SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Vaccine
3 types
Toxoid
Inactivated vaccine/killed vaccine
Whole cell vaccine/whole virion vaccine
Subunit vaccine
Live attenuated vaccine
5 routes
Oral route
Intradermal/intracutaneous route
Subcutaneous route
Intramuscular route
Intranasal route
BCG vaccine
Bacillus Calmette Guerin Vaccine
วัคซีนน้ีประกอบด้วยเช้ือวัณโรคพันธุ์ Mycobacterium bovis
Live attenuated vaccine
Intradermal injection
HBV
Hepatitis B vaccine
recombinant DNA vaccine
HBsAg
0.5 ml IM
HBIG 0.5 ml IM
0,1-2,6
0,1,2,4,6
0,1-2,6
0,1,6
DTP
Diphtheria, Tetanus
toxoids, and Pertussis
vaccine combined
DTwP, DTaP 0.5 ml IM
(< 7 years old)
Tdap o.5 ml IM (≥ 7
years old)
DT, dT
Diphtheria and Tetanus toxoids combined
DT 0.5 ml IM ต้นขา สาหรับเด็กอายุ < 7 ปี (2,4,6,18,4-6 ปี)
dT 0.5 ml IM แขน สาหรับเด็กอายุ ