SlideShare a Scribd company logo
1 of 123
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 7



    สมดุล เคมี
7.1 ปฏิกิริยาทีผันกลับได้
               ่

ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
 H2O(l)        ความร้อน
                          H2O(g)
ปฏิกิริยาย้อนกลับ
 H2O(l)              H2O(g) :
 อุณหภูมิลดลงเกิดการ
             ควบแน่น
ปฏิกิริยาผันกลับได้
   H2O(l)             H2O(g)
ปฏิกิริยาไปข้างหน้า : ปฏิกิริยาที่สาร
 ตั้งต้นทำาปฏิกริยา
               ิ
 เกิดเป็นผลิตภัณฑ์
ปฏิกิริยาย้อนกลับ : ปฏิกิริยาที่
 ผลิตภัณฑ์ทำาปฏิกิริยากัน
 เปลียนเป็นสารตังต้น
      ่           ้
ปฏิกิริยาผันกลับได้ : ปฏิกริยาทีมีทง
                          ิ      ่ ั้
เมื่อปฏิกริยาผันกลับได้ดำาเนินไประยะ
          ิ
 เวลาหนึ่งทัง้
สารตังต้นและผลิตภัณฑ์ยังคงทำา
      ้
 ปฏิกิริยาต่อไปอีก
หรือไม่ เพราะเหตุใด
7.2 การเปลียนแปลงทีทำาให้เกิด
           ่       ่
ภาวะสมดุล

 ภาวะสมดุล : ภาวะทีระบบมีสมบัติคงที่
                    ่
 หรือภาวะที่      สารตังต้นและ
                       ้
 ผลิตภัณฑ์ทกชนิดมีปริมาณหรือ
             ุ
       ความเข้มข้นคงที่
 ภาวะสมดุลระหว่างสถานะ : ภาวะ
 สมดุลของระบบทีเกิดจากการเปลียน
                ่              ่
 สถานะของสารโดยในระบบมีความ
 สมดุลกันระหว่างสาร 2 สถานะ
ชนิดของปฏิกริยา
              ิ
 Homogeneous Reaction :
 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสถานะเดียวกัน
  คือสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์อยู่ใน
 สถานะเดียวกัน
Heterogeneous Reaction :
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสถานะมากกว่า
1 สถานะ คือสารตังต้นและ
                     ้
ผลิตภัณฑ์ไม่ได้อยู่ในสถานะ
เดียวกัน
สมดุลไดนามิก : ภาวะสมดุล ทีระบบ
                              ่
มีการเปลียนแปลงไปข้างหน้าและ
          ่
ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดขึ้นตลอดเวลา
ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน
สมดุลเคมี เป็นสมดุลไดนามิก เพราะมี
การเปลียแนปลงทีผันกลับได้เกิดใน
        ่         ่
สมดุล
ปฏิก ิร ิย าระหว่า งไอนำ้า กับ แก๊ส
คาร์บ อนมอนอกไซด์ใ นภาชนะปิด
ซึ่ง เกิด ขึ้น ที่อ ุณ หภูม ิส ง
                               ู

สามารถเขียนสมการได้ดังนี้
  H2O(g) + CO(g)              H2(g) + CO2(g)

จากสมการ H2O กับ CO ทำาปฏิกิริยา
  พอดีกันในอัตรา
ส่วนจำานวนโมลเท่ากับ 1 : 1 เกิด
  ผลิตภัณฑ์คอ H2 กับ
            ื
CO ซึ่งมีอัตราส่วน 1: 1 เช่นกัน
กราฟแสดงการเปลียนแปลงความเข้ม
                 ่
ข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ตอ
                             ่
เวลา
 ความเข้ม ข้น



                H2O + CO


                            ภาวะสมดุล

                 H2+CO2
                           te      เวลา
จากกราฟอธิบ ายได้ว ่า
  เมือเริ่มต้นปฏิกริยาความเข้มข้นของ
     ่             ิ
    สารตั้งต้นและยังมี
  อยู่มาก ปฏิกิริยาจึงเกิดขึ้นทันทีได้
    ผลิตภัณฑ์ เป็น และ
  เมือเวลาผ่านไปความเข้มข้นของสาร
       ่
    ตังต้นลดลง ส่วน
         ้
  ความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์ซึ่งตอน
    เริ่มต้นมีคาเป็นศูนย์
               ่
และถ้าเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์
    ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
    และปฏิกิริยาย้อนกลับกับเวลาจะได้ดังนี้
อัต ราการเกิด ปฏิก ิร ิย า



H2O(g) + CO(g)                    H2(g) + CO2(g)


               H2(g) + CO2(g)       H2O(g) + CO(g)


                             te       เวลา
การทดลอง 7.1 ปฏิกิริยาระหว่าง
สารละลาย CuSO4 และสารละลาย HCl

  จุดประสงค์การทดลอง
  1. ทำาการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิริยาผันกลับ
  ได้
  2. อธิบายความหมายและยกตัวอย่างปฏิกิริยา
  ผันกลับได้
  อุปกรณ์และสารเคมี
  1. สารละลายคอปเปอร์(II)ซัลเฟตอิ่มตัว

  2. สารละลายกรดไฮโดรคลอริก 6
ทีตองทราบก่อนการทดลอง
  ่ ้

 การสังเกตการเปลี่ยนสีของสารละลายในหลอด
 ที่ 2 เมื่อเติมสารละลาย HCl และเติมนำ้าอาจไม่
 ชัดเจน ดังนั้นจึงต้องเปรียบเทียบกับสีของ
 สารละลาย CuSO4 ในนำ้าจากหลอดที่ 1 ทุก
 ครั้ง
วิธีการทดลอง
คำาถามเพือการอภิปรายผลการทดลอง
         ่

 สารละลายคอปเปอร์(II) ซัลเฟตเปลี่ยนแปลง
 อย่างไร เมื่อเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
 และนำ้าลงไป เพราะเหตุใด
การเข้าสูภาวะสมดุลของระบบ
         ่

ระบบต่าง ๆ เข้าสูภาวะสมดุลได้เร็วช้าต่าง
                  ่
 กันภาวะสมดุล
จะเกิดขึ้นได้ก็ตอเมือ
                ่ ่
1. ปฏิกิริยาการเปลียนแปลงเกิดขึ้นใน
                      ่
 ระบบปิด
2. ความเข้มข้นของสารตังต้นและสาร
                          ้
 ผลิตภัณฑ์คงที่ ณ T นัน ้
3. ระบบมีการเปลียนแปลงที่ผันกลับได้(มี
                    ่
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารต่าง
ณ ภาวะสมดุล



    ตาราง 7.1 แสดงความเข้ม ข้น ของ
   H2 I2 และ HI ณ
    อุณ หภูม ิ 458 ๐ C
ความเข้ นเริมต้น
                   มข้ ่            ความเข้ นทีภาวะสมดุล
                                           มข้ ่
  การ                  3                         3
                 (ml/m)
                   od                      (ml/m)
                                             od
ทดลองที่
           H2       I2       HI      H2       I2     HI
              -2       -2               -2       -2      -2
   1 2 01 1 81
         .4x 0 .3x 0 0 1 41 0 21 2 21
                                   .1x 0 .1x 0 .5x 0
              -2       -2               -2       -2      -2
   2 2 01 1 81
         .4x 0 .6x 0 0 0 21 0 01 2 61
                                   .9x 0 .2x 0 .9x 0
              -2       -2               -2       -2      -2
   3 2 41 1 81
         .4x 0 .9x 0 0 0 71 0 11 3 41
                                   .7x 0 .3x 0 .3x 0
              -2       -2               -2       -2      -2
   4 2 61 1 61
         .4x 0 .7x 0 0 0 21 0 21 3 81
                                   .9x 0 .2x 0 .0x 0
                                -2      -2       -2      -2
   5       0              3 41 0 51 0 51 2 51
                           .0x 0 .3x 0 .3x 0 .3x 0
                                -2      -2       -2      -2
   6       0              7 81 0 61 0 61 5 61
                           .5x 0 .8x 0 .8x 0 .8x 0
จากข้อมูลในตาราง 7.1 แสดงว่าการ
ทดลองที่ 1-4 ใช้ H2 และ I2 เป็นสาร
ตั้งต้นซึ่งจะได้ HI เป็นผลิตภัณฑ์
เมื่อคำานวณหาความเข้มข้นของสาร
ตั้งต้นทีถูกใช้ไปและผลิตภัณฑ์ทเกิด
         ่                     ี่
ขึ้น ณ ภาวะสมดุลของการทดลองที่
1 ได้ผลดังนี้
ความเข้ นข ( o d )
                         มข้ องสารml/m      3

สาร
      เมือเริมต้น ทีภาวะสมดุล
         ่ ่         ่                   ทีถูกใช้
                                           ่ ไป
             -2          -2         -2          -2   -2
 H 2 01 1 41
  2  .4x 0 .1x 0                2 01 - 1 41 =1 61
                                 .4x 0 .1x 0 .2x 0
          -2       -2                 -2    -2    -2
 I2 1 81 0 21
     .3x 0 .1x 0                1 81 - 0 21 =1 61
                                 .3x 0 .1x 0 .2x 0
                   -2
 HI    0     2 21
              .5x 0                       0
จากตารางแสดงว่า

 H2 1.26 x 10-2 mol/dm3 ทำา
 ปฏิกิริยาพอดีกับ I2    1.26 x
 10-2 mol/dm3 ได้ HI 2.52 x 10-2
 mol/dm3 ซึ่งเป็นปริมาณ 2 เท่าของ
 H2 และ I2
 สมการแสดงการเปลียนแปลงเป็นดังนี้
                  ่
  H2 (g) + I2 (g)       2HI
จากสมการ H2 1 mol ทำาปฏิกิริยา
พอดีกับ I2 1 mol ได้ HI 2 mol
แสดงว่าความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ
ของ H2 I2 และ HI จากการทดลอง
ที่ 1 เป็นไปตามปริมาณสัมพันธ์ของ
สมการ
ตาราง 7.2 แสดงปริมาณของสารตั้งต้น
ทีใช้ทำา
  ่                 ปฏิกิริยากันและ
ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในระบบ ณ ภาวะ
สมดุล
ค มเข้ นข รตั้ นที่ ช้ าค มเข้ นข H
             วา มข้ องสา งต้ ใ ทำ วา มข้ อง I
ก รท ลองที่
 า ด             ปฏิ าml/m
                    กิริย ( o d )
                                3
                                     ณภ วะสมดุ
                                        า       ล
                H 2             I2       o d 3)
                                       (ml/m
    1       1 6x1-2
             .2 0       1 6x1-2
                         .2 0         2 2x1-2
                                       .5 0
    2       1 8x1-2
             .4 0       1 8x1-2
                         .4 0         2 6x1-2
                                       .9 0
                  -2          -2            -2
    3       1 7x1
             .6 0       1 7x1
                         .6 0         3 4x1
                                       .3 0
                  -2          -2            -2
    4       1 4x 0
             .5 1       1 4x 0
                         .5 1         3 8x1
                                       .0 0
ปฏิกิริยาทีเกิดขึ้นในการทดลองที่ 5
           ่
และ 6 เป็นปฏิกิริยาย้อนกลับกับ
ปฏิกิริยาในการทดลองที่ 1- 4 คือ
เป็นการสลายตัวของ HI ได้ H2
และ I2
การทดลองที่ 5 เริ่มต้นมี HI =
3.04 x 10-2 mol/dm3
ทีภาวะสมดุลมี HI
  ่                      =
          -2         3
สมการแสดงการเปลียนแปลงเป็นดังนี้
                ่
2HI (g)           H2 (g) + I2 (g)
จากสมการ HI 2 mol สลายให้ H2
และ I2 ชนิดละ 1 mol แสดงว่า
ปฏิกิริยาการสลายตัวของ HI ในการ
ทดลองที่ 5 เป็นไปตามปริมาณ
สัมพันธ์ของสมการ
ตาราง 7.3 อัตราส่วนระหว่างความ
เข้มข้นของ          ผลิตภัณฑ์กับ
สารตังต้น ณ ภาวะสมดุล
     ้
ค มสัมพั
         วา    นธ์ระหว่า วา
                        งค ม
              เข้ นข รใ
                มข้ องสา น
                                 [H I]   2 I] [H 2
                                          [H       I]
                  ระบบที่ า
                         ภ วะ
                                [H][I2] [H][I2] [H][I2]
                        สมดุล
                                  2        2      2


ก รท ลองที่
 า ด
            1                   14.1
                                 82 1   38.2
                                        64 1     4.4
                                                 62
            2                   10.7
                                 68 0   31.3
                                        27 9     4.6
                                                 72
            3                   19.2
                                 39 5   29.5
                                        78 0     4.7
                                                 63
            4                   10.9
                                 56 2   31.8
                                        03 3     4.9
                                                 56
            5                   11.3
                                 98 7   33.7
                                        86 3     4.0
                                                 58
            6                   72 2
                                 9.3    18.6
                                        54 4     4.4
                                                 63
จากตาราง 7.3 จะสังเกตได้ว่าค่าของ
 อัตราส่วน [HI]2

 [H2][I2]
จากการทดลองที่ 1 - 6 มีค่าใกล้เคียง
  กัน จึงเรียกอัตรา
ส่วนระหว่างความเข้มข้นของ
  ผลิตภัณฑ์กับสารตังต้น ณ
                    ้
ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา
H2(g) + I2(g)
 2HI(g)
                       สัมประสิทธิ์ของ HI
เขียนเป็น
     K=
          [ความสัมพันธ์ได้ดังนี้
           HI ]
                  2


        [ H 2 ][ I 2 ]


สำาหรับปฏิกริยาทั่วไป
           ิ
aA + bB        cC + dD
หน่วยของค่าคงทีสมดุล
               ่
ตัวอย่าง 2NO(g) + Cl2(g)
           2NOCl(g)
        [ NOCl ]
               2          [mol / dm ] 3 2



      [ NO ] [Cl ]
           2
               2
                    [mol / dm ] [mol / dm ]
                                3 2         3


  K=                  =

                     = [mol / dm3]          -1
จงหาหน่วยของค่าคงทีสมดุลของ
                   ่
ปฏิกริยาต่อไปนี้
    ิ

CH4(g) + 2H2S(g)         CS2(g)
  + 4H2(g)
H2(g) + Cl2(g)        2HCl(g)
N2(g) + 3H2(g)        2NH3(g)
การเขียนค่าคงทีสมดุล
               ่

 สมดุล เนื้อ เดีย ว(สมดุล เอกพัน ธ์) :
 สมดุลเนื้อเดียวเขียนค่า K จากความเข้ม
 ข้นของสารทุกชนิดของระบบขณะสมดุล
 CH3COOH(aq) − +             CH3COO-
        [CH 3COO ][ H ]
    K = (aq)
 (aq) + H[+CH COOH ]
             3
สมดุล เนื้อ ผสม(สมดุล วิว ิธ พัน ธ์) :
เขียนค่า K เฉพาะความเข้มข้นของ
แก๊สและสารละลาย ส่วนสารทีเป็น  ่
ของแข็งและของเหลวมีความหนา
แน่นคงที่ ดังนันจึงมีความเข้มข้นคงที่
               ้
ด้วย จึงไม่นำามาเขียน
CaCO3(s)                 CaO(s) +
ความสัมพันธ์คาคงทีสมดุลกับ
             ่    ่
สมการเคมี
  ถ้าสมการของปฏิกิริยาเขียนกลับกัน
  ค่าคงทีสมดุล
         ่
ต้องเขียนกลับกันด้วย คือ กลับเศษเป็น
  ส่วน กลับ
ส่วนเป็นเศษ เช่น
  2NO(g) + O2(g)                  1
  2NO2(g) …..K1                  K1
ถ้าหารตัวเลขใดๆเข้าไปในสมการของ
 ปฏิกิริยาค่าคงที่       สมดุลใหม่หา
 ได้จากค่าคงที่สมดุลถอดรากด้วย
 ตัวเลขที่หารเข้าไปนั้น เช่น
 2H2(g) + O2(g)
 2H2O(g) .........K3            K
                                3


สมการหาร 2 2H2(g) + O2(g)
ถ้าคูณตัวเลขใดๆเข้าไปในสมการของ
 ปฏิกิริยา ค่าคงที่     สมดุลใหม่หา
 ได้จากค่าคงทีสมดุลยกกำาลังด้วยตัวเลข
                ่
 ทีคูณเข้าไปนัน เช่น
   ่          ้
 2H2(g) + O2(g)              2H2O(g)
 .........K5
สมการคูณ 2 4H2(g) + 2O2(g)
ถ้าสมการของปฏิกิริยาบวกกัน ค่าคงที่
 สมดุลใหม่ทได้เกิดจากค่าคงทีสมดุลมา
            ี่              ่
 คูณกัน เช่น
 1)    2NO(g) + O2(g)
 2NO2(g) …..K7                   ×
 2) 2NO2(g)         N2O4(g)…..K8
(1) + (2) 2NO(g) +O (g)
ผลคูณของค่าคงทีสมดุลของปฏิกริยาไป
                     ่        ิ
    ข้างหน้ากับค่าคง
ทีสมดุลของปฏิกิริยาย้อนกลับใน
  ่
    ปฏิกิริยาเดียวกันมีคา
                        ่
เท่ากับ 1
Ex 1 จากสมการต่อไปนี้

  2SO2(g) + O2(g)
  2SO3(g)
 ณ ภาวะสมดุลที่อณหภูมิ 1000 K มี
                  ุ
  ค่าคงทีสมดุลเท่ากับ
          ่
 2.8 x 102 จงหาค่าคงที่สมดุลของ
  ปฏิกิริยาย้อนกลับ
Ex 2 จากค่าคงทีสมดุลทีอณหภูมิ 25๐C
                 ่    ่ ุ
ของปฏิกิริยาต่อไปนี้

N2(g) + O2(g)          2NO(g)
 ……(1)
       1
                K1 = 4.1 x 10-31
       2
N2O(g) +    O2(g)
 2NO(g) ……(2)
             K2 = 1.7 x 10-13
N2(g) +
      1
             O2(g)
      2
 N2O(g) ที่ T 25 ๐C
ข้อสรุปของค่าคงทีสมดุล
                 ่

1. ค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยาย้อนกลับ
          ่
 เป็นส่วนกลับกับค่าคงที่สมดุลของ
 ปฏิกิริยาไปข้างหน้า
2. ค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยาเดียวกัน
            ่
 อาจแตกต่างกันได้ ถ้าตัวเลขที่ใช้ใน
 การดุลสมการเคมีแตกต่างกัน
3. ค่าคงทีสมดุลของปฏิกิริยารวม มีคา
              ่                     ่
4. ค่าคงทีสมดุลบอกให้ทราบถึงทิศทาง
          ่
 ของการเกิดปฏิกริยา กล่าวคือถ้าค่า
                  ิ
 คงทีสมดุลมีค่ามากกว่า 1 แสดงว่า ณ
      ่
  ภาวะสมดุลเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้า
 มากกว่าปฏิกริยาย้อนกลับจึงมี
              ิ
 ผลิตภัณฑ์เกิดขึ้นมาก ถ้าค่าคงที่
 สมดุลมีค่าน้อยกว่า 1 แสดงว่า ณ
 ภาวะสมดุลเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
5. ค่าคงทีสมดุลบอกให้ทราบว่า ณ
          ่
 ภาวะสมดุลมีผลิตภัณฑ์หรือสารตั้งต้น
 อยู่ในระบบมากน้อยเพียงใดแต่บอก
 ไม่ได้วาปฏิกิริยาเกิดขึ้นเร็วหรือช้า
        ่
การคำานวณเกี่ยวกับค่าคงทีสมดุล
                         ่
  เขียนสมการเคมีพร้อมดุล
  เขียนความเข้มข้นของสารตังต้น
                             ้
  เขียนความเข้มข้นของสารที่เปลี่ยนไป
  เขียนความเข้มข้นของสารที่ภาวะสมดุล
  เขียนค่าคงทีสมดุลจากขั้นที่ 1
              ่
  แทนค่าความเข้มข้นของสารต่าง ๆ ที่ภาวะ
  สมดุลจากขั้นที่ 4 ลงในขันที่ 5
                          ้
  คำานวณหาตัวแปร จากขั้นที่ 6ได้
  ตอบคำาถามจากคำาถามในโจทย์
Ex 3 ปฏิก ิร ิย า A(s) + 2B(g) + 2C(g)
                 2D(g)

ทีภาวะสมดุล ในภาชนะขนาด 2 dm3
  ่
    มี A 4 mol B 4 mol
C 2 mol และ D 6 mol จงคำานวณ
    หาค่าคงทีสมดุล
             ่
Ex 4 H2 ทำา ปฏิก ิร ิย ากับ F2 ได้
ผลิต ภัณ ฑ์เ ป็น HF มีค า คงที่
                          ่

สมดุลเท่ากับ 1.15 x 102 เมือเริ่มต้น
                              ่
 ปฏิกิริยามีแก๊สทังสาม
                  ้
ชนิดอยู่ชนิดละ 3 mol ในภาชนะ
 ขนาด 1.5 dm3 จงคำานวณ
หาความเข้มข้นของแก๊สทั้งสามชนิดที่
 ภาวะสมดุล
ปฏิกริยาระหว่าง H2 กับ F2 ทีภาวะ
    ิ                       ่
7.4 ปัจ จัย ที่ม ีผ ลต่อ ภาวะสมดุล

 1. การเปลีย นความเข้ม ข้น :
           ่
  การเปลียนแปลงความ
         ่                   เข้ม
  ข้นของสารตังต้นทำาให้ภาวะสมดุล
               ้
  เปลียนไป เมือระบบเข้าสู่ภาวะ
      ่          ่
  สมดุลอีกครั้ง ความเข้มข้นของสาร
  ต่างๆ ณ ภาวะสมดุลจะแตกต่างจาก
  ความเข้มข้นทีภาวะสมดุลเดิม
                   ่
  * ความเข้มข้นมีผลต่อภาวะสมดุล
ถ้าเพิมความเข้มข้นของสารตังต้น
      ่                       ้
หรือลดความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
สมดุลเดิมเสียแล้วปฏิกิริยาจะเลือน  ่
จากซ้ายไปขวา
ถ้าลดความเข้มข้นของสารตังต้น้
หรือเพิมความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์
        ่
สมดุลเดิมเสียแล้วปฏิกิริยาจะเลือน    ่
จากขวาไปซ้าย
แล้วระบบจะเข้าสูสมดุลใหม่ทมีคา
                 ่              ี่ ่
การทดลอง 7.5

  การศึกษาผลของความ
  ดัน
      และอุณหภูมิต่อภาวะ
          สมดุล
จุดประสงค์การทดลอง

 อธิบายวิธีเตรียมแก๊ส NO2 และเขียน
 สมการแสดงปฏิกริยาทีเกิดขึ้นได้
                  ิ      ่
 ทำาการทดลองเพื่อศึกษาผลของการ
 เปลียนแปลงความดันและอุณหภูมิทมี
     ่                           ี่
 ผลต่อภาวะสมดุลของระบบได้
 อธิบายการเปลียนแปลงภาวะสมดุล
                ่
 ของระบบเมื่อมีการเปลียนแปลงความ
                       ่
ใช้ผลการทดลองเป็นเกณฑ์ในการ
ระบุว่าปฏิกริยาใดดูดหรือคายความ
            ิ
ร้อนได้
อธิบายการเปลียนแปลงค่าคงทีสมดุล
                ่            ่
ของปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน
เมื่อมีการเพิมหรือลดอุณหภูมของ
              ่            ิ
ระบบทีอยู่ในภาวะสมดุลได้
        ่
สารเคมีและอุปกรณ์

 สารเคมี
  ทองแดง
  กรดไนตริกเข้มข้น (16 mol
  /dm3)
อุปกรณ์
  หลอดทดลองขนาดใหญ่พร้อมจุก
  ยางเจาะ 1 รู ทีเสียบหลอดนำาแก๊ส
                 ่
  ซึ่งต่อกับสายยางและคลิปหนีบ
  หลอดทดลองขนาดเล็ก
  จุกยางปิดหลอดทดลองขนาดเล็ก
กระบอกฉีดยาปลายปิดขนาด 20
cm3
ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมตะแกรง
ลวดและทีกนลม
          ่ ั้
ทีตั้งหลอดทดลอง
  ่
อภิปรายก่อนการทดลอง

 วิธีเตรียมแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
 (NO2) สมการแสดงการเกิดปฏิกิริยา
 ระหว่างโลหะทองแดงและกรดไนตริก
 เข้มข้น
 เนื่องจากแก๊ส NO2 ละลายนำ้าได้
 กระบอกฉีดยาและหลอดทดลองที่ใช้
 ต้องแห้ง
การเก็บแก๊ส NO2 ในกระบอกฉีดยา
และหลอดทดลองต้องทำาอย่างรวดเร็ว
เมื่อแก๊สเต็มหลอดแก้วให้รีบปิดทันที
เพราะแก๊ส NO2 มีกลินเหม็นและเป็น
                    ่
อันตรายมาก
ระบบทีใช้ทดลองนี้มีแก๊ส NO2 ซึ่งมีสี
        ่
นำ้าตาลแดงปนอยู่กบแก๊ส N2O4 ซึ่ง
                  ั
ควรสังเกตสีของแก๊สในแต่ละหลอด
ขณะทีทำาการทดลองอย่างละเอียด
      ่
โดยเปรียบเทียบกับสีของแก๊สใน
หลอดที่ 3 ซึ่งใช้เป็นหลอดควบคุม
วิธ ีก ารทดลอง
นที่ 1 การเตรีย มแก๊ส NO2




 HNO3 5 cm3
   Cu 1 กรัม


  การเก็บแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ในหลอดฉีดยา
ี่ 2 การเปลี่ย นความดัน กับ ภาวะสมดุล
 สังเกตสีของแก๊สในหลอดฉีดยาที่เตรียมไว้แล้วจากตอนที่ 1
                                   บันทึกผล
กดก้านหลอดฉีดยาลงอย่างรวดเร็วจนปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่ง
           กดให้อยูตำาแหน่งนั้น 15 วินาที
                   ่
                           สังเกตสีแล้วเปรียบเทียบกับก่อนก
   ดึงก้านหลอดฉีดยาขึ้นมาอย่างรวดเร็วให้อยูทระดับเดิม
                                           ่ ี่
             กดให้อยูตำาแหน่งนัน 15 วินาที
                     ่         ้
                             สังเกตสีแล้วเทียบกับเมือกดลง
                                                    ่
        ทำาการทดลองตามขั้นตอน 2-3 ซำ้าอีกครั้ง
3 การเปลีย นอุณ หภูม ิก ับ ภาวะสมดุล
           ่
าหลอดทดลองบรรจุแก๊ส NO2(ทีเตรียมไว้ในตอนที่1) 3 หลอดโดย
                          ่




                                           ใช้เปรียบเทียบกับ
  จุ่มนำ้าร้อน T 70 ๐C   จุ่มในนำ้าแข็ง    หลอดที่ 1 และ2
     หลอดที่ 1            หลอดที่ 2            หลอดที่ 3
               สังเกตสีและเปรียบเทียบกับหลอดที่ 3
นำาหลอดทดลองทีจุ่มนำ้าร้อนมาจุ่มในนำ้าแข็งและหลอดทดลองที่จุ่ม
                   ่
ข็งมาจุ่มในนำ้าร้อน ตั้งไว้ครู่หนึง สังเกตสีและเปรียบเทียบสีกับหลอ
                                  ่




                                            ใช้เปรียบเทียบกับ
   จุ่มในนำ้าแข็ง      จุ่มนำ้าร้อน T 70 ๐C หลอดที่ 1 และ 2
      หลอดที่ 1             หลอดที่ 2           หลอดที่ 3
นำาหลอดทัง 2 ตั้งไว้ทอุณหภูมหองสักครู่
                 ้          ี่     ิ ้
สังเกตสีและเปรียบเทียบกับสีของแก๊สในหลอดทดลองที่ 3




หลอดที่ 1          หลอดที่ 2          หลอดที่ 3
ผลการทดลอง

ตอนที่ 1
 แก๊สที่เตรียมได้มีสนำ้าตาลแดง
                    ี

ตอนที่ 2
 เมื่อกดก้านหลอดฉีดยาลงไปอย่าง
 รวดเร็วให้มีปริมาตรลดลงครึ่งหนึ่ง
 หรือน้อยกว่า สังเกตเห็นสีนำ้าตาล
เข้มขึ้นชัวขณะหนึง แล้วสีจางลง
          ่        ่
เล็กน้อย หลังจากนันสีจะคงที่ แต่
                     ้
ความเข้มของสีมากกว่าก่อนกดก้าน
หลอดฉีดยา เมื่อดึงก้านหลอดฉีด
ขึ้นมาอยู่ทระดับเดิม ทำาให้ปริมาตร
            ี่
ของแก๊สเพิมขึ้น สังเกตเห็นสีของ
               ่
แก๊สจางลงชัวขณะหนึง ต่อมาสีเข้ม
                 ่     ่
ขึ้นอีกเล็กน้อยแล้วคงที่ แต่ความ
ตอนที่ 3
เมื่อนำาหลอดทดลองทีบรรจุแก๊สสี
                     ่
นำ้าตาลแดงหลอดที่ 1 จุ่มในนำ้าแข็ง
พบว่าแก๊สในหลอดมีสจางลงจนเกือบ
                       ี
ไม่มีสและคงที่ ส่วนหลอดที่ 2 ซึ่งจุ่ม
       ี
ในนำ้าร้อนมีสนำ้าตาลเข้มขึ้นเมือนำา
              ี                ่
หลอดที่ 1 จุ่มลงในนำ้าร้อน สีนำ้าตาล
แดงเข้มขึ้นและคงที่ และนำาหลอดที่
นำ้าแข็ง สีนำ้าตาลจางลงและคงที่
เมือนำาทั้งสองหลอดมาควบคุม
   ่
อุณหภูมิให้เท่ากันทีอุณหภูมห้อง
                      ่       ิ
แก๊สในหลอดทีไม่มีสจะเปลียนเป็นสี
                ่       ี   ่
เหลืองแล้วเข้มขึ้นจนเป็นสีนำ้าตาล
แดง ส่วนหลอดทีมีสนำ้าตาลแดงจะมี
                    ่ ี
สีจางลง ในที่สดแก๊สทังสองหลอดมี
                  ุ       ้
ความเข้มของสีเท่ากันและเท่ากับสี
อภิป รายผลการทดลอง

 ตอนที่ 1
 แก๊ส NO2 มีสนำ้าตาลแดงส่วนแก๊ส
               ี
 N2O4 ไม่มีสี ในระบบจึงมีภาวะสมดุล
 ระหว่างแก๊ส NO2 กับ แก๊ส N2O4 เกิด
 ขึ้นดังสมการ
          2NO2(g)       N2O4 (g)

      สีนำ้าตาลแดง      ไม่มสี
                            ี
ตอนที่ 2
การกดก้านหลอดฉีดยาเป็นการลด
ปริมาตรของแก๊ส ทำาให้ความดัน
และความเข้มข้นของแก๊สเพิมขึ้น
                         ่
ขณะกดก้านหลอดฉีดยาในตอน
แรก แก๊สผสมมีสเข้มขึ้นมา
               ี
เนืองจากโมเลกุลของแก๊ส NO2 เข้า
   ่
ต่อมาสีจางลงเล็กน้อยแสดงว่าทีภาวะ่
นี้แก๊ส NO2 ลดลง เพราะเกิดปฏิกริยา ิ
เป็นแก๊ส N2O4 เพิมขึ้น หลังจากนั้นสี
                 ่
จะเข้มขึ้นแล้วคงที่ แสดงว่าระบบเข้า
สู่ภาวะสมดุลอีกครั้ง แต่เมื่อดึงก้าน
หลอดฉีดยาสีของแก๊สจางลง แสดง
ว่าความเข้มข้นของแก๊ส NO2 ใน
ว่าภาวะสมดุลของระบบเปลียนแปลง
                       ่
ไปและในทีสุดระบบจะเข้าสูภาวะ
          ่              ่
สมดุลอีกครั้ง
สรุป ตอนที่ 2
สรุปได้วาการเปลียนแปลงความดัน
        ่         ่
ของระบบ ทำาให้สมดุลของระบบถูก
รบกวนและในทีสดระบบก็จะปรับตัว
              ่ ุ
ตอนที่ 3
1. เมื่อลดอุณหภูมิ แก๊สมีสจางลงแล้ว
                          ี
คงที่ แสดงว่าภาวะสมดุลเปลียนแปลง
                            ่
ไปเนื่องจากแก๊ส NO2 เกิดปฏิกิริยาได้
แก๊ส N2O4 เพิมขึ้น แล้วระบบเข้า
             ่
สู่่สมดุลอีกครั้ง ณ อุณหภูมินั้น สี
จึงคงที่
2. เมื่อเพิมอุณหภูมิ แก๊สมีสีเข้มขึ้น
           ่
แสดงว่าภาวะ         สมดุลเปลียนแปลง
                                ่
ไปโดยเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ ทำาให้มี
แก๊ส NO2 เกิดมากขึ้น สีจึงเข้มขึ้น
แล้วคงที่ แสดงว่าระบบเข้าสูสมดุลอีก
                              ่
ครั้ง ณ อุณหภูมิ
3. เมื่อเพิมอุณหภูมิแล้วเกิดแก๊ส NO2
           ่
มากขึ้น แสดงว่าการเกิดแก๊ส NO2
เป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน แต่เมื่อลด
อุณหภูมิแก๊ส NO2 จะลดลง เกิดแก๊ส
N2O4 เป็นปฏิกริยาคายความร้อน
                  ิ
                 คายความร้อน
เขียนสมการแสดงภาวะสมดุ4ลได้ดังนี้
         2NO2(g) ดูดความร้อน N2O (g)
สรุป ตอนที่ 3
   สรุปได้วาปฏิกิริยาทีเกิดได้ดีที่
             ่           ่
อุณหภูมิสงเป็นปฏิกิริยาดูดความ
           ู
ร้อน ในทางกลับกันปฏิกิริยาคาย
ความร้อนจะเกิดได้ดีทอุณหภูมิตำ่า
                      ี่
   เมื่ออุณหภูมิเปลียนแปลงทำาให้
                    ่
ภาวะสมดุลของระบบเปลียนแปลง ่
และระบบจะเข้าสูสมดุลอีกครั้ง จึง
                  ่
ตาราง 7.6 แสดงความเข้มข้นของแก๊ส
NO2 N2O4 และค่าคงที่สมดุล ณ
อุณหภูมต่าง ๆ ของปฏิกิริยา
       ิ
       N2O4 (g)          2NO2(g)

