SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
วิชาภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เรื่อง
คาในภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ
ครูมาณี ปรักมานนท์
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๘
จุดประสงค์
1. เพื่อให้นักเรียนรู้ที่มาของคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
2. เพื่อให้นักเรียนสามารถแยกคาที่มาจากภาษาต่างประเทได้
สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
การติดต่อสัมพันธ์กันทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ด้วย
สาเหตุหลายประการ พอสรุปได้ดังนี้
1สภาพภูมิศาสตร์ คือ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่าง ๆ ได้แก่ พม่า
ลาว เขมร มาเลเซีย จึงทาให้คนไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไป
มาหาสู่กันและมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน จึงมีการแลกเปลี่ยนภาษากัน เช่น คน
ไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ก็จะสามารถสื่อสารด้วยภาษาเขมร
ได้คนไทยที่อยู่ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รับเอาภาษามาลายูเข้ามา
ใช้เป็นต้น
2.ประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการ
อพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่นอาศัยปัจจุบัน ซึ่งแต่เดิมมีชนชาติ
อื่นอาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า มอญ หรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติ
อื่น มีการกวาดต้อนเชลยศึกและประชาชน พลเมืองชนชาติอื่น ๆ ให้มาอาศัย
อยู่ในประเทศไทย ผู้คนเหล่านี้ได้นาถ้อยคาภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปน
กับภาษาไทยด้วย
3.ศาสนา คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน เมื่อนับถือ
ศาสนาใดก็ย่อมได้รับถ้อยคาภาษาที่ใช้ในคาสอน หรือคาเรียกชื่อต่าง ๆ
ในทางศาสนาของศาสนานั้น ๆ มาปะปนอยู่ในภาษาไทยด้วย เช่น ศาสนา
พราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้
ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้ภาษาอังกฤษ ดังนั้นภาษาต่าง ๆ ที่ใช้
ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วย
4.การค้าขาย จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อค้าขาย
แลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาว
โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุ่น ทาให้มีถ้อยคาในภาษาของชน
ชาตินั้น ๆ เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเป็นจานวนมาก ตลอดเวลาไม่มีวันสิ้นสุด
5.วรรณคดี วรรณคดีอินเดียที่ไทยนาเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์รามายณะ และ มหาภา
รตะ แต่งขึ้นเป็นภาษาสันสกฤต อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องดาหลัง
ของชวา ด้วยเหตุนี้วรรณคดีทาให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย
6.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์
ติดต่อกับชนชาติไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนาเอา
วัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติ
ในสังคมไทย นาน ๆ เข้าถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณีเหล่านั้น
ก็กลายมาเป็นถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคนไทยมากขึ้น
7.การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการที่คนไทยเดินทางไปศึกษายัง
ต่างประเทศ ทาให้ได้ใช้และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอาวิทยาการต่าง ๆ เมื่อ
สาเร็จการศึกษา จึงนาภาษาของประเทศนั้นมาใช้ปะปนกับภาษาของตน
เช่น ภาษาอังกฤษ ในปัจจุบันประเทศไทยกาลังเตรียมความพร้อมด้าน
การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล โดยการจัด
การศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมประเทศสมาชิกสมาคม
อาเซียนและภาษาที่สามารถสื่อสารกันในสากลโลก ดังนั้นการหลั่งไหลของ
ภาษาต่าง ๆ ที่จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยก็จะเพิ่มมากขึ้น
8.ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ
โยกย้ายหรือในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิม
หรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
9.อพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น
สภาพเศรษฐกิจต้องไปประกอบอาชีพยังประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม
การเมืองการปกครอง
อิทธิพลของการยืมคาจากภาษาต่างประเทศ
การยืมคาภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย มีอิทธิพลทาให้ลักษณะของภาษาไทย
เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะดั้งเดิม ดังนี้
1. คามีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด เป็นคาพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก
เช่น เดิน ตาม หมา เมือง เดือน ดาว เป็นต้น เมื่อมีการยืมคา
ภาษาต่างประเทศมาใช้ ทาให้ภาษาไทยเปลี่ยนไป ดังนี้
1.1 มีคาสองพยางค์ เช่น ถนน ราชา บิดา มารดา มาตรา สามารถ เป็นต้น
1.2 มีคาสามพยางค์ เช่น โทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน กรณี โทรทัศน์
ปรารถนา เป็นต้น
1.3 มีคามากพยางค์ เช่น พลานามัย สาธารณะ มหาวิทยาลัย เป็นต้น
2. มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น ภาษาไทยคาพยางค์เดียวส่วนใหญ่จะไม่มีคาที่มีพยัญชนะ
ควบกล้า เมื่อยืมคาต่างประเทศมาใช้ ทาให้มีคควบกล้าจานวน
มาก เช่น ฟรี ดรีม ปลูก โปรด
เบรก เกรด เคลียร์ สปริง ดรอพ เครดิต คลินิก จันทรา ทฤษฎี
ศาสตรา ปรารถนา แทรคเตอร์เอ็นทรานซ์ ดรัมเมเยอร์
3. มีคาไวพจน์ใช้มากขึ้น ทาให้มีคาศัพท์มีความหมายเหมือนกันเพิ่มขึ้น ซึ่งสะดวก
และสามารถเลือกใช้คาได้เหมาะสมกับความต้องการ เช่น นก (สกุณา สุโหนก วิหค
ปักษา) ม้า (พาชี อาชา สินธพ) ผู้หญิง (สตรี นารี อิตถี กัญญา) ช้าง (หัตถี คชสาร
กุญชร กรี) ดวงอาทิตย์ (สุริยา ตะวัน ไถง อุทัย) ดอกไม้ (สุมาลี ผกา บุษบา) เป็นต้น
4. ภาษาไทยมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ซึ่งแต่เดิมภาษาไทยมีลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง
คือ มีการสะกดคาตามมาตราแม่สะกด เมื่อได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ คา
ส่วนใหญ่สะกดไม่ตรงตามมาตรา
เดิม เช่น เทนนิส กอล์ฟ ฟุตบอล ราษฎร รัฐบาล ผนวช ครุฑ เป็นต้น
5. ทาให้โครงสร้างของภาษาไทยเปลี่ยนไป จากข้อสังเกต ดังนี้
5.1 ไม่ใช้ลักษณนามซึ่งตามปกติแล้วลักษณนามจะเกิดหลังจานวนนับ เช่น นักศึกษา 2 คน พระภิกษุ
2 รูป เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาต่างประเทศที่ไทยยืมคามาใช้ไม่มีลักษณนาม เช่น ภาษาอังกฤษ เป็นต้น จึงทาให้
ภาษาไทยใช้ลักษณนามผิดไปด้วย เช่น สองนักกีฬาได้รับ ชัยชนะ ประกาศปิด ห้าสิบสาม ไฟแนนซ์ เป็นต้น
5.2 ใช้คาและสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนมากจะเป็นคาและสานวนจากภาษาอังกฤษ เช่น นวนิยาย
เรื่องนี้เขียนโดยทมยันตี เขาได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น เขาบินไปต่างประเทศเพื่อทาธุรกิจ เป็นต้น
5.3 ใช้คาภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่บางคามีคาในภาษาไทยใช้ บางคนมีรสนิยมพูด
ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษปนกับภาษาไทย เช่น ผมไม่แคร์ (care) เรื่องนี้ดิฉัไม่มายด์
(mind) หรอกค่ะ เขาไม่เคลียร์ (clear) ในเรื่องนี้ ฉันมีโปรเจค (project) ในการพัฒนา
มหาวิทยาลัย เป็นต้น การรับภาษาต่างประเทศมา ใช้สื่อสารในภาษาไทย มีทั้งข้อดีและข้อเสีย คนไทยทุกคน
พึงควรระมัดระวัง ในการนาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ ที่คนไทยใช้
ติดต่อสื่อสารมา เป็นเวลาอันยาวนาน การยืมคาภาษาต่างประเทศ เข้ามาใช้โดยวิธีการทับศัพท์ ควรใช้เฉพาะ
คาที่จาเป็นเท่านั้น คาใดมีคาไทยใช้หรือมีศัพท์บัญญัติใช้แล้ว ก็ไม่ควรนาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้อีก และควร
เรียงเรียงถ้อยคาเข้าประโยคเพื่อใช้ ในการสื่อสารตามรูปแบบของภาษาไทย
1. ภาษาบาลี
ภาษาบาลีเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษามีวิภัตติ
ปัจจัย คือจะต้องเปลี่ยนรูปคาตามเพศ พจน์ หรือกาล ภาษาบาลีมีถิ่นกาเนิดในแคว้น
มคธ ประเทศอินเดีย บางทีจึงเรียกว่าภาษามคธ เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเพราะ
สาเหตุจากการยอมรับนับถือศาสนาพุทธของคนไทยเป็นสาคัญ
ตัวอย่างคาภาษาบาลีในภาษาไทย
• บาป บุญ ปัญญา พยากรณ์ ปฏิกิริยา
ปฏิกูล พยาบาท พายุ พิพาท ภาคี
มงคล มติ มิจฉาชีพ รถ สาหัส สุข
สุสาน หทัย เหมันต์ อคติ อดีต อนุมัติ
2. ภาษาสันสกฤต
ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษ
มีวิภัตดิปัจจัยเช่นเดียวกับภาษาบาลี ชาวอินเดียถือว่าภาษาสันสกฤตเป็นภาษาชั้นสูง
คัมภีร์ และบทสวด ต่าง ๆ มักจะจารึกเป็นภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเข้ามา
ปะปนอยู่ใน ภาษาไทยเพราะคนไทย เคยยอมรับนับถือศาสนาพราหมณ์ ซึ่งบันทึก
คาสอนด้วย ภาษาสันสกฤตมาก่อน แม้จะยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนา
ประจาชาติแล้วก็ตาม แต่คนไทยก็ยังยึดถือปฏิบัติในพิธีกรรมบางอย่าง ของ
ศาสนาพราหมณ์มาจนถึงปัจจุบัน คนไทยจึงศึกษาภาษาบาลี และภาษา
สันสกฤตควบคู่กันไป
ตัวอย่างคาภาษาสันสกฤตในภาษาไทย
กัลป์ กุศล กัลปาวสาน โกรธ คณาจารย์ เคารพ
เคหสถาน โคตร โฆษก โฆษณา จรรยา โจรกรรม
ชัชวาล ตรี, ไตร ดนตรี ทรัพย์
3. ภาษาเขมรในภาษาไทย
ภาษาเขมรเป็นภาษาคาโดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คาดั้งเดิมส่วนใหญ่
เป็น คาพยางค์เดียวและเป็นคาโดด ถือเอาการเรียงคาเข้าประโยคเป็น
สาคัญเช่นเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทย
ไทยกับเขมรมีความสัมพันธ ์์กันมาเป็นเวลาอันยาวนาน จึงทาให้มีการหยิบ
ยืมถ้อยคาภาษา ของกันและกัน ไทยยืมคาภาษาเขมรมาใช้เป็นจานวน
มาก ภาษาเขมรนอกจากจะใช้กันในประเทศกัมพูชาแล้ว ยังใช้กันในบรรดา
คนไทยเชื้อสายเขมรทางจังหวัดต่าง ๆ บางจังหวัดทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วย คาเขมาเข้าสู่
ภาษาไทยโดยทางการเมือง ทางวัฒนธรรมและทางภูมิศาสตร์ เรายืมคา
เขมรมาใช้โดยการทับศัพท์ ทับศัพท์เสียงเปลี่ยนไป และเปลี่ยนเสียงเปลี่ยน
ความหมาย
• ตัวอย่างภาษาเขมรในภาษาไทย
กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ
กระเพาะ รัญจวน ลออ สกัด สนอง
สนุก สดับ สบง สังกัด สไบ
สาราญ สรร สาโรง แสวง แสดง
กาแพง กาลัง ขนาน ขจี โขมด
จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดย
ทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ
ประจาน โปรด เผด็จ ผจญ, ผจัญ เผอิญ
เผชิญ เพ็ญ เพลิง เพนียด ระลอก
4. ภาษาจีนในภาษาไทย
ภาษาจีนมีรูปลักษณะภาษาเป็นภาษาคาโดด เช่นเดียวกับภาษาไทย ไม่มี
เสียงควบกล้า มีเสียงสูงต่า มีการสร้างคาขึ้นมาใช้ใหม่ มีโครงสร้าง
ประโยคเช่นเดียวกัน การเรียงลาดับคาเข้าประโยคก็เช่นเดียวกับ
ภาษาไทย ต่างกันแต่ว่าภาษาจีนเอาคุณศัพท์ไว้หน้านาม เอากริยา
วิเศษณ์ไว้หน้ากริยาและมีเงื่อนไขอื่น ๆ อีกและมีลักษณะนาม ประเทศ
จีนมีเนื้อที่กว้างใหญ่ไพศาล ภาษาจีนจึงแตกต่างกันไปอย่างมาก จน
กลายเป็นภาษาถิ่นต่าง ๆ ที่สาคัญคือ ภาษากวางตุ้ง ภาษาจีน
แคะ ภาษาฮกเกี้ยน ภาษาแต้จิ๋ว ภาษาไหหลา ภาษาเซียงไฮ้ และ
ภาษานิงโปหรือเลี่ยงโผ และภาษาจีนกลาง ซึ่งเป็นภาษาราชการ
ปัจจุบันนิยม เรียกว่า “ภาษาแมนดา-ริน”
• ตัวอย่างภาษาจีนในภาษาไทย
ก๊ก กงสี กงเต๊ก กวยจั๊บ กุ๊ย กวางตุ้ง กุยช่าย กาน้า กุยเฮง กะหล่า
• เก๊ เกี้ยมไฉ่ เกาเหลา เกี้ยว ขงจื้อ ขึ้นฉ่าย จับยี่กี โจ๊ก จับฉ่าย
• เจ เจ๊า เฉาก๊วย ซวย เซียน ซาลาเปา เซียมซี ซินแส แซ่
• เซ้ง แซยิด ตงฉิน เต้าเจี้ยว ตังเก เต้าส่วน ตั๋ว เต้าหู้ยี้ ตั้วโผ
• เต้าฮวย ไต๋ ไต้ก๋ง ถัว ทู่ซี้ บ๊วย บะหมี่ แบไต๋
• ปุ้งกี๋ เปาะเปี๊ยะ แป๊ะซะ โพย ยี่ห้อ เย็นตาโฟ
• ลิ้นจี่ โสหุ้ย สาลี่ ห้าง หุ้น อั้งยี่ อั้งโล่ เอี๊ยม
• ฮวงซุ้ย
5. ภาษามลายูในภาษาไทย
ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซีย จัดเป็น
ภาษาคาติดต่อ (Agglutinative Language) อยู่ในตระกูล
ภาษาชวา-มลายู มีวิธีการสร้างคาใหม่โดยวิธีเอาพยางค์มาต่อเติมคา
ทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คาในภาษามลายูส่วนใหญ่
จะมีสองพยางค์และสามพยางค์ มาเลเซียกับไทยเป็นประเทศ ที่มีเขต
แดนติดต่อกัน จึงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมา เป็นเวลานาน ภาษา
มาลายูเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยมากพอสมควร โดยเฉพาะในสี่
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ
สตูล ยังคงใช้ภาษามลายูสื่อสารในชีวิต ประจาวันอยู่เป็นจานวนมาก
ตัวอย่างคาภาษามลายูในภาษาไทย
• ตัวอย่างคาภาษามลายูในภาษาไทย
• กรง กระดังงา กระจง กะพง กระจูด
• กะละปังหา กระแชง กะลาสี กะลุมพี กายาน
กาปั่น กุญแจ จับปิ้ง จาปาดะ ตลับ
• ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด สละ
• สลัก สลาตัน สลัด สุจหนี่ โสร่ง
• หนัง
6. ภาษาชวาในภาษาไทย
ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาคาติดต่อ อยู่ในตระกูลเดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาที่ไทย
ยืมมาใช้ส่วนมาก เป็นภาษาเขียน ซึ่งรับมาจากวรรณคดี เรื่อง อิเหนา เป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคาภาษาเหล่านี้ใช้
สื่อสารในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคาที่นามาใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน
ตัวอย่างคาภาษาชวาในภาษาไทย
• กระจับปี่ การะบุหนิง กระยาหงัน กิดาหยัน จินดาหนา
• จินดาหรา ซ่าโบะ ซ่าหริ่ม ดะหมัง ดาหงัน
• ดาลัด ติกาหลัง ตุนาหงัน นากาสาหรี บายสุหรี
• บุษบามินตรา บุหงัน บุหงาราไป บุหงาประหงัน บุหรง
• บุหลัน ปะตาระกาหลา ปะตาปา ปะหนัน ปั้นเหน่ง
• ปาตี พันตุ มะงุมมะงาหรา มะตาหะรี มิรันตี
• มาลาตี ยาหยี ยิหวา ระตู ระเด่น
• วิรงรอง, วิรังรอง สะการะ สะตาหมัน สะการะตาหรา หวันยิหวา
• อสัญแดหวา อังกะลุง
7. คายืมจากภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่วโลก การที่ไทย
ติดต่อค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร.3 ไทยเริ่มมีการยืมคาจากภาษาอังกฤษมา
ใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจนเจ้านายและข้าราชการที่ได้ศึกษา
ภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทาให้ภาษาอังกฤษเข้ามามี
บทบาทในภาษาไทยมากขึ้น ร.4 ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษาภาษาอังกฤษมากด้วย
ประมวลคายืมจากภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อย
กราฟ (graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปร
เทียบกับตัวแปรอื่น
ก๊อก (cork) เครื่องปิด-เปิดน้าจากท่อ หรือภาชนะบรรจุน้า
กอซ (gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล
ก๊อปปี้(copy) กระดาษที่ใช้ทาสาเนา
กอล์ฟ (golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื้นที่ขวางกั้น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่
กาหนด
กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย
กะละแม (caramel) ชื่อขนมทาด้วยข้าวเหนียว กะทิ และน้าตาลกวนจนเหนียวเป็นสีดา
กัปตัน (captain) นายเรือ
ก๊าซ (gas) อากาศธาตุ
การ์ด (card) บัตร, บัตรเชิญ
การ์ตูน (cartoon) ภาพล้อ, ภาพตลก บางทีเขียนติดต่อกันเป็นเรื่องยาว
กีตาร์ (guitar) เครื่องดีดทารูปคล้ายซอฝรั่งมี 6 สายใช้มีอดีต
กุ๊ก (cook) พ่อครัวทากับข้าวฝรั่ง
เกม (game) การเล่น, การแข่งขัน
