SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ประวัติความเป็นมา
และ
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยพายัพ
มหาวิทยาลัยพายัพแห่งความภาคภูมิใจ
มหาวิทยาลัยพายัพ
ก่อตั้งขึ้น
บนพื้นฐานของคริสต์ศาาสนา
โดยความรัก
ขององค์พระเยซูคริสต์เจ้า
ในปี พ.ศา. 2383 มิชชันนารีคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียนมิชชั่น เข้ามาประกาศา
เผยแพร่ในกรุงเทพฯ ต่อมาจึงได้ออกไปประกาศาที่จังหวัดเพชรบุรี
และในปี พ.ศา. 2410 ได้เข้ามาถึงจังหวัดเชียงใหม่
ในปี พ.ศา.2432 มีการก่อตั้งโรงเรียนพระคริสตธรรมแมคกิลวารี
ในปี พ.ศา. 2466
ได้ก่อตั้งโรงเรียนพยาบาลผดุงครรภ์และอนามัยแมคคอร์มิคขึ้น
ประวัติการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพายัพ
ในปี พ.ศา. 2455-2456 คณะมิชชั่นได้ยื่นข้อเสนอการก่อตั้งมหาวิทยาลัยไปยัง
คณะกรรมาธิการต่างประเทศา (Board of Foreign Mission) ของประเทศา
สหรัฐอเมริกา แต่ได้รับคาตอบว่ายังไม่พร้อมให้การสนับสนุน
ต่อมาเมื่อคณะกรรมาธิการต่างประเทศาของประเทศาสหรัฐอเมริกา
พร้อมให้การสนับสนุนก็พบว่าติดปัญหากับทางรัฐบาลไทยเพราะนโยบายของ
รัฐบาลไทยในขณะนั้นไม่สนับสนุนให้เอกชนจัดตั้งสถาบันอุดมศาึกษาในประเทศาไทย
ปี พ.ศา. 2477 คณะมิชชั่นส่งมอบกิจการต่างๆ
ให้มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศาไทยดูแล
รวมทั้งการสานต่อเจตนารมณ์ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยคริสเตียนที่จังหวัด
เชียงใหม่ด้วย
ปี พ.ศา. 2513
มีการตั้งคณะกรรมการเพื่อดาเนินการขอจัดตั้งวิทยาลัยคริสเตียนขึ้นที่จังหวัด
เชียงใหม่
Founded May 1889 (2432)
โรงเรียนพระคริสตธรรมแมคกิลวารี
โรงเรียนผดุงครรภ์และอนามัยแมคคอร์มิค
Founded May 1923 (2466)
ในการประชุมเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2514
ได้มีมติให้ใช้ชื่อวิทยาลัยที่จะขอจัดตั้งขึ้นว่า “วิทยาลัยคริสเตียนพายัพ”
วันที่ 21 มีนาคม 2517กระทรวงศาึกษาธิการได้ออกใบอนุมัติการจัดตั้งวิทยาลัย
พายัพแก่มูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศาไทย
รวมระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการทั้งหมด 3 ปี 8 เดือน 13 วัน
วิทยาลัยพายัพเปิดสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2517
มีนักศาึกษาในปีเริ่มแรก จานวน 201 คน บุคลากร 37 คน
โดยเปิดสอนสาขาวิชาต่างๆ จานวน 8 สาขาวิชา โดยไม่แยกคณะวิชา
ดังต่อไปนี้
1. สาขาวิชาภาษาไทย
2. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
3. สาขาวิชาดุริยศาิลป์
4. สาขาวิชาประวัติศาาสตร์
5. สาขาวิชาปรัชญาและศาาสนา
6. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
7. สาขาวิชาการบริหารงานบุคคล
8. สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรอนุปริญญาพยาบาลและ
อนามัยและหลักสูตรประกาศานียบัตรผดุงครรภ์)
ปี พ.ศา.2527 ได้รับการยกสถานภาพขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย
นับเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศาไทย
ผู้บริหารสูงสุด
นายแพทย์พิพัฒน์ ตรังรัฐพิทย์
ผู้อานวยการ
(มิถุนายน 2517 – สิงหาคม 2520)
ดร.อานวย ทะพิงค์แก
ผู้อานวยการ อธิการ อธิการบดี
(กันยายน 2520 – พฤษภาคม 2539)
ดร.บุญทอง ภู่เจริญ
อธิการบดี
(มิถุนายน 2539 – พฤษภาคม 2549)
ศาาสนาจารย์ ผู้ช่วยศาาสตราจารย์ ดร.ประดิษฐ์ เถกิงรังสฤษดิ์
อธิการบดี
มิถุนายน 2549 – พฤษภาคม 2555
รองศาาสตราจารย์ ดร.เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์
รักษาการอธิการบดี
มิถุนายน 2555 - ปัจจุบัน
สถานที่ตั้งและอาณาเขตของมหาวิทยาลัย
เขตแม่คาว
เขตแก้วนวรัฐ
เขตธารแก้ว
ปณิธานและคาขวัญของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยพายัพเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของประเทศาไทย
จัดตั้งขึ้นโดยมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศาไทย
เพื่อแสดงถึงความรักของพระเจ้า ความเชื่อ ความศารัทธาของมนุษย์
ต่อพระเจ้าและความเกื้อกูลซึ่งกันและกันของมนุษยชาติ
ผู้ที่ได้ศาึกษาในมหาวิทยาลัยพายัพ จะต้องรู้จักพัฒนาตนเอง
มีความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความประพฤติดีงาม
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
และมีความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้ที่ได้ศาึกษาในมหาวิทยาลัยพายัพ จะต้องรู้จักพัฒนาตนเอง
มีความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความประพฤติดีงาม
มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
และมีความสามารถในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยพายัพ
เป็นรูปวงกลม 3 วงเชื่อมด้วยวงกลมตรงกลาง
2. ตะเกียง แสดงถึง
วิทยาศาาสตร์
1. ไม้กางเขน แสดงถึง
ศาาสนา
3. พิณ แสดงถึง
ศาิลปศาาสตร์
4. วงกลมตรงกลางเป็น
รูปมนุษย์
ดอกไม้ประจามหาวิทยาลัย
ดอกบุนนาคมีลักษณะที่ดี ดังนี้
1. มีสีขาวบริสุทธิ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ ความสะอาด หมดจด คุณงามความดี
2. มีกลิ่นหอม ทาให้เกิดความพึงพอใจ เป็นสัญลักษณ์ของการขจายขจรชื่อเสียง
3. มีลักษณะเป็ นรูปฉัตร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของเกียรติศาักดิ์อันสูงส่ง คือคุณค่า
แห่ง
ชีวิต
ต้นบุนนาคเป็นต้นไม้ใหญ่ มีอายุยืน
หลายประเทศารวมทั้งประเทศาไทยถือ
ว่าเป็นไม้มงคล
1. มีสรรพคุณทางรักษาโรค เป็น
สัญลักษณ์การรักษาความ
เจ็บปวดทั้งกายและใจซึ่ง
หมายถึง ความรู้และสัจจะที่
บัณฑิต ของ มหาวิทยาลัยพายัพ
ได้รับควรจะเป็นยาที่สามารถ
รักษาความเจ็บป่วยของสังคม
หรือผู้อื่น สามารถที่จะสมาน
น้าใจของผู้มี ความทุกข์ยาก
2. เป็ นต้นไม้ที่เลี้ยงยาก ต้องทะนุ
ถนอมเป็นอย่างดีจึงจะ
เจริญเติบโต จึงได้เป็นสัญลักษณ์
ของการท้าชวนและท้าทาย
สีประจามหาวิทยาลัย คือสีฟ้ าและขาว
ธงประจามหาวิทยาลัย
เกี่ยวกับเพลง “สัจจะและบริการ”

More Related Content

What's hot

ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
sirikase
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
JulPcc CR
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
chonlataz
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
kwanboonpaitoon
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
timtubtimmm
 
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมียซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
Visanu Khumoun
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
Thaiway Thanathep
 

What's hot (20)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
วิวัฒนาการของศิลปะไทย ร7-ร 9
 
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
ความหมายของสุนทรียศาสตร์-สุนทรียภาพ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมียซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
ซิกกูแรตแห่งอารยธรรมดมโสโปเตเมีย
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบทคัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ถอดความบางบท
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยาการค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
การค้าและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 

บทที่ 1 ประวัติมหาวิทยาลัยพายัพ