        ค มเข้ น ภ วะสมดุ
         วา มข้ ที่ า      ล
อุณ ภู
   ห มิ             3               [ NO2 ] 2
  ๐          (ml/m
               od )            K=
                                     [ N 2O4 ]
  (C )
          [N 2
            O]      [NO]
                       2 4
                                           -3
   25     07
           .06       06
                      .92       6 x1
                                 .0 0
                                     -2
   35     00
           .18       04
                      .96       1 x1
                                 .2 0
                                     -2
   45     04
           .19       09
                      .89       2 x1
                                 .5 0
                                     -2
   55     00
           .21       04
                      .08       8 x1
                                 .4 0
ตาราง 7.7 ค่าคงที่สมดุล ณ อุณหภูมิ
ต่างๆของปฏิกิริยา
N2(g) + 3H2(g)
2NH3(g)
    อุณ ( C
       หภูมิ )
           ๐
                        ค่าคงทีสมดุล(K)
                                ่
                                    5
        25                  6 x1
                             .0 0
        20
         0                    05.6
        30
         0                    01
                               .01
                                   -4
        40
         0                  6 x1
                             .2 0
                                   -5
        50
         0                  7 x1
                             .4 0
ค่าคงทีสมดุล
             ่




                            อุณหภูมิ
กราฟแสดงความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งค่า คงที่ส มดุล
   กับ อุณ หภูม ิข องปฏิก ิร ิย าดูด ความร้อ น
ค่าคงทีสมดุล
             ่




                            อุณหภูมิ
กราฟแสดงความสัม พัน ธ์ร ะหว่า งค่า คงที่ส มดุล
   กับ อุณ หภูม ข องปฏิก ิร ิย าคายความร้อ น
                ิ
การเปลีย นความดัน และอุณ หภูม ิ
        ่
  1. การเปลียนแปลงอุณหภูมิของ
              ่
   ระบบใดๆ ณ ภาวะสมดุล ทำาให้
   ค่าคงทีสมดุลเปลียนแปลง
            ่       ่
  2. ค่าคงที่สมดุลจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
   ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกริยาว่าเป็น
                          ิ
   ปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน
  3. ถ้าเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
   การลดอุณหภูมิจะทำาให้เกิด
   ผลิตภัณฑ์มากขึ้น ค่าคงที่สมดุลจะ
หลักของเลอชาเตอลิเอ กล่าวว่า

 “ เมื่อระบบทีอยู่ในภาวะสมดุลถูก
                ่
 รบกวนโดยการเปลียนแปลงปัจจัยทีมี
                    ่              ่
 ผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะ
 เกิดการเปลียนแปลงไปในทิศทางทีจะ
              ่                  ่
 ลดผลของการรบกวนนัน เพื่อให้
                       ้
 ระบบเข้าสูภาวะสมดุลอีกครั้ง”
            ่
การอธิบายโดยใช้หลักของเลอชาเตอ
ลิเอ
 การเปลี่ยนความเข้มข้นของสารมีผล
 ต่อภาวะสมดุล กล่าวคือเมือเพิ่มความ
                          ่
 เข้มข้นของสารชนิดใดชนิดหนึ่งใน
 ระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ระบบจะ
 ปรับตัวไปในทิศทางที่จะลดความเข้ม
 ข้นของสารนั้น เมื่อลดความเข้มข้น
 ของสารชนิดใดชนิดหนึ่งในระบบที่
 อยู่ในภาวะสมดุล ระบบจะปรับตัวไป
 ในทิศทางที่จะเพิ่มความเข้มข้นของ
การเปลี่ยนความดันมีผลต่อภาวะ
สมดุลของระบบที่เป็นแก๊ส ซึ่งมีจำา
นวนโมลรวมของแก๊สที่เป็นสารตั้งต้น
ไม่เท่ากับจำานวนโมลรวมของ
ผลิตภัณฑ์ กล่าวคือเมื่อเพิ่มความดัน
ให้แก่แก๊สในระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล
 ระบบจะปรับตัวในทิศทางที่จะลด
ความดันคือมีจำานวนโมลลดลงแล้ว
แล้วเข้าสู่ภาวะสมดุล แต่ถ้าลดความ
ดันของแก๊สในระบบที่อยู่ในภาวะ
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมของระบบมี
                       ิ
ผลทำาให้ภาวะ          สมดุล
เปลี่ยนแปลง กล่าวคือถ้าเพิ่มอุณหภูมิ
ให้แก่ระบบ ระบบจะปรับตัวไปใน
ทิศทางที่จะลดอุณหภูมิโดยการ ดูด
ความร้อนไปใช้ในการเกิดปฏิกิริยา
แล้วเข้าสู่ภาวะ        สมดุล ใน
ทางตรงกันข้ามถ้าลดอุณหภูมของิ
ระบบ ระบบจะปรับตัวไปในทิศทางที่
จะเพิ่มอุณหภูมิโดยการคายความร้อน
การใช้หลักของเลอชาเตอลิเอใน
อุตสาหกรรม

 การผลิตแก๊สแอมโมเนีย
 แก๊สแอมโมเนียใช้เป็นวัตถุดิบในการ
 ผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต พลาสติก
 หรือสีย้อม โซดาแอช การผลิตแก๊ส
 แอมโมเนียใช้สารตังต้นคือ แก๊ส
                   ้
 ไนโตรเจน (N2) กับแก๊ส
  N2 (g) + 3H2 (g)    2NH3(g) + 92 kJ
 ไฮโดรเจน(H2) ดังสมการ
ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน
และผันกลับได้ ณ ภาวะสมดุลจึงมีทง    ั้
สารตังต้นและผลิตภัณฑ์ทกชนิดผสม
      ้                    ุ
กัน
   ถ้านำาข้อมูลจากการทดลองผลิต
แก๊สแอมโมเนียที่อณหภูมิและความดัน
                    ุ
ต่าง ๆ มาเขียนกราฟ จะได้ดังรูป
7.15
ณ อุณหภูมิและความดันต่าง ๆ
             เมื่อใช้แก๊ส N2
ยละของจำานวนโมลของ NH3 ในแก๊สผสม
                         และ H2 ผสมกันในอัตราส่วน 1
             : 3 โดยปริมาตร
                           100                                 200 ๐C
                                                               300 ๐C
                                   80                          400 ๐C

                                   60                          500 ๐C

                                   40                          600 ๐C
                                   20                          700 ๐C
                                        0
                                            200 400 600 800 1000ความดัน (atm)
จากกราฟทำาให้ทราบว่า ณ ความดัน
  ค่าหนึง เมื่อใช้
        ่
อุณหภูมิตำ่า จะผลิตแก๊ส NH3 ได้
  มากกว่าเมือผลิตทีอุณหภูมิ
             ่     ่
สูง และอุณหภูมิยิ่งสูง ยิ่งผลิตแก๊ส
  แอมโมเนียออกมาได้
น้อย ซึ่งสามารถอธิบายโดยใช้หลักเลอ
เนื่องจากปฏิกิริยาของการผลิต NH3
เป็นแบบคายความร้อน การลด
อุณหภูมิจะทำาให้สมดุลของระบบเสีย
ไปในทิศทางทีเกิดแก๊สแอมโมเนียมาก
               ่
ขึ้น เพือคายพลังงานเพิมขึ้น ซึ่งเป็น
        ่             ่
ไปตามหลักของเลอชาเตอลิเอ ที่
สมดุลใหม่จะพบว่ามีปริมาณ NH3 เพิม   ่
ลดอุณหภูมิ
    N2 (g) + 3H2 (g)    2NH3(g) + 92 kJ