เกรด (grade) ระดับคะแนน, ชั้นเรียน
เกียร์ (gear) กลอุปกรณ์ส่งผ่านกาลังและการเคลื่อนที่ของเครื่องกล ; ส่วนของรถต่อจากคลัทช์
แก๊ง (gang) กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ความหมายไม่ดี)
แก๊ป (cap) ชื่อหมวกมีกระบังหน้า
โกโก้ (cocoa) ชื่อเครื่องดื่มที่ทามาจากเมล็ดผลโกโก้
โกล์ (goal) ประตูฟุตบอล
ไกด์ (guide) ผู้นาเที่ยว, คนนาทาง
ครีม (cream) หัวน้านมส่วนที่ลอยขึ้นมา
คลาสสิก (classic) ดีถึงขนาด
คลินิก (clinic) สถานพยาบาลของเอกชน ไม่รับผู้ป่วยพักรักษาประจา
เคลียร์ (clear) ทาให้ชัดเจน, ทาให้หมดสิ้น
คอฟฟีเมต (coffee mate) ครีมเทียมใส่กาแฟ เป็นผงสีขาวรสมัน
คอตตอนบัด (cotton bud) สาลีพันปลายไม้
คอนกรีต (concrete) วัสดุก่อสร้างประกอบด้วย ซีเมนต์ หิน ทราย น้าผสมกัน เมื่อแห้งจะแข็งมาก
การยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย
การทับศัพท์ โดยการถ่ายเสียงและถอดตัวอักษร คายืมจากภาษาอังกฤษโดย
วิธีการทับศัพท์มีจานวนมาก คาบางคาราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์
เป็นคาไทยแล้ว แต่คนไทยนิยมใช้คาทับศัพท์มากกว่า เพราะเข้าใจง่าย
สื่อสารได้ชัดเจน เช่น
คาภาษาอังกฤษ คาทับศัพท์
game เกม
graph กราฟ
cartoon การ์ตูน
clinic คลินิก
quota โควตา
dinosaur ไดโนเสาร์
technology เทคโนโลยี
การบัญญัติศัพท์
การบัญญัติศัพท์ เป็นวิธีการยืมคา โดยรับเอาเฉพาะความคิดเกี่ยวกับเรื่อง
นั้นมาแล้วสร้างคาขึ้นใหม่ ซึ่งมีเสียงแตกต่างไปจากคาเดิม โดยเฉพาะ
ศัพท์ทางวิชาการจะใช้วิธีการนี้มาก ผู้ที่มีหน้าที่บัญญัติศัพท์ภาษาไทย
แทนคาภาษาอังกฤษ คือ ราชบัณฑิตยสถาน เช่น
คาภาษาอังกฤษ คาบัญญัติศัพท์
airport สนามบิน
globalization โลกาภิวัตน์
science วิทยาศาสตร์
telephone โทรศัพท์
reform ปฏิรูป
การแปลศัพท์
การแปลศัพท์ วิธีการนี้จะต้องใช้วิธีการคิดแปลเป็นคาภาษาไทยให้มี
ความหมายตรงกับคาในภาษาอังกฤษ แล้วนาคานั้นมาใช้สื่อสารใน
ภาษาไทยต่อไป ดังตัวอย่างเช่น
blackboard กระดานดา
enjoy สนุก
handbook หนังสือคู่มือ
school โรงเรียน
short story เรื่องสั้น
แบบทดสอบ เรื่อง ศัพท์บัญญัติ
1.คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด
ก.ภาษาจีน ข.ภาษาเขมร
ค.ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มลายู
2.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด
ก.เขมร ข.บาลี
ค.ชวา ง.สันสกฤต
3.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา
ก.กีฬา บรรทัด พรรณนา ข.กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร
ค.ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ ง.พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์
4.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร
ก.เพลิง ข.เพชร
ค.มรกต ง.บูรณะ
5.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย
ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ
ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว
ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น
ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่เป็นคาประสม
6.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด
ก.รามเกียรติ์ ข. ระเด่นลันได
ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ ง.ดาหลังและอิเหนา
7.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู
ก.เป็นคาโดด ข.ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท
ค.ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า ง.เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี
8.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด
ก.รัชกาลที่ 1 ข.รัชกาลที่ 2
ค.รัชกาลที่ 3-4 ง.รัชกาลที่ 4-6
9.คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร
ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย
ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข
ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา
ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง
10.ศัพท์บัญญัติคิดขึ้นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด
ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต
ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
11. ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ้นเป็นคาใหม่
ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลีสันสกฤต
ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ
12.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ
ก.โบนัส ข.ไดโนเสาร์
ค.วัฒนธรรม ง. กรรมการ
13.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์
ก.รหัสแท่ง ทวิเสถียร ข.อนุกรม การแปลงผัน
ค.สัมปทาน ค่าผ่านทาง ง.การแฝงนัย การผูกขาด
14.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี
ก.รัฐกันชน ข.การเสียดสี
ค.เสียงเสียดแทรก ง.ความสูงคลื่นเสียง
15.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย
ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว
ค. ควอเตอร์ โปรเจ็กเซล ง. ซัพพลายเออร์ ออร์เดอร์

More Related Content

What's hot

กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานTang Pruedsapol
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดmouseza
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงการอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงSurapong Klamboot
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษBhayubhong
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง KruBowbaro
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 

What's hot (20)

กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ดตัวชี้วัดเวิร์ด
ตัวชี้วัดเวิร์ด
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียงการอ่านออกเสียง
การอ่านออกเสียง
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
PPTออมไว้ใส่ถุงแดง
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 

Similar to สื่อครูมาณี ปี59

คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2Wilawun Wisanuvekin
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยครูเจริญศรี
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 

Similar to สื่อครูมาณี ปี59 (20)

คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

สื่อครูมาณี ปี59

  • 2. จุดประสงค์ 1. เพื่อให้นักเรียนรู้ที่มาของคาที่มาจากภาษาต่างประเทศ 2. เพื่อให้นักเรียนสามารถแยกคาที่มาจากภาษาต่างประเทได้ สาเหตุที่ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย การติดต่อสัมพันธ์กันทาให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ด้วย สาเหตุหลายประการ พอสรุปได้ดังนี้ 1สภาพภูมิศาสตร์ คือ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่าง ๆ ได้แก่ พม่า ลาว เขมร มาเลเซีย จึงทาให้คนไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไป มาหาสู่กันและมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน จึงมีการแลกเปลี่ยนภาษากัน เช่น คน ไทยที่อยู่ในจังหวัดสุรินทร์ ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ก็จะสามารถสื่อสารด้วยภาษาเขมร ได้คนไทยที่อยู่ในจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รับเอาภาษามาลายูเข้ามา ใช้เป็นต้น
  • 3. 2.ประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการ อพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่นอาศัยปัจจุบัน ซึ่งแต่เดิมมีชนชาติ อื่นอาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า มอญ หรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติ อื่น มีการกวาดต้อนเชลยศึกและประชาชน พลเมืองชนชาติอื่น ๆ ให้มาอาศัย อยู่ในประเทศไทย ผู้คนเหล่านี้ได้นาถ้อยคาภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปน กับภาษาไทยด้วย 3.ศาสนา คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน เมื่อนับถือ ศาสนาใดก็ย่อมได้รับถ้อยคาภาษาที่ใช้ในคาสอน หรือคาเรียกชื่อต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนานั้น ๆ มาปะปนอยู่ในภาษาไทยด้วย เช่น ศาสนา พราหมณ์ใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้ภาษาอังกฤษ ดังนั้นภาษาต่าง ๆ ที่ใช้ ในทางศาสนาก็จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วย
  • 4. 4.การค้าขาย จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้ากับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาว โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุ่น ทาให้มีถ้อยคาในภาษาของชน ชาตินั้น ๆ เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเป็นจานวนมาก ตลอดเวลาไม่มีวันสิ้นสุด 5.วรรณคดี วรรณคดีอินเดียที่ไทยนาเข้ามา เช่น เรื่องมหากาพย์รามายณะ และ มหาภา รตะ แต่งขึ้นเป็นภาษาสันสกฤต อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องดาหลัง ของชวา ด้วยเหตุนี้วรรณคดีทาให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนใน ภาษาไทย 6.ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ ติดต่อกับชนชาติไทย หรือเข้ามาตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนาเอา วัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติ ในสังคมไทย นาน ๆ เข้าถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณีเหล่านั้น ก็กลายมาเป็นถ้อยคาภาษาที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของคนไทยมากขึ้น
  • 5. 7.การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการที่คนไทยเดินทางไปศึกษายัง ต่างประเทศ ทาให้ได้ใช้และพูดภาษาอื่น ๆ และรับเอาวิทยาการต่าง ๆ เมื่อ สาเร็จการศึกษา จึงนาภาษาของประเทศนั้นมาใช้ปะปนกับภาษาของตน เช่น ภาษาอังกฤษ ในปัจจุบันประเทศไทยกาลังเตรียมความพร้อมด้าน การศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล โดยการจัด การศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมประเทศสมาชิกสมาคม อาเซียนและภาษาที่สามารถสื่อสารกันในสากลโลก ดังนั้นการหลั่งไหลของ ภาษาต่าง ๆ ที่จะเข้ามาปะปนในภาษาไทยก็จะเพิ่มมากขึ้น 8.ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ โยกย้ายหรือในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิม หรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส 9.อพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น สภาพเศรษฐกิจต้องไปประกอบอาชีพยังประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม การเมืองการปกครอง
  • 6. อิทธิพลของการยืมคาจากภาษาต่างประเทศ การยืมคาภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย มีอิทธิพลทาให้ลักษณะของภาษาไทย เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะดั้งเดิม ดังนี้ 1. คามีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด เป็นคาพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก เช่น เดิน ตาม หมา เมือง เดือน ดาว เป็นต้น เมื่อมีการยืมคา ภาษาต่างประเทศมาใช้ ทาให้ภาษาไทยเปลี่ยนไป ดังนี้ 1.1 มีคาสองพยางค์ เช่น ถนน ราชา บิดา มารดา มาตรา สามารถ เป็นต้น 1.2 มีคาสามพยางค์ เช่น โทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน กรณี โทรทัศน์ ปรารถนา เป็นต้น 1.3 มีคามากพยางค์ เช่น พลานามัย สาธารณะ มหาวิทยาลัย เป็นต้น
  • 7. 2. มีคาควบกล้าใช้มากขึ้น ภาษาไทยคาพยางค์เดียวส่วนใหญ่จะไม่มีคาที่มีพยัญชนะ ควบกล้า เมื่อยืมคาต่างประเทศมาใช้ ทาให้มีคควบกล้าจานวน มาก เช่น ฟรี ดรีม ปลูก โปรด เบรก เกรด เคลียร์ สปริง ดรอพ เครดิต คลินิก จันทรา ทฤษฎี ศาสตรา ปรารถนา แทรคเตอร์เอ็นทรานซ์ ดรัมเมเยอร์ 3. มีคาไวพจน์ใช้มากขึ้น ทาให้มีคาศัพท์มีความหมายเหมือนกันเพิ่มขึ้น ซึ่งสะดวก และสามารถเลือกใช้คาได้เหมาะสมกับความต้องการ เช่น นก (สกุณา สุโหนก วิหค ปักษา) ม้า (พาชี อาชา สินธพ) ผู้หญิง (สตรี นารี อิตถี กัญญา) ช้าง (หัตถี คชสาร กุญชร กรี) ดวงอาทิตย์ (สุริยา ตะวัน ไถง อุทัย) ดอกไม้ (สุมาลี ผกา บุษบา) เป็นต้น 4. ภาษาไทยมีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ซึ่งแต่เดิมภาษาไทยมีลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง คือ มีการสะกดคาตามมาตราแม่สะกด เมื่อได้รับอิทธิพลจากภาษาต่างประเทศ คา ส่วนใหญ่สะกดไม่ตรงตามมาตรา เดิม เช่น เทนนิส กอล์ฟ ฟุตบอล ราษฎร รัฐบาล ผนวช ครุฑ เป็นต้น
  • 8. 5. ทาให้โครงสร้างของภาษาไทยเปลี่ยนไป จากข้อสังเกต ดังนี้ 5.1 ไม่ใช้ลักษณนามซึ่งตามปกติแล้วลักษณนามจะเกิดหลังจานวนนับ เช่น นักศึกษา 2 คน พระภิกษุ 2 รูป เป็นต้น แต่เนื่องจากภาษาต่างประเทศที่ไทยยืมคามาใช้ไม่มีลักษณนาม เช่น ภาษาอังกฤษ เป็นต้น จึงทาให้ ภาษาไทยใช้ลักษณนามผิดไปด้วย เช่น สองนักกีฬาได้รับ ชัยชนะ ประกาศปิด ห้าสิบสาม ไฟแนนซ์ เป็นต้น 5.2 ใช้คาและสานวนภาษาต่างประเทศ ส่วนมากจะเป็นคาและสานวนจากภาษาอังกฤษ เช่น นวนิยาย เรื่องนี้เขียนโดยทมยันตี เขาได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่น เขาบินไปต่างประเทศเพื่อทาธุรกิจ เป็นต้น 5.3 ใช้คาภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่บางคามีคาในภาษาไทยใช้ บางคนมีรสนิยมพูด ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษปนกับภาษาไทย เช่น ผมไม่แคร์ (care) เรื่องนี้ดิฉัไม่มายด์ (mind) หรอกค่ะ เขาไม่เคลียร์ (clear) ในเรื่องนี้ ฉันมีโปรเจค (project) ในการพัฒนา มหาวิทยาลัย เป็นต้น การรับภาษาต่างประเทศมา ใช้สื่อสารในภาษาไทย มีทั้งข้อดีและข้อเสีย คนไทยทุกคน พึงควรระมัดระวัง ในการนาภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาประจาชาติ ที่คนไทยใช้ ติดต่อสื่อสารมา เป็นเวลาอันยาวนาน การยืมคาภาษาต่างประเทศ เข้ามาใช้โดยวิธีการทับศัพท์ ควรใช้เฉพาะ คาที่จาเป็นเท่านั้น คาใดมีคาไทยใช้หรือมีศัพท์บัญญัติใช้แล้ว ก็ไม่ควรนาภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้อีก และควร เรียงเรียงถ้อยคาเข้าประโยคเพื่อใช้ ในการสื่อสารตามรูปแบบของภาษาไทย
  • 9. 1. ภาษาบาลี ภาษาบาลีเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษามีวิภัตติ ปัจจัย คือจะต้องเปลี่ยนรูปคาตามเพศ พจน์ หรือกาล ภาษาบาลีมีถิ่นกาเนิดในแคว้น มคธ ประเทศอินเดีย บางทีจึงเรียกว่าภาษามคธ เข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยเพราะ สาเหตุจากการยอมรับนับถือศาสนาพุทธของคนไทยเป็นสาคัญ ตัวอย่างคาภาษาบาลีในภาษาไทย • บาป บุญ ปัญญา พยากรณ์ ปฏิกิริยา ปฏิกูล พยาบาท พายุ พิพาท ภาคี มงคล มติ มิจฉาชีพ รถ สาหัส สุข สุสาน หทัย เหมันต์ อคติ อดีต อนุมัติ
  • 10. 2. ภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเป็นภาษาในตระกูลอินโด-ยุโรเปียน รูปลักษณะภาษาเป็นภาษ มีวิภัตดิปัจจัยเช่นเดียวกับภาษาบาลี ชาวอินเดียถือว่าภาษาสันสกฤตเป็นภาษาชั้นสูง คัมภีร์ และบทสวด ต่าง ๆ มักจะจารึกเป็นภาษาสันสกฤต ภาษาสันสกฤตเข้ามา ปะปนอยู่ใน ภาษาไทยเพราะคนไทย เคยยอมรับนับถือศาสนาพราหมณ์ ซึ่งบันทึก คาสอนด้วย ภาษาสันสกฤตมาก่อน แม้จะยอมรับนับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนา ประจาชาติแล้วก็ตาม แต่คนไทยก็ยังยึดถือปฏิบัติในพิธีกรรมบางอย่าง ของ ศาสนาพราหมณ์มาจนถึงปัจจุบัน คนไทยจึงศึกษาภาษาบาลี และภาษา สันสกฤตควบคู่กันไป ตัวอย่างคาภาษาสันสกฤตในภาษาไทย กัลป์ กุศล กัลปาวสาน โกรธ คณาจารย์ เคารพ เคหสถาน โคตร โฆษก โฆษณา จรรยา โจรกรรม ชัชวาล ตรี, ไตร ดนตรี ทรัพย์
  • 11. 3. ภาษาเขมรในภาษาไทย ภาษาเขมรเป็นภาษาคาโดด จัดอยู่ในตระกูลมอญ-เขมร คาดั้งเดิมส่วนใหญ่ เป็น คาพยางค์เดียวและเป็นคาโดด ถือเอาการเรียงคาเข้าประโยคเป็น สาคัญเช่นเดียวกับภาษาไทย แต่มีลักษณะบางอย่างต่างไปจากภาษาไทย ไทยกับเขมรมีความสัมพันธ ์์กันมาเป็นเวลาอันยาวนาน จึงทาให้มีการหยิบ ยืมถ้อยคาภาษา ของกันและกัน ไทยยืมคาภาษาเขมรมาใช้เป็นจานวน มาก ภาษาเขมรนอกจากจะใช้กันในประเทศกัมพูชาแล้ว ยังใช้กันในบรรดา คนไทยเชื้อสายเขมรทางจังหวัดต่าง ๆ บางจังหวัดทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศไทยด้วย คาเขมาเข้าสู่ ภาษาไทยโดยทางการเมือง ทางวัฒนธรรมและทางภูมิศาสตร์ เรายืมคา เขมรมาใช้โดยการทับศัพท์ ทับศัพท์เสียงเปลี่ยนไป และเปลี่ยนเสียงเปลี่ยน ความหมาย
  • 12. • ตัวอย่างภาษาเขมรในภาษาไทย กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระเพาะ รัญจวน ลออ สกัด สนอง สนุก สดับ สบง สังกัด สไบ สาราญ สรร สาโรง แสวง แสดง กาแพง กาลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดย ทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด เผด็จ ผจญ, ผจัญ เผอิญ เผชิญ เพ็ญ เพลิง เพนียด ระลอก
  • 13. 4. ภาษาจีนในภาษาไทย ภาษาจีนมีรูปลักษณะภาษาเป็นภาษาคาโดด เช่นเดียวกับภาษาไทย ไม่มี เสียงควบกล้า มีเสียงสูงต่า มีการสร้างคาขึ้นมาใช้ใหม่ มีโครงสร้าง ประโยคเช่นเดียวกัน การเรียงลาดับคาเข้าประโยคก็เช่นเดียวกับ ภาษาไทย ต่างกันแต่ว่าภาษาจีนเอาคุณศัพท์ไว้หน้านาม เอากริยา วิเศษณ์ไว้หน้ากริยาและมีเงื่อนไขอื่น ๆ อีกและมีลักษณะนาม ประเทศ จีนมีเนื้อที่กว้างใหญ่ไพศาล ภาษาจีนจึงแตกต่างกันไปอย่างมาก จน กลายเป็นภาษาถิ่นต่าง ๆ ที่สาคัญคือ ภาษากวางตุ้ง ภาษาจีน แคะ ภาษาฮกเกี้ยน ภาษาแต้จิ๋ว ภาษาไหหลา ภาษาเซียงไฮ้ และ ภาษานิงโปหรือเลี่ยงโผ และภาษาจีนกลาง ซึ่งเป็นภาษาราชการ ปัจจุบันนิยม เรียกว่า “ภาษาแมนดา-ริน”
  • 14. • ตัวอย่างภาษาจีนในภาษาไทย ก๊ก กงสี กงเต๊ก กวยจั๊บ กุ๊ย กวางตุ้ง กุยช่าย กาน้า กุยเฮง กะหล่า • เก๊ เกี้ยมไฉ่ เกาเหลา เกี้ยว ขงจื้อ ขึ้นฉ่าย จับยี่กี โจ๊ก จับฉ่าย • เจ เจ๊า เฉาก๊วย ซวย เซียน ซาลาเปา เซียมซี ซินแส แซ่ • เซ้ง แซยิด ตงฉิน เต้าเจี้ยว ตังเก เต้าส่วน ตั๋ว เต้าหู้ยี้ ตั้วโผ • เต้าฮวย ไต๋ ไต้ก๋ง ถัว ทู่ซี้ บ๊วย บะหมี่ แบไต๋ • ปุ้งกี๋ เปาะเปี๊ยะ แป๊ะซะ โพย ยี่ห้อ เย็นตาโฟ • ลิ้นจี่ โสหุ้ย สาลี่ ห้าง หุ้น อั้งยี่ อั้งโล่ เอี๊ยม • ฮวงซุ้ย
  • 15. 5. ภาษามลายูในภาษาไทย ภาษามลายูหรือภาษามาเลย์ ปัจจุบันเรียกว่า ภาษามาเลเซีย จัดเป็น ภาษาคาติดต่อ (Agglutinative Language) อยู่ในตระกูล ภาษาชวา-มลายู มีวิธีการสร้างคาใหม่โดยวิธีเอาพยางค์มาต่อเติมคา ทาให้ความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม คาในภาษามลายูส่วนใหญ่ จะมีสองพยางค์และสามพยางค์ มาเลเซียกับไทยเป็นประเทศ ที่มีเขต แดนติดต่อกัน จึงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมา เป็นเวลานาน ภาษา มาลายูเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยมากพอสมควร โดยเฉพาะในสี่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ สตูล ยังคงใช้ภาษามลายูสื่อสารในชีวิต ประจาวันอยู่เป็นจานวนมาก
  • 16. ตัวอย่างคาภาษามลายูในภาษาไทย • ตัวอย่างคาภาษามลายูในภาษาไทย • กรง กระดังงา กระจง กะพง กระจูด • กะละปังหา กระแชง กะลาสี กะลุมพี กายาน กาปั่น กุญแจ จับปิ้ง จาปาดะ ตลับ • ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด สละ • สลัก สลาตัน สลัด สุจหนี่ โสร่ง • หนัง
  • 17. 6. ภาษาชวาในภาษาไทย ภาษาชวา ปัจจุบันเรียกว่าภาษาอินโดนีเซีย เป็นภาษาคาติดต่อ อยู่ในตระกูลเดียวกับภาษามลายู ภาษาชวาที่ไทย ยืมมาใช้ส่วนมาก เป็นภาษาเขียน ซึ่งรับมาจากวรรณคดี เรื่อง อิเหนา เป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคาภาษาเหล่านี้ใช้ สื่อสารในวรรณคดี และในบทร้อยกรองต่าง ๆ มากกว่าคาที่นามาใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน ตัวอย่างคาภาษาชวาในภาษาไทย • กระจับปี่ การะบุหนิง กระยาหงัน กิดาหยัน จินดาหนา • จินดาหรา ซ่าโบะ ซ่าหริ่ม ดะหมัง ดาหงัน • ดาลัด ติกาหลัง ตุนาหงัน นากาสาหรี บายสุหรี • บุษบามินตรา บุหงัน บุหงาราไป บุหงาประหงัน บุหรง • บุหลัน ปะตาระกาหลา ปะตาปา ปะหนัน ปั้นเหน่ง • ปาตี พันตุ มะงุมมะงาหรา มะตาหะรี มิรันตี • มาลาตี ยาหยี ยิหวา ระตู ระเด่น • วิรงรอง, วิรังรอง สะการะ สะตาหมัน สะการะตาหรา หวันยิหวา • อสัญแดหวา อังกะลุง
  • 18. 7. คายืมจากภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่แพร่หลาย สามารถใช้สื่อสารได้ทั่วโลก การที่ไทย ติดต่อค้าขายกับอังกฤษมาช้านานจนสมัย ร.3 ไทยเริ่มมีการยืมคาจากภาษาอังกฤษมา ใช้ในลักษณะการออกเสียงแบบไทยๆ ตลอดจนเจ้านายและข้าราชการที่ได้ศึกษา ภาษาอังกฤษและมิชชันนารีก็เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ ทาให้ภาษาอังกฤษเข้ามามี บทบาทในภาษาไทยมากขึ้น ร.4 ทรงเห็นประโยชน์ของการศึกษาภาษาอังกฤษมากด้วย ประมวลคายืมจากภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อย กราฟ (graph) แผนภูมิที่ใช้เส้น จุด หรือภาพเพื่อแสดงอาการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแปร เทียบกับตัวแปรอื่น ก๊อก (cork) เครื่องปิด-เปิดน้าจากท่อ หรือภาชนะบรรจุน้า กอซ (gauze) ผ้าบางที่ใช้พันหรือปิดแผล ก๊อปปี้(copy) กระดาษที่ใช้ทาสาเนา กอล์ฟ (golf) กีฬาใช้ไม้ตีลูกกลมผ่านพื้นที่ขวางกั้น เช่น หลุมทรายให้ไปลงหลุมที่ กาหนด
  • 19. กะรัต (carat) หน่วยมาตราชั่งเพชรพลอย กะละแม (caramel) ชื่อขนมทาด้วยข้าวเหนียว กะทิ และน้าตาลกวนจนเหนียวเป็นสีดา กัปตัน (captain) นายเรือ ก๊าซ (gas) อากาศธาตุ การ์ด (card) บัตร, บัตรเชิญ การ์ตูน (cartoon) ภาพล้อ, ภาพตลก บางทีเขียนติดต่อกันเป็นเรื่องยาว กีตาร์ (guitar) เครื่องดีดทารูปคล้ายซอฝรั่งมี 6 สายใช้มีอดีต กุ๊ก (cook) พ่อครัวทากับข้าวฝรั่ง เกม (game) การเล่น, การแข่งขัน เกรด (grade) ระดับคะแนน, ชั้นเรียน เกียร์ (gear) กลอุปกรณ์ส่งผ่านกาลังและการเคลื่อนที่ของเครื่องกล ; ส่วนของรถต่อจากคลัทช์ แก๊ง (gang) กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ความหมายไม่ดี) แก๊ป (cap) ชื่อหมวกมีกระบังหน้า โกโก้ (cocoa) ชื่อเครื่องดื่มที่ทามาจากเมล็ดผลโกโก้ โกล์ (goal) ประตูฟุตบอล ไกด์ (guide) ผู้นาเที่ยว, คนนาทาง ครีม (cream) หัวน้านมส่วนที่ลอยขึ้นมา คลาสสิก (classic) ดีถึงขนาด คลินิก (clinic) สถานพยาบาลของเอกชน ไม่รับผู้ป่วยพักรักษาประจา เคลียร์ (clear) ทาให้ชัดเจน, ทาให้หมดสิ้น คอฟฟีเมต (coffee mate) ครีมเทียมใส่กาแฟ เป็นผงสีขาวรสมัน คอตตอนบัด (cotton bud) สาลีพันปลายไม้ คอนกรีต (concrete) วัสดุก่อสร้างประกอบด้วย ซีเมนต์ หิน ทราย น้าผสมกัน เมื่อแห้งจะแข็งมาก
  • 20. การยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย การทับศัพท์ โดยการถ่ายเสียงและถอดตัวอักษร คายืมจากภาษาอังกฤษโดย วิธีการทับศัพท์มีจานวนมาก คาบางคาราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์ เป็นคาไทยแล้ว แต่คนไทยนิยมใช้คาทับศัพท์มากกว่า เพราะเข้าใจง่าย สื่อสารได้ชัดเจน เช่น คาภาษาอังกฤษ คาทับศัพท์ game เกม graph กราฟ cartoon การ์ตูน clinic คลินิก quota โควตา dinosaur ไดโนเสาร์ technology เทคโนโลยี
  • 21. การบัญญัติศัพท์ การบัญญัติศัพท์ เป็นวิธีการยืมคา โดยรับเอาเฉพาะความคิดเกี่ยวกับเรื่อง นั้นมาแล้วสร้างคาขึ้นใหม่ ซึ่งมีเสียงแตกต่างไปจากคาเดิม โดยเฉพาะ ศัพท์ทางวิชาการจะใช้วิธีการนี้มาก ผู้ที่มีหน้าที่บัญญัติศัพท์ภาษาไทย แทนคาภาษาอังกฤษ คือ ราชบัณฑิตยสถาน เช่น คาภาษาอังกฤษ คาบัญญัติศัพท์ airport สนามบิน globalization โลกาภิวัตน์ science วิทยาศาสตร์ telephone โทรศัพท์ reform ปฏิรูป
  • 23. แบบทดสอบ เรื่อง ศัพท์บัญญัติ 1.คาที่เกี่ยวข้องกับอาหารการกิน มักจะยืมมาจากภาษาใด ก.ภาษาจีน ข.ภาษาเขมร ค.ภาษาอังกฤษ ง.ภาษาชวา-มลายู 2.คาว่า “เมตตา วิญญาณ” ยืมมาจากภาษาใด ก.เขมร ข.บาลี ค.ชวา ง.สันสกฤต 3.คาในข้อใดยืมมาจากภาษาสันสกฤตทุกคา ก.กีฬา บรรทัด พรรณนา ข.กรีฑา อัชฌาสัย สมุทร ค.ศิษย์ พฤกษา เคราะห์ ง.พาณิชย์ มัธยมศึกษา ปราชญ์
  • 24. 4.คาในข้อใดเป็นคาภาษาเขมร ก.เพลิง ข.เพชร ค.มรกต ง.บูรณะ 5.ข้อใดเป็นลักษณะของคาภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย ก.ส่วนใหญ่เป็นเสียงสามัญ ข.ไม่มีตัวสะกดแต่นิยมผสมด้วยสระเสียงยาว ค.พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมากกว่าอักษรอื่น ง.ส่วนใหญ่เป็นคาพยางค์เดียว ไทยนามาสร้างคาใหม่เป็นคาประสม 6.คาภาษาชวาเข้ามาในภาษาไทยพร้อมกับวรรณคดีเรื่องใด ก.รามเกียรติ์ ข. ระเด่นลันได ค.ลิลิตเพชรมงกุฎ ง.ดาหลังและอิเหนา
  • 25. 7.ข้อใดเป็นลักษณะเด่นของภาษาชวา-มลายู ก.เป็นคาโดด ข.ใช้รูปวรรณยุกต์เอก โท ค.ไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า ง.เป็นคาที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี 8.คายืมที่มาจากภาษาอังกฤษเริ่มเข้ามาในสมัยใด ก.รัชกาลที่ 1 ข.รัชกาลที่ 2 ค.รัชกาลที่ 3-4 ง.รัชกาลที่ 4-6 9.คาทับศัพท์มีลักษณะอย่างไร ก.ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย ข. ยืมมาใช้โดยไม่มีการปรับปรุงแก้ไข ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสร้างของคา ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง
  • 26. 10.ศัพท์บัญญัติคิดขึ้นมาใช้แทนคาศัพท์ในภาษาใด ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลี-สันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ 11. ศัพท์บัญญัติใช้คาในภาษาใดมาประกอบขึ้นเป็นคาใหม่ ก.ภาษาอังกฤษ ข. ภาษาบาลีสันสกฤต ค. ภาษาชวา-มลายู ง. ภาษาจีนและอังกฤษ 12.คาในข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติ ก.โบนัส ข.ไดโนเสาร์ ค.วัฒนธรรม ง. กรรมการ
  • 27. 13.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางคณิตศาสตร์ ก.รหัสแท่ง ทวิเสถียร ข.อนุกรม การแปลงผัน ค.สัมปทาน ค่าผ่านทาง ง.การแฝงนัย การผูกขาด 14.ข้อใดเป็นศัพท์บัญญัติทางวรรณคดี ก.รัฐกันชน ข.การเสียดสี ค.เสียงเสียดแทรก ง.ความสูงคลื่นเสียง 15.ข้อใดไม่ใช่คาศัพท์ในวงวิชาชีพธุรกิจการขาย ก. คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก ข.เบรกอีเวน เยียร์ลีรีวิว ค. ควอเตอร์ โปรเจ็กเซล ง. ซัพพลายเออร์ ออร์เดอร์