SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
รายงาน
เรีอง
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์

เสนอ
อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ

จัดทําโดย
นายฉัตรณรงค์ นกศรีแก้ ว เลขที 3
ชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1

โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
คํานํา
รายงานฉบับนีเป็ นส่วนหนึงของรายวิชาคอมพิวเตอร์ทีมีเนือหาเกียวกับระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
ประเภทของระบบเครื อข่ายและการส่งสัญญาณคณะผูจดทําหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีจะให้ประโยชน์
้ั
และสามารถทีจะนํามาใช้เป็ นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้แก่ผสนใจหากรายงายฉบับนีมีขอบกพร่ อง
ู้
้
ประการใด ทางผูจดทําก็ขออภัยมา ณ โอกาสนีด้วย และจะนําไปปรับปรุ งในโอกาสต่อไป
้ั

ผูจดทํา
้ั
นาย ฉัตรณรงค์ นกศรี แก้ว
สารบัญ
เรือง

หน้ า

ความหมายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

1

การเชือมโยงเครื อข่าย

2

ชนิดของเครื อข่าย

6

อุปกรณ์เครื อข่าย

7

อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต

8

ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

9

ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ

10

อ้างอิง
เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื อคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก(computernetwork) ศัพท์บญญัติว่าข่ายงาน
ั
คอมพิวเตอร์) คือเครื อข่ายการสือสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตังแต่สองเครื องขึนไป
ํ
สามารถแลกเปลียนข้อมูลกันได้ การเชือมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครื อข่าย (โหนด
เครื อข่าย) จะใช้สือทีเป็ นสายเคเบิลหรื อสือไร้สาย เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีรู้จกกันดีคือ อินเทอร์เน็ต
ั
การทีระบบเครื อข่ายมีบทบาทสําคัญมากขึนในปัจจุบน
ั
เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง
แพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านันถึงกัน เพือเพิ มความสามารถของระบบให้
สูงขึน และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง
การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครื อข่าย ทําให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ มมากขึน การแบ่งการใช้
ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
ต่าง ๆ ทีมีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื องพิมพ์ เครื องกราดภาพ (scanner) ทําให้
ลดต้นทุนของระบบลงได้
อุปกรณ์เครื อข่ายทีสร้างข้อมูล ส่งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรี ยกว่าโหนดเครื อข่าย โหนด
ประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและฮาร์ดแวร์ของระบบเครื อข่าย อุปกรณ์สองตัว
จะกล่าวว่าเป็ นเครื อข่ายได้ก็ต่อเมือกระบวนการในเครื องหนึงสามารถทีจะแลกเปลียนข้อมูลกับ
กระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึงได้
เครื อข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่ วมกันของแอปพลิเคชัน,
การใช้เซิร์ฟเวอร์สาหรับเก็บข้อมูลร่ วมกัน การใช้เครื องพิมพ์และเครื องแฟ็ กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมลและ
ํ
โปรแกรมส่งข้อความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน
การเชือมโยงเครือข่ าย

สือกลางการสือสารทีใช้ในการเชือมโยงอุปกรณ์เพือสร้างเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยสาย
เคเบิลไฟฟ้ า (HomePNA, สายไฟฟ้ าสือสาร, G.hn), ใยแก้วนําแสง และคลืนวิทยุ (เครื อข่ายไร้สาย) ในโมเดล
OSI สือเหล่านีจะถูกกําหนดให้อยูในเลเยอร์ที 1 และที 2 หรื อชันกายภาพและชันเชือมโยงข้อมูล
่
ครอบครัวของสือการสือสารทีถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและถูกนํามาใช้ในเทคโนโลยีเครื อข่าย
ท้องถิ น (LAN) เรี ยกว่า อีเธอร์เน็ต มาตรฐานของสือกลางและของโพรโทคอลทีช่วยในการสือสารระหว่าง
อุปกรณ์ในเครื อข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์เน็ตในโลกไซเบอร์มีทง
ั
เทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและแบบไร้สาย อุปกรณ์ของ LAN แบบใช้สายจะส่งสัญญาณผ่านสือกลาง
ทีเป็ นสายเคเบิล อุปกรณ์ LAN ไร้สายใช้คลืนวิทยุหรื อสัญญาณอินฟราเรดเป็ นสือกลางในการส่งผ่าน
สํญญาณ
เทคโนโลยีแบบใช้ สาย
เทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนีเรี ยงลําดับตามความเร็ วจากช้าไปเร็ ว

รูปแสดงสาย UTP
สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุ ดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่ม
ั
ของสายทองแดงหุ ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุม
้
ฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์ เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE
802.3) จะเป็ นสายคู่บิดจํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่ งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็ น
ํ
เกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่ งอยู่
ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมาในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจาก
้
การเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก) (unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair
ั
หรื อ STP) แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน

รูปแสดง STP จะเห็น sheath ทีเป็ นตัวนําปองกันอยู่รอบนอก
้
สายโคแอคเชี ยล ถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและสถานทีทํางานอืนๆ ใน
เครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียมเส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ น
วัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงทีสู ง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนํา
่
แม่เหล็กไฟฟ้ าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็วในการส่ งข้อมูลอยู่
ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที
รูปแสดงสายโคแอคเชียล
'ITU-T G.hn เป็ นเทคโนโลยีทีใช้สายไฟทีมีอยูในบ้าน (สายโคแอค, สายโทรศัพท์และสายไฟฟ้ า) เพือสร้างเครื อข่าย
่
ท้องถิ นความเร็ วสู ง (ถึง 1 Gb/s)
ใยแก้วนําแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่ งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงทีเหนือกว่าสาย
ั
โลหะก็คือมีการสู ญเสี ยในการส่ งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่ งรวดเร็วมากถึงล้าน
ล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่ งผ่านสายเคเบิลใยแก้ว
นําแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน

เทคโนโลยีไร้ สาย
ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสือสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่งและเครื องรับสัญญาณจาก
สถานีบนผิวโลกทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิกะเฮิรตซ์ทีตํา ซึงจํากัดการ
ั
่
สือสารทังหมดด้วยเส้นสายตาเท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์)
ดาวเทียมสือสาร - การสือสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดยชัน
บรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร geosynchronous ที
่
35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนีมีความสามารถในการรับและ
ถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี
ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสือสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคที
ครอบคลุมออกเป็ นพืนทีทางภูมิศาสตร์หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่งหรื ออุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอด
สัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอดสัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีกพืนทีหนึงข้างหน้า
เทคโนโลยีวทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรัม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี
ิ
สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่ กระจาย
ั
คลืนความถีเพือการสือสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด. IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไป
ั
ของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิ ดทีรู้จกกันคือ Wifi
ั
การสือสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณี ส่วนใหญ่
การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึงจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์การสือสาร
เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งาน
ํ
มือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายทีสําคัญในการ
สือสารเคลือนทีคือการส่งมอบการสือสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไปอีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่งมอบ
้
นีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สายบนผิวโลก

ชนิดของเครือข่ าย
ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึงปัจจุบนเครื อข่ายทีรู้จกกันดีมีอยู่ 6 แบบ
ั
ั
ได้แก่
เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกันในพืนที
ใกล้เคียงกัน เช่นอยูในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน
่
เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกัน ใน
ระยะทางทีห่างไกล อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร
เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN)
เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area network) : CAN) เป็ น
เครื อข่ายทีใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU)
เครื อข่ายส่วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลือนทีส่วน
บุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้
เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่ายย่อย) ความเร็วสูง
วัตถุประสงค์เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบน
ั
ั
คัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่ของผูใช้
้

อุปกรณ์ เครือข่ าย
เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลักในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บ
และให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ น
้
เซิ ร์ฟเวอร์ มกจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสู ง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสู งกว่าคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ในเครื อข่าย
ั
ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายทีร้องขอ บริ การและเข้าถึง
ไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย
้
้
ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าทีรับส่ งเฟรมข้อมูลทุก
เฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูล
ของเครื อข่าย เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์ เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่ งข้อมูลลดลง
ั

เนทเวิร์คสวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ที 2 และทําหน้าทีส่งข้อมูลทีได้รับมา
จากพอร์ตหนึงไปยังพอร์ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้คอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อกับพอร์ตทีเหลือ
ส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการรับส่งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์
่ ั
ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนีมากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
ั
เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ที 3 เราท์เตอร์จะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานี
ปลายทางทีส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตวจัด
ั
เส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเทเบิ ล(Routing Table) หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่งข้อมูลไปยัง
เครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ
AppleTalk นอกจากนียังเชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต
บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทําให้สามารถ
ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการ
ติดต่อของเครื องทีอยูในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และ
่
ู
เนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ทีทํางานอยูในระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อ
่
เครื อข่ายทีแตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น
บริ ดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชือมเครื อข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายใหญ่ เพียงเครื อข่ายเดียว
เพือให้เครื อข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อกับเครื อข่ายย่อยอืนๆ ได้
เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ใน
การเชือมต่อเครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC)
เป็ นต้น

อินทราเน็ตและเอ็กซ์ ทราเน็ต

อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นส่วนหนึงหรื อส่วนขยายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีมักจะเป็ น
LAN
อินทราเน็ต เป็ นชุดของเครื อข่ายทีอยูภายใต้การควบคุมของหน่วยการบริ หารเดียว อินทราเน็ตใช้
่
โปรโตคอล IP และเครื องมือทีเป็ น IP-based เช่นเว็บเบราเซอร์และโปรแกรมการถ่ายโอนไฟล์ หน่วยการ
บริ หารจํากัดการใช้อินทราเน็ตเฉพาะผูได้รับอนุญาตเท่านัน ส่วนใหญ่แล้ว อินทราเน็ตจะเป็ นเครื อข่าย
้
ภายในองค์กร อินทราเน็ตขนาดใหญ่มกจะมีเว็บเซิร์ฟเวอร์อย่างน้อยหนึงตัวเพือให้ผใช้เข้าถึงข้อมูลของ
ั
ู้
องค์กรเอง
เอ็กซ์ ทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายทียังอยูภายใต้การควบคุมของผูดูแลระบบขององค์กรเดียว แต่สนับสนุน
่
้
การเชือมต่อทีจํากัดเฉพาะเครื อข่ายภายนอกทีเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่นองค์กรอาจจัดให้มีการเข้าถึงบาง
แง่มุมของอินทราเน็ตของบริ ษทเพือแชร์ขอมูลร่ วมกับคู่คาทางธุรกิจหรื อลูกค้า หน่วยงานอืน ๆ เหล่านีไม่
ั
้
้
จําเป็ นต้องได้รับความเชือถือจากมุมมองของการรักษาความปลอดภัย การเชือมต่อเครื อข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต
มักจะเป็ น, แต่ไม่เสมอไป, การดําเนินการผ่านทาง WAN เทคโนโลยี
ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หนึงเครื อข่ายจะมีการทํางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ทีเรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup)
แต่เมือเชือมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชือมโยงระหว่างองค์กร
ผ่านเครื อข่ายแวนก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ขึนการประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นไปอย่าง
กว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมายทังนีเพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการ
ํ
เชือมโยงอุปกรณ์ต่างๆข้าด้วยกันและสือสารข้อมูลระหว่างกันได้ ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์
มีดงนี
ั
การใช้ อปกรณ์ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้ผใช้ สามารถใช้
ุ
ํ ู้
อุปกรณ์ รอบข้างทีต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ
ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทําให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตองซืออุปกรณ์ทีมีราคาแพง เชือมต่อพ่วง
้
ให้กบคอมพิวเตอร์ทุกเครื อง
ั
ระบบเครือข่ ายชนิดต่ างๆ
ระบบเครื อข่าย สามารถเรี ยกได้ หลายวิธี เช่นตามรู ปแบบ การเชือมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส
(bus), แบบดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรื อจะเรึ ยกตามขนาด หรื อระยะทางของระบบก็ได้ เช่นแลน
(LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี ระบบเครื อข่าย ยังสามารถ เรี ยกได้ตาม เทคโนโลยีทีไช้ ใน
การส่งผ่านข้อมูล เช่น เครื อข่าย TCP/IP, เครื อข่าย IPX, เครื อข่าย SNA หรื อเรี ยกตาม ชนิดของข้อมูล ทีมี
การส่งผ่านเช่นเครื อข่ายเสียงและวิดีโอเรายังสามารถจําแนกเครื อข่ายได้ตามกลุ่มทีใช้เครื อข่ายเช่น
อินเตอร์เน็ต (Internet), เอ็กซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเน็ต (Intranet), เครื อข่ายเสมือน (Virtual Private
Network) หรื อเรี ยก ตามวิธีการ เชือมต่อทางกายภาพ เช่นเครื อข่าย เส้นใยนําแสง, เครื อข่ายสายโทรศัพท์,
เครื อข่ายไร้สาย เป็ นต้น จะเห็นได้ว่า เราสามารถจําแนก ระบบเครื อข่าย ได้หลากหลายวิธี ตามแต่ว่า เราจะ
พูดถึง เครื อข่ายนันในแง่มุมใด เราจําแนก ระบบเครื อข่าย ตามวิธีทีนิยมกัน 3 วิธีคือ รู ปแบบการเชือมต่อ
(Topology), รู ปแบบการสือสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรมเครื อข่าย (Architecture)

แบบบ ัส (bus)
แบบดาว (star)

แบบวงแหวน (ring)
โทโปโลยีแบบผสม (Hybridge Topology)
อ้ างอิง

http://th.wikipedia.org/wiki
รายงาน1233

More Related Content

What's hot

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)Onanong Phetsawat
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Piyanoot Ch
 
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์teaw-sirinapa
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลTharathep Chumchuen
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 

What's hot (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1)
 
0
00
0
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2เรื่องการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
06 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูลรายงาน การสื่อสารข้อมูล
รายงาน การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
เครือข่ายคอมพิวเตอร์45
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 

Similar to รายงาน1233

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์Obigo Cast Gaming
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบญจมาศ คงดี
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Benjamas58
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanjana
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28babiesawalee
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)Obigo Cast Gaming
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chu1991
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1chushi1991
 

Similar to รายงาน1233 (20)

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 1
รายงาน  1 รายงาน  1
รายงาน 1
 
รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)รายงาน (1) (2)
รายงาน (1) (2)
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (2)
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 
บทที่5.1
บทที่5.1บทที่5.1
บทที่5.1
 

รายงาน1233

  • 1. รายงาน เรีอง เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทําโดย นายฉัตรณรงค์ นกศรีแก้ ว เลขที 3 ชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
  • 2. คํานํา รายงานฉบับนีเป็ นส่วนหนึงของรายวิชาคอมพิวเตอร์ทีมีเนือหาเกียวกับระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ประเภทของระบบเครื อข่ายและการส่งสัญญาณคณะผูจดทําหวังเป็ นอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีจะให้ประโยชน์ ้ั และสามารถทีจะนํามาใช้เป็ นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้แก่ผสนใจหากรายงายฉบับนีมีขอบกพร่ อง ู้ ้ ประการใด ทางผูจดทําก็ขออภัยมา ณ โอกาสนีด้วย และจะนําไปปรับปรุ งในโอกาสต่อไป ้ั ผูจดทํา ้ั นาย ฉัตรณรงค์ นกศรี แก้ว
  • 3. สารบัญ เรือง หน้ า ความหมายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 1 การเชือมโยงเครื อข่าย 2 ชนิดของเครื อข่าย 6 อุปกรณ์เครื อข่าย 7 อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ต 8 ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ 9 ระบบเครื อข่ายชนิดต่างๆ 10 อ้างอิง
  • 4. เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรื อคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก(computernetwork) ศัพท์บญญัติว่าข่ายงาน ั คอมพิวเตอร์) คือเครื อข่ายการสือสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จานวนตังแต่สองเครื องขึนไป ํ สามารถแลกเปลียนข้อมูลกันได้ การเชือมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครื อข่าย (โหนด เครื อข่าย) จะใช้สือทีเป็ นสายเคเบิลหรื อสือไร้สาย เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีรู้จกกันดีคือ อินเทอร์เน็ต ั การทีระบบเครื อข่ายมีบทบาทสําคัญมากขึนในปัจจุบน ั เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่าง แพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านันถึงกัน เพือเพิ มความสามารถของระบบให้ สูงขึน และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครื อข่าย ทําให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ มมากขึน การแบ่งการใช้ ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ทีมีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื องพิมพ์ เครื องกราดภาพ (scanner) ทําให้ ลดต้นทุนของระบบลงได้ อุปกรณ์เครื อข่ายทีสร้างข้อมูล ส่งมาตามเส้นทางและบรรจบข้อมูลจะเรี ยกว่าโหนดเครื อข่าย โหนด ประกอบด้วยโฮสต์เช่นเซิร์ฟเวอร์ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและฮาร์ดแวร์ของระบบเครื อข่าย อุปกรณ์สองตัว จะกล่าวว่าเป็ นเครื อข่ายได้ก็ต่อเมือกระบวนการในเครื องหนึงสามารถทีจะแลกเปลียนข้อมูลกับ กระบวนการในอีกอุปกรณ์หนึงได้ เครื อข่ายจะสนับสนุนแอปพลิเคชันเช่นการเข้าถึงเวิลด์ไวด์เว็บ, การใช้งานร่ วมกันของแอปพลิเคชัน, การใช้เซิร์ฟเวอร์สาหรับเก็บข้อมูลร่ วมกัน การใช้เครื องพิมพ์และเครื องแฟ็ กซ์ร่วมกันและการใช้อีเมลและ ํ โปรแกรมส่งข้อความโต้ตอบแบบทันทีร่วมกัน
  • 5. การเชือมโยงเครือข่ าย สือกลางการสือสารทีใช้ในการเชือมโยงอุปกรณ์เพือสร้างเป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยสาย เคเบิลไฟฟ้ า (HomePNA, สายไฟฟ้ าสือสาร, G.hn), ใยแก้วนําแสง และคลืนวิทยุ (เครื อข่ายไร้สาย) ในโมเดล OSI สือเหล่านีจะถูกกําหนดให้อยูในเลเยอร์ที 1 และที 2 หรื อชันกายภาพและชันเชือมโยงข้อมูล ่ ครอบครัวของสือการสือสารทีถูกพัฒนาอย่างกว้างขวางและถูกนํามาใช้ในเทคโนโลยีเครื อข่าย ท้องถิ น (LAN) เรี ยกว่า อีเธอร์เน็ต มาตรฐานของสือกลางและของโพรโทคอลทีช่วยในการสือสารระหว่าง อุปกรณ์ในเครื อข่ายอีเธอร์เน็ตถูกกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802. อีเธอร์เน็ตในโลกไซเบอร์มีทง ั เทคโนโลยีของ LAN แบบใช้สายและแบบไร้สาย อุปกรณ์ของ LAN แบบใช้สายจะส่งสัญญาณผ่านสือกลาง ทีเป็ นสายเคเบิล อุปกรณ์ LAN ไร้สายใช้คลืนวิทยุหรื อสัญญาณอินฟราเรดเป็ นสือกลางในการส่งผ่าน สํญญาณ
  • 6. เทคโนโลยีแบบใช้ สาย เทคโนโลยีแบบใช้สายต่อไปนีเรี ยงลําดับตามความเร็ วจากช้าไปเร็ ว รูปแสดงสาย UTP สายคู่บิดเป็ นสื อทีใช้กนอย่างแพร่ หลายทีสุ ดสําหรับการสื อสารโทรคมนาคมทังหมด สายคู่บิดประกอบด้วยกลุ่ม ั ของสายทองแดงหุ ้มฉนวนทีมีการบิดเป็ นคู่ๆ สายโทรศัพท์ธรรมดาทีใช้ภายในบ้านทัวไปประกอบด้วยสายทองแดงหุม ้ ฉนวนเพียงสองสายบิดเป็ นคู่ สายเคเบิลเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ (แบบใช้สายอีเธอร์ เน็ตตามทีกําหนดโดยมาตรฐาน IEEE 802.3) จะเป็ นสายคู่บิดจํานวน 4 คู่สายทองแดงทีสามารถใช้สาหรับการส่ งทังเสี ยงและข้อมูล การใช้สายไฟสองเส้นบิดเป็ น ํ เกลียวจะช่วยลด crosstalk และการเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าระหว่างสายภายในเคเบิลชุดเดียวกัน ความเร็วในการส่ งอยู่ ในช่วง 2 ล้านบิตต่อวินาทีถึง 10 พันล้านบิตต่อวินาที สายคู่บิดมาในสองรู ปแบบคือคู่บิดไม่มีตวนําป้ องกัน(การรบกวนจาก ้ การเหนียวนําแม่เหล็กไฟฟ้ าภายนอก) (unshielded twisted pair หรื อ UTP) และคู่บิดมีตวนําป้ องกัน (shielded twisted pair ั หรื อ STP) แต่ละรู ปแบบออกแบบมาหลายอัตราความเร็ วในการใช้งานในสถานการณ์ต่างกัน รูปแสดง STP จะเห็น sheath ทีเป็ นตัวนําปองกันอยู่รอบนอก ้ สายโคแอคเชี ยล ถูกใช้อย่างแพร่ หลายสําหรับระบบเคเบิลทีวี, ในอาคารสํานักงานและสถานทีทํางานอืนๆ ใน เครื อข่ายท้องถิ น สายโคแอคประกอบด้วยลวดทองแดงหรื ออะลูมิเนียมเส้นเดียวทีล้อมรอบด้วยชันฉนวน (โดยปกติจะเป็ น วัสดุทีมีความยืดหยุนกับไดอิเล็กทริ กคงทีสู ง) และล้อมรอบทังหมดด้วยตัวนําอีกชันหนึงเพือป้ องกันการเหนียวนํา ่ แม่เหล็กไฟฟ้ าจากภายนอก ฉนวนไดอิเล็กทริ กจะช่วยลดสัญญาณรบกวนและความผิดเพียน ความเร็วในการส่ งข้อมูลอยู่ ในช่วง 200 ล้านบิตต่อวินาทีจนถึงมากกว่า 500 ล้านบิตต่อวินาที
  • 7. รูปแสดงสายโคแอคเชียล 'ITU-T G.hn เป็ นเทคโนโลยีทีใช้สายไฟทีมีอยูในบ้าน (สายโคแอค, สายโทรศัพท์และสายไฟฟ้ า) เพือสร้างเครื อข่าย ่ ท้องถิ นความเร็ วสู ง (ถึง 1 Gb/s) ใยแก้วนําแสง เป็ นแก้วไฟเบอร์ จะใช้พลส์ของแสงในการส่ งข้อมูล ข้อดีบางประการของเส้นใยแสงทีเหนือกว่าสาย ั โลหะก็คือมีการสู ญเสี ยในการส่ งน้อยและมีอิสรภาพจากคลืนแม่เหล็กไฟฟ้ าและมีความเร็ วในการส่ งรวดเร็วมากถึงล้าน ล้านบิตต่อวินาที เราสามารถใช้ความยาวคลืนทีแตกต่างของแสงทีจะเพิ มจํานวนของข้อความทีถูกส่ งผ่านสายเคเบิลใยแก้ว นําแสงพร้อมกันในเส้นเดียวกัน เทคโนโลยีไร้ สาย ไมโครเวฟบนผิวโลก - การสือสารไมโครเวฟบนผิวโลกจะใช้เครื องส่งและเครื องรับสัญญาณจาก สถานีบนผิวโลกทีมีลกษณะคล้ายจานดาวเทียม ไมโครเวฟภาคพืนดินอยูในช่วงกิกะเฮิรตซ์ทีตํา ซึงจํากัดการ ั ่ สือสารทังหมดด้วยเส้นสายตาเท่านัน สถานีทวนสัญญาณมีระยะห่างประมาณ 48 กิโลเมตร (30 ไมล์) ดาวเทียมสือสาร - การสือสารดาวเทียมผ่านทางคลืนวิทยุไมโครเวฟทีไม่ได้เบียงเบนโดยชัน บรรยากาศของโลก ดาวเทียมจะถูกส่งไปประจําการในอวกาศ ทีมักจะอยูในวงโคจร geosynchronous ที ่ 35,400 กิโลเมตร (22,000 ไมล์) เหนือเส้นศูนย์สูตร ระบบการโคจรของโลกนีมีความสามารถในการรับและ ถ่ายทอดสัญญาณเสียง, ข้อมูลและทีวี