ดังนันถ้าต้องการเตรียมแก๊สแอมโมเนีย
      ้
  ให้ได้ปริมาณมาก
จึงควรเตรียมทีอุณหภูมตำ่าและความดัน
              ่       ิ
  สูง
นอกจากต้องผลิตแก๊ส NH3 มากๆ แล้ว
    ต้องคำานึงถึงเวลา
ทีใช้ในการเกิดปฏิกิริยา คือ ถ้าผลิตที่
  ่
    อุณหภูมิตำ่า จะมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาตำ่า ทำาให้ได้แก๊ส
    NH3 ช้า เป็นการ
สินเปลืองเวลา จากการทดลองพบว่า
  ้
การผลิตแก๊ส NH3 มีขอบเขตจำากัด
  ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณ์ที่
ทนความดันสูงมีราคาแพงมาก ความ
  ดันทีเหมาะสมในการ
         ่
เตรียมแก๊ส NH3คือ 350 บรรยากาศ
การเตรียมแก๊สแอมโมเนียใน
 อุตสาหกรรมจึงใช้แก๊ส
ไนโตรเจนทำาปฏิกิริยากับแก๊ส
 ไฮโดรเจนที่อณหภูมิ
              ุ
500 ๐C ความดัน 350 บรรยากาศ
 โดยมีเหล็กเป็นตัวเร่ง
ปฏิกิริยา กระบวนการสังเคราะห์ดัง
การเตรียมแก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ใช้เป็นสาร
ตั้งต้นในการเตรียมกรดซัลฟิวริก โดย
ให้แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทำา
ปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนดังสมการ
   2SO2 (g) + O2 (g)   2SO3(g) +พลังงาน
ปฏิกิริยาเป็นแบบคายความร้อน และ
  ผันกลับได้ ถ้า
ต้องการได้ผลิตภัณฑ์มากควรลด
  อุณหภูมิ และเพิมความ
                 ่
ดัน เช่นเดียวกับ การผลิตแก๊ส
  แอมโมเนีย โดยใช้
อุณหภูมิ 450 ๐C และความดัน 1
การผลิตแก๊สฟอสจีน (COCl2)
แก๊สฟอสจีนใช้เป็นสารตังต้นในการเต
                       ้
รียมพลาสติกชนิดพอลิคาร์บอเนต ซึ่ง
มีสมบัติแข็งและใส ทนความร้อนได้ดี
 นิยมนำามาใช้ทำาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น
ขวดนมเด็ก ฝาครอบ โคมไฟฟ้า
พลาสติกชนิดพอลิยูรีเทน ซึ่งมีสมบัติ
ทำานำ้ายาเคลือบผิว ล้อรถเข็น ชุดว่าย
  นำ้า และยังใช้
แก๊สฟอสจีนในการผลิตสารกำาจัด
  แมลง สีย้อมและยา
  การเตรียมแก๊สฟอสจีนเริ่มต้นจาก
  ปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส Cl2 กับแก๊ส
  CO เขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่
ปฏิกิริยานีเป็นปฏิกริยาดูดความร้อน
           ้       ิ
  โดยให้แก๊สทังสอง
                 ้
ชนิดนีทำาปฏิกิริยากันทีอณหภูมิ 200
       ้               ่ ุ
  ๐
    C โดยมีผงถ่าน
เป็นตัวเร่งปฏิกริยา ถ้าต้องการให้ได้
               ิ
  ผลิตภัณฑ์มากๆ
ต้อง เพิมอุณหภูมิและลดความดัน
         ่
การสังเคราะห์เพชรจากแกรไฟต์
ซึ่งนักวิทยาศาสตร์สังเคราะห์ได้สำาเร็จ
ในปี พ.ศ. 2498 สมการแสดงการ
เปลียนแปลงได้ดังนี้
     ่ + 1.9 kJ
    C(s)                C(s)


แกรไฟต์
เพชร
เนืองจากเพชรมีความหนาแน่นสูงกว่า
   ่
  แกรไฟต์
ปริมาตรต่อโมลของเพชรมีค่าน้อย
  กว่าปริมาตรต่อโมล
ของแกรไฟต์ การอัดแกรไฟต์ภายใต้
  ความดันสูงมากจะ
มีผลทำาให้แกรไฟต์เปลียนเป็นเพชร
                     ่
การสังเคราะห์เพชร คือ อุณหภูมิ
  2000 ๐C ความดันตั้ง
แต่ 50,000 ถึง 100,000
  บรรยากาศ และใช้ตวเร่ง
                     ั
ปฏิกิริยาพวก โครเมียม เหล็กหรือ
  แพลทินม เพชร
          ั
สังเคราะห์มความแข็งใกล้เคียงกับเพชร
            ี
ตัด บด หรือเจียระไน ในปี
  พ.ศ.2518 ได้มีการ
สังเคราะห์เพชรทีมลกษณะเหมือนเพชร
                ่ ี ั
  แท้และมีขนาด
ใหญ่ถึง 1 กะรัต แต่คาใช้จ่ายในการ
                      ่
  สังเคราะห์สงมาก
             ู
ทำาให้เพชรสังเคราะห์มราคาสูงกว่า
                        ี
การผลิตแคลเซียมออกไซด์หรือปูนดิบ

ปูนดิบเป็นของแข็งสีขาวทีมี ่
จุดหลอมเหลว 2572 ๐C การผลิต
ทำาได้โดยการเผาหินปูน เปลือกหอย
ซึ่งมีองค์ประกอบส่C นใหญ่เป็น
            500-600 0 ว
 CaCO3(s)               CaO(s) + CO2(g)
CaCO3 ปฏิกริยาทีเกิดขึ้นเป็นดังนี้
              ิ       ่
ปูนดิบเป็นวัสดุสำาคัญในการผลิตสาร
  เคมีหลายชนิด เช่น
แคลเซียมคาร์ไบด์ ใช้ใน
  อุตสาหกรรมเหล็กกล้าเพือ่
กำาจัดสารเจือปนที่เป็นกรดในแร่เหล็ก
   ใช้ในการบำาบัด
ความเป็นกรดในนำ้า และควบคุม
เนื่องจากค่าคงทีสมดุลในปฏิกิริยานี้ขึ้น
                  ่
  อยู่กับความเข้ม
ข้นของแก๊ส CO2 ดังนันจึงต้องมีการ
                      ้
  ถ่ายเทหรือระบาย
แก๊ส CO2 ออกจากปฏิกริยา เพือให้
                        ิ      ่
  ปฏิกิริยาดำาเนินไป
ในทิศทางทีทดแทนปริมาณ CO2 ทีหาย
            ่                    ่
สมดุลเคมีในสิงมีชวิตและสิ่งแวดล้อม
             ่   ี

 กระบวนการหายใจและแลกเปลียน     ่
 แก๊สในระบบหมุนเวียนเลือด
 ในภาวะปกติขณะทีร่างกายผู้ชายจะ
                    ่
 ใช้ O2 ประมาณ 250 มิลลิลตรต่อิ
 นาที และมีความต้องการเพิมขึ้นเมื่อ
                            ่
 ทำากิจกรรมหรือออกแรงมากขึ้น O2
 จะถูกลำาเลียงไปยังส่วนต่าง ๆของ
ของฮีโมโกลบิน (Hb) ซึ่งเป็นโปรตีนใน
  เม็ดเลือดแดง
โมเลกุลของฮีโมโกลบินทีรวมอยู่กบ O2
                       ่       ั
  เรียกว่า ออกซี
      Hb + O2               HbO2
ฮีโมโกลบิน เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
 ฮีโมโกลบิน           ออกซีฮโมโกลบิน
                            ี
รูป 7.16 การแลกเปลี่ยน O2 และ CO2
โดยการแพร่ผ่านระหว่างถุงลมในปอดกับ
เส้นเลือดฝอย

                 O2


               CO2
              ถุงลมปอด
สมการแสดงปฏิกริยาทีเกิดขึ้นใน
               ิ      ่
  กระบวนการเมแทบอ
ลิซึมของกลูโคสซึ่งใช้ออกซิเจน
C6H12O6 + 6O2           6CO2 +
  6H2O + พลังงาน
กลูโคส
จากสมการในการเผาผลาญกลูโคส 1
ทีเนือเยื่อมีปริมาณสูงขึ้น CO2 จะ
  ่ ้
   แพร่เข้าสู่เลือดใน
หลอดเลือดฝอยเพือส่งผ่านไปยังปอด
                    ่
   ซึ่ง CO2 จะทำา
ปฏิกิริยากับนำ้าเกิดเป็นกรดคาร์บอนิก
 (H2CO3) และแตก
ตัวอยู่ในรูปของไฮโดรเจนคาร์บอเนต
  ไอออน (HCO3)
เมือไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนถูก
   ่
  ส่งไปถึงหลอดเลือด
ฝอยรอบถุงลมปอด ซึ่งภายในถุงลม
  ปอดมีความดันของ
CO2 น้อย ปฏิกิริยาจะเกิดย้อนกลับ
  เพือความดัน โดย
     ่
CO2 ในหลอดเลือดฝอยจะแพร่เข้าสู่
  ถุงลมปอดและถูก
จากการศึกษาพบว่าในเลือดของคนที่
  อาศัยอยู่ในพื้นทีสง
                   ่ ู
กว่าระดับนำ้าทะเลมากๆ จะมีความเข้ม
  ข้นของฮีโมโกลบิน
ในเม็ดเลือดแดงสูง แสดงว่าภาวะ
  แวดล้อมทีแตกต่างกัน
              ่
เป็นปัจจัยทีมีผลต่อการทำางานของระบบ
            ่
  ต่างๆภายใน
ร่างกาย และผู้ที่ตองเดินทางไปในพื้นที่
                    ้
อาการไฮพอกเซีย ใช้หลักของเลอ
   ชาเตอลิเออธิบายได้ดัง
นี้ เมื่อความเข้มข้นของ
   ออกซิเจน(สตต.)ลดลง ปฏิกิริยา
ย้อนกลับจะเกิดมากขึ้น ทำาให้
   ปริมาณของออกซี
ฮีโมโกลบินลดลง เป็นผลให้การ
   ขนส่ง O2 ไปเลียง
                 ้
สมดุลของแคลเซียมในร่างกาย

  แคลเซียมในร่างกายร้อยละ 98 - 99
  เป็นองค์ประกอบ
ของ กระดูก และ ฟัน ส่วนทีเหลือจะอยู่
                         ่
  ในเนื้อเยื่อและ
กระแสเลือด การเจริญเติบโตของ
  กระดูกจะถึงจุดสูงสุด
เมื่ออายุประมาณ 35 ปี และหลังจาก
การสูญเสียแคลเซียมในกระดูกของผู้
  หญิงจะเกิดเร็วใน
ช่วงหมดประจำาเดือน สำาหรับผู้ชาย
  จะสูญเสียน้อยกว่า
  เพือให้การทำางานของระบบต่างๆ
     ่
  ในร่างกายอยู่ในสภาพปกติ จึง
  ต่้องมีการรักษาระดับของ
  แคลเซียมในเลือดให้คงทีและอยู่ใน
                        ่
  ภาวะสมดุลกับปริมาณแคลเซียมใน
แคลเซียมจากกระดูก เพื่อการดูด
ซึมแคลเซียมจากลำาไส้พร้อมกับลด
การสูญเสียทางปัสสาวะ หรือขณะ
ทีร่างการอยู่ในภาวะทีมการ
  ่                    ่ ี
ซ่อมแซมกระดูกทีแตกหักจะเกิดการ
                   ่
ดูดซึมแคลเซียมเข้าไปในกระแส
เลือดมากขึ้น กระบวนการทีเกิดขึ้น
                           ่
ตามที่กล่าวมาแล้วมีลกษณะสมดุล
                     ั
ไดนามิกแล้วทังสิน
               ้ ้
สภาพความเป็นกรดของนำ้าในสิงแวดล้อม
                              ่
ทำาให้เกิดปรากฏการณ์ตางๆ ตัวอย่างที่
                      ่
พบเห็นในธรรมชาติ เช่น การเกิด
หินย้อยและหินงอก ซึ่งเกิดจากนำ้าที่มี
สภาพเป็นกรดไหลซึมผ่านดินและทำา
ปฏิกิริยากับหินปูน จะได้ผลิตภัณฑ์ที่่
เป็นแคลเซียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต ซึ่ง
จะละลายในนำ้าทีซึมผ่านจนอิมตัวและอาจ
                 ่          ่
มีความเข้มข้นถึง 200 ppm เมื่อนำ้า
ไหลซึมผ่านเข้าไปในถำ้าซึ่งมี CO2 ใน
CO2(g) + 2H2O(l)       H3O+(aq) +
 HCO3-(aq)
CaCO3(s) + H3O+(aq)     Ca2+(aq) +
 HCO3-(aq) + H2O(l)


 ปฏิกิริยารวม
CaCO3(s) + H2O(l) + CO2(g)
    Ca2+(aq) + 2HCO3-(aq)
สมดุลเคมี

More Related Content

What's hot

เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์Preeyapat Lengrabam
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรตkrurutsamee
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์Gawewat Dechaapinun
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and SolutionDr.Woravith Chansuvarn
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)oraneehussem
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบY'Yuyee Raksaya
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซกPreeyapat Lengrabam
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 

What's hot (20)

กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์2 กฎของบอยล์
2 กฎของบอยล์
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
บทที่ 3 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
บทที่9 ไฟฟ้าเคมี (สำรอง)
 
Buffer h in
Buffer h inBuffer h in
Buffer h in
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 

Similar to สมดุลเคมี

Similar to สมดุลเคมี (20)

สมดุล
สมดุลสมดุล
สมดุล
 
รายงานเรียน
รายงานเรียนรายงานเรียน
รายงานเรียน
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
Rate012
Rate012Rate012
Rate012
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ประภา
ประภาประภา
ประภา
 
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมีทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
ทบทวนเรื่องสมดุลเคมี
 
Electrochemistry01
Electrochemistry01Electrochemistry01
Electrochemistry01
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
เคมี ปี 55
เคมี ปี 55เคมี ปี 55
เคมี ปี 55
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
Chap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometryChap 2 stoichiometry
Chap 2 stoichiometry
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
Bk
BkBk
Bk
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 

สมดุลเคมี