถูก
เลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่าง โดยโอกาสที่แต่ละหน่วยประชากรเป้าหมายจะถูก
เลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่างต้องเท่ากัน
- การสุ่มกระจายแบบง่าย (Simple random sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified sampling)
- การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling)
การสุ่มตัวอย่าง
ชนิดไม่ทราบความน่าจะเป็ น
(Non – probability sampling)
การสุ่มตัวอย่างชนิดไม่ทราบความน่าจะเป็ น
 การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ
- เลือกหน่วยประชากรขึ้นมาโดยไม่ได้ตั้งใจ
- หน่วยประชากรที่เราต้องการจะเป็ นใครก็ได้ที่สามารถให้ข้อมูลได้
ข้อเสีย ; อาจทาให้ได้ตัวอย่างที่ไม่สามารถใช้เป็ นตัวแทนประชากร
เป้าหมายได้ เช่น ต้องการประชากรเป้าหมายเพศชายและเพศหญิงใน
สัดส่วนที่เท่ากัน แต่การสุ่มด้วยวิธีนี้อาจได้ตัวอย่างที่เป็ นเพศชายมากกว่า
เพศหญิง
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
ผลกระทบของราคาน้ามัน
ที่มีต่อประชาชนในกรุงเทพฯ
ร้านค้า
ตลาดสด
ป้ายรถเมล์
สถานที่ทางาน
กรุงเทพมหานคร
ฯลฯ
การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling)
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบโควต้า
- การสุ่มตัวอย่างโดยการกาหนดสัดส่วนและจานวนตัวอย่างของ
ประชากรที่มีคุณสมบัติบางประการที่ต้องการจะเก็บข้อมูล
- จากนั้นจึงเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวอย่างให้ได้ตามจานวนที่กาหนดไว้
ในแต่ละกลุ่ม
ข้อเสีย : อาจประสบความยุ่งยากในการระบุคุณลักษณะของ
ประชากรที่ใช้ในการกาหนดจานวนตัวอย่าง
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
คณะ จานวน
นักศึกษา
สัดส่วน จานวนตัวอย่าง
วิทยาการจัดการ 2,200 40% 0.40 400 = 160
ครุศาสตร์ 1,375 25% 0.25 400 = 100
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 1,100 20% 0.20 400 = 80
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 825 15% 0.15 400 = 60
5,500 100% 400
1. แบ่งประชากรเป้าหมายเป็ นกลุ่ม ๆ 2. กาหนดโควต้า 3. หาจานวนตัวอย่าง
ในแต่ละกลุ่ม
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
- การสุ่มตัวอย่างโดยการใช้ดุลยพินิจของผู้วิจัยเอง
- ปกติจะใช้วัตถุประสงค์บางประการของการวิจัยเป็ นเครื่องช่วยตัดสิน
- ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญ
ข้อเสีย : การสุ่มตัวอย่างวิธีนี้มีโอกาสที่จะพลาดได้เสมอ หากไม่คุ้นเคยกับ
ประชากรทั้งหมดที่จะสุ่มตัวอย่างออกมาเป็ นตัวแทน
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
◼ การสุ่มตัวอย่างแบบบอลล์หิมะ
- ในบางครั้งหน่วยที่จะศึกษายากแก่การเข้าถึง
- เริ่มต้นจากการพยายามหาตัวอย่างแรกให้ได้
- ขอความร่วมมือจากตัวอย่างแรกในการแนะนาตัวอย่างต่อ ๆ ไป
- สารวจไปเรื่อยจากตัวอย่างแรก จนได้จานวนตัวอย่างตามที่ต้องการ
ข้อเสีย : อาจประสบปัญหาในการขอความร่วมมือเพื่อหาตัวอย่างที่มี
คุณสมบัติตามเป้าหมายของการวิจัย
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com
1
2
3
4
… n
ตัวอย่างที่ 1
ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างที่ 3
จานวน n ตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่างแบบบอลล์หิมะ (Snowball sampling)
@iamthesis Email: thesisonline99@gmail.com

More Related Content

More from iamthesisTH

More from iamthesisTH (20)

Qualitative research error3
Qualitative research error3Qualitative research error3
Qualitative research error3
 
Qualitative research error2
Qualitative research error2Qualitative research error2
Qualitative research error2
 
Qualitative research error1
Qualitative research error1Qualitative research error1
Qualitative research error1
 
Probability sampling with known types
Probability sampling with known typesProbability sampling with known types
Probability sampling with known types
 
Reliability
ReliabilityReliability
Reliability
 
Questionnaire procedure
Questionnaire procedureQuestionnaire procedure
Questionnaire procedure
 
Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4Questionnaire and interview1 4
Questionnaire and interview1 4
 
Quantitative research process
Quantitative research processQuantitative research process
Quantitative research process
 
Qualitative research process2
Qualitative research process2Qualitative research process2
Qualitative research process2
 
Organizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinseyOrganizational management concepts 7s mc kinsey
Organizational management concepts 7s mc kinsey
 
Organizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4MOrganizational management concepts 4M
Organizational management concepts 4M
 
Measurement and data presentation
Measurement and data presentationMeasurement and data presentation
Measurement and data presentation
 
Master in research design
Master in research designMaster in research design
Master in research design
 
Interview format
Interview formatInterview format
Interview format
 
Hypotheses
HypothesesHypotheses
Hypotheses
 
Examination of research tools3
Examination of research tools3Examination of research tools3
Examination of research tools3
 
Examination of research tools2
Examination of research tools2Examination of research tools2
Examination of research tools2
 
Examination of research tools1
Examination of research tools1Examination of research tools1
Examination of research tools1
 
Outline
OutlineOutline
Outline
 
Organizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorbOrganizational management concepts posdcorb
Organizational management concepts posdcorb
 

Sampling pattern - unknown