  • 8. ระบบเซลลูลาร์ และ PCS ใช้เทคโนโลยีการสือสารวิทยุหลายเทคโนโลยี ระบบแบ่งภูมิภาคที ครอบคลุมออกเป็ นพืนทีทางภูมิศาสตร์หลายพืนที แต่ละพืนทีมีเครื องส่งหรื ออุปกรณ์เสาอากาศถ่ายทอด สัญญาณวิทยุพลังงานตําเพือถ่ายทอดสัญญาณเรี ยกจากพืนทีหนึงไปยังอีกพืนทีหนึงข้างหน้า เทคโนโลยีวทยุและการแพร่ กระจายสเปกตรัม - เครื อข่ายท้องถิ นไร้สายจะใช้เทคโนโลยีวิทยุความถี ิ สูงคล้ายกับโทรศัพท์มือถือดิจิทลและเทคโนโลยีวิทยุความถีตํา. LAN ไร้สายใช้เทคโนโลยีการแพร่ กระจาย ั คลืนความถีเพือการสือสารระหว่างอุปกรณ์หลายชนิดในพืนทีจํากัด. IEEE 802.11 กําหนดคุณสมบัติทวไป ั ของเทคโนโลยีคลืนวิทยุไร้สายมาตรฐานเปิ ดทีรู้จกกันคือ Wifi ั การสือสารอินฟราเรด สามารถส่งสัญญาณระยะทางสันๆมักไม่เกิน 10 เมตร ในหลายกรณี ส่วนใหญ่ การส่งแสงจะใช้แบบเส้นสายตา ซึงจํากัดตําแหน่งการติดตังของอุปกรณ์การสือสาร เครือข่ ายทัวโลก (global area network หรื อ GAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้สาหรับการสนับสนุนการใช้งาน ํ มือถือข้ามหลายๆ LAN ไร้สาย หรื อในพืนทีทีดาวเทียมครอบคลุมถึง ฯลฯ ความท้าทายทีสําคัญในการ สือสารเคลือนทีคือการส่งมอบการสือสารของผูใช้จากพืนทีหนึงไปอีกพืนทีหนึง ใน IEEE 802 การส่งมอบ ้ นีเกียวข้องกับความต่อเนืองของ LAN ไร้สายบนผิวโลก ชนิดของเครือข่ าย ระบบเครื อข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครื อข่าย ซึงปัจจุบนเครื อข่ายทีรู้จกกันดีมีอยู่ 6 แบบ ั ั ได้แก่ เครื อข่ายภายใน หรื อ แลน (Local Area Network: LAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกันในพืนที ใกล้เคียงกัน เช่นอยูในห้อง หรื อภายในอาคารเดียวกัน ่ เครื อข่ายวงกว้าง หรื อ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็ นเครื อข่ายทีใช้ในการ เชือมโยงกัน ใน ระยะทางทีห่างไกล อาจจะเป็ น กิโลเมตร หรื อ หลาย ๆ กิโลเมตร
  • 9. เครื อข่ายงานบริ เวณนครหลวง หรื อ แมน (Metropolitan area network : MAN) เครื อข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรื อ แคน (Controller area network) : CAN) เป็ น เครื อข่ายทีใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU) เครื อข่ายส่วนบุคคล หรื อ แพน (Personal area network) : PAN) เป็ นเครื อข่ายระหว่างอุปกรณ์เคลือนทีส่วน บุคคล เช่น โน้ตบุ๊ก มือถือ อาจมีสายหรื อไร้สายก็ได้ เครื อข่ายข้อมูล หรื อ แซน (Storage area network) : SAN) เป็ นเครื อข่าย (หรื อเครื อข่ายย่อย) ความเร็วสูง วัตถุประสงค์เฉพาะทีเชือมต่อภายในกับอุปกรณ์จดเก็บข้อมูลชนิดต่างกันด้วยแม่ข่ายข้อมูลสัมพันธ์กนบน ั ั คัวแทนเครื อข่ายขนาดใหญ่ของผูใช้ ้ อุปกรณ์ เครือข่ าย เซิ ร์ฟเวอร์ (Server) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องแม่ข่าย เป็ นเครื องคอมพิวเตอร์ หลักในเครื อข่าย ทีทําหน้าทีจัดเก็บ และให้บริ การไฟล์ขอมูลและทรัพยากรอืนๆ กับคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ใน เครื อข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ ทีนํามาใช้เป็ น ้ เซิ ร์ฟเวอร์ มกจะเป็ นเครื องทีมีสมรรถนะสู ง และมีฮาร์ ดดิสก์ความจําสู งกว่าคอมพิวเตอร์ เครื องอืน ๆ ในเครื อข่าย ั ไคลเอนต์ (Client) หรื อเรี ยกอีกอย่างหนึงว่า เครื องลูกข่าย เป็ นคอมพิวเตอร์ ในเครื อข่ายทีร้องขอ บริ การและเข้าถึง ไฟล์ขอมูลทีจัดเก็บในเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็ นคอมพิวเตอร์ ของผูใช้แต่ละคนในระบบเครื อข่าย ้ ้ ฮับ (HUB) หรื อ เรี ยก รี พีตเตอร์ (Repeater) คืออุปกรณ์ทีใช้เชือมต่อกลุ่มคอมพิวเตอร์ ฮับ มีหน้าทีรับส่ งเฟรมข้อมูลทุก เฟรมทีได้รับจากพอร์ ตใดพอร์ ตหนึง ไปยังพอร์ ตทีเหลือ คอมพิวเตอร์ ทีเชือมต่อเข้ากับฮับจะแชร์ แบนด์วิธหรื ออัตราข้อมูล ของเครื อข่าย เพราะฉะนันถ้ามีคอมพิวเตอร์ เชือมต่อมากจะทําให้อตราการส่ งข้อมูลลดลง ั เนทเวิร์คสวิตช์ (Switch) คืออุปกรณ์เครื อข่ายทีทําหน้าทีในเลเยอร์ที 2 และทําหน้าทีส่งข้อมูลทีได้รับมา จากพอร์ตหนึงไปยังพอร์ตเฉพาะทีเป็ นปลายทางเท่านัน และทําให้คอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อกับพอร์ตทีเหลือ ส่งข้อมูลถึงกันในเวลาเดียวกัน ดังนัน อัตราการรับส่งข้อมูลหรื อแบนด์วิธจึงไม่ขึนอยูกบคอมพิวเตอร์ ่ ั ปัจจุบนนิยมเชือมต่อแบบนีมากกว่าฮับเพราะลดปัญหาการชนกันของข้อมูล ั เราต์เตอร์ (Router)เป็ นอุปรณ์ทีทําหน้าทีในเลเยอร์ที 3 เราท์เตอร์จะอ่านทีอยู่ (Address) ของสถานี ปลายทางทีส่วนหัว (Header) ข้อแพ็กเก็ตข้อมูล เพือทีจะกําหนดและส่งแพ็กเก็ตต่อไป เราท์เตอร์จะมีตวจัด ั เส้นทางในแพ็กเก็ต เรี ยกว่า เราติ งเทเบิ ล(Routing Table) หรื อตารางจัดเส้นทางนอกจากนียังส่งข้อมูลไปยัง
  • 10. เครื อข่ายทีให้โพรโทคอลต่างกันได้ เช่น IP (Internet Protocol) , IPX (Internet Package Exchange) และ AppleTalk นอกจากนียังเชือมต่อกับเครื อข่ายอืนได้ เช่น เครื อข่ายอินเทอร์เน็ต บริ ดจ์ (Bridge) เป็ นอุปกรณ์ทีมักจะใช้ในการเชือมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทําให้สามารถ ขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื อยๆ โดยทีประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนืองจากการ ติดต่อของเครื องทีอยูในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อืน และ ่ ู เนืองจากบริ ดจ์เป็ นอุปกรณ์ทีทํางานอยูในระดับ Data Link Layer จึงทําให้สามารถใช้ในการเชือมต่อ ่ เครื อข่ายทีแตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็ นต้น บริ ดจ์ มักจะถูกใช้ในการเชือมเครื อข่ายย่อย ๆ ในองค์กรเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายใหญ่ เพียงเครื อข่ายเดียว เพือให้เครื อข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อกับเครื อข่ายย่อยอืนๆ ได้ เกตเวย์ (Gateway) เป็ นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทีเชือมต่อเครื อข่ายต่างประเภทเข้าด้วยกัน เช่น การใช้เกตเวย์ใน การเชือมต่อเครื อข่าย ทีเป็ นคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี (PC) เข้ากับคอมพิวเตอร์ประเภทแมคอินทอช (MAC) เป็ นต้น อินทราเน็ตและเอ็กซ์ ทราเน็ต อินทราเน็ตและเอ็กซ์ทราเน็ตเป็ นส่วนหนึงหรื อส่วนขยายของเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีมักจะเป็ น LAN อินทราเน็ต เป็ นชุดของเครื อข่ายทีอยูภายใต้การควบคุมของหน่วยการบริ หารเดียว อินทราเน็ตใช้ ่ โปรโตคอล IP และเครื องมือทีเป็ น IP-based เช่นเว็บเบราเซอร์และโปรแกรมการถ่ายโอนไฟล์ หน่วยการ
  • 11. บริ หารจํากัดการใช้อินทราเน็ตเฉพาะผูได้รับอนุญาตเท่านัน ส่วนใหญ่แล้ว อินทราเน็ตจะเป็ นเครื อข่าย ้ ภายในองค์กร อินทราเน็ตขนาดใหญ่มกจะมีเว็บเซิร์ฟเวอร์อย่างน้อยหนึงตัวเพือให้ผใช้เข้าถึงข้อมูลของ ั ู้ องค์กรเอง เอ็กซ์ ทราเน็ต เป็ นเครื อข่ายทียังอยูภายใต้การควบคุมของผูดูแลระบบขององค์กรเดียว แต่สนับสนุน ่ ้ การเชือมต่อทีจํากัดเฉพาะเครื อข่ายภายนอกทีเฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่นองค์กรอาจจัดให้มีการเข้าถึงบาง แง่มุมของอินทราเน็ตของบริ ษทเพือแชร์ขอมูลร่ วมกับคู่คาทางธุรกิจหรื อลูกค้า หน่วยงานอืน ๆ เหล่านีไม่ ั ้ ้ จําเป็ นต้องได้รับความเชือถือจากมุมมองของการรักษาความปลอดภัย การเชือมต่อเครื อข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต มักจะเป็ น, แต่ไม่เสมอไป, การดําเนินการผ่านทาง WAN เทคโนโลยี ประโยชน์ ของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์หนึงเครื อข่ายจะมีการทํางานรวมกันเป็ นกลุ่ม ทีเรี ยกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมือเชือมโยงหลายๆ กลุ่มงานเข้าด้วยกัน ก็จะเป็ นเครื อข่ายขององค์กร และถ้าเชือมโยงระหว่างองค์กร ผ่านเครื อข่ายแวนก็จะได้เครื อข่ายขนาดใหญ่ขึนการประยุกต์ใช้งานเครื อข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นไปอย่าง กว้างขวางและสามารถใช้ประโยชน์ได้มากมายทังนีเพราะระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดการ ํ เชือมโยงอุปกรณ์ต่างๆข้าด้วยกันและสือสารข้อมูลระหว่างกันได้ ประโยชน์ของระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีดงนี ั การใช้ อปกรณ์ร่วมกัน (Sharing of peripheral devices) เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทาให้ผใช้ สามารถใช้ ุ ํ ู้ อุปกรณ์ รอบข้างทีต่อพ่วงกับระบบคอมพิวเตอร์ ร่ วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเครื องพิมพ์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็ นต้น ทําให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ตองซืออุปกรณ์ทีมีราคาแพง เชือมต่อพ่วง ้ ให้กบคอมพิวเตอร์ทุกเครื อง ั
  • 12. ระบบเครือข่ ายชนิดต่ างๆ ระบบเครื อข่าย สามารถเรี ยกได้ หลายวิธี เช่นตามรู ปแบบ การเชือมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส (bus), แบบดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรื อจะเรึ ยกตามขนาด หรื อระยะทางของระบบก็ได้ เช่นแลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี ระบบเครื อข่าย ยังสามารถ เรี ยกได้ตาม เทคโนโลยีทีไช้ ใน การส่งผ่านข้อมูล เช่น เครื อข่าย TCP/IP, เครื อข่าย IPX, เครื อข่าย SNA หรื อเรี ยกตาม ชนิดของข้อมูล ทีมี การส่งผ่านเช่นเครื อข่ายเสียงและวิดีโอเรายังสามารถจําแนกเครื อข่ายได้ตามกลุ่มทีใช้เครื อข่ายเช่น อินเตอร์เน็ต (Internet), เอ็กซ์ตร้าเน็ต (Extranet), อินทราเน็ต (Intranet), เครื อข่ายเสมือน (Virtual Private Network) หรื อเรี ยก ตามวิธีการ เชือมต่อทางกายภาพ เช่นเครื อข่าย เส้นใยนําแสง, เครื อข่ายสายโทรศัพท์, เครื อข่ายไร้สาย เป็ นต้น จะเห็นได้ว่า เราสามารถจําแนก ระบบเครื อข่าย ได้หลากหลายวิธี ตามแต่ว่า เราจะ พูดถึง เครื อข่ายนันในแง่มุมใด เราจําแนก ระบบเครื อข่าย ตามวิธีทีนิยมกัน 3 วิธีคือ รู ปแบบการเชือมต่อ (Topology), รู ปแบบการสือสาร (Protocol), และ สถาปัตยกรรมเครื อข่าย (Architecture) แบบบ ัส (bus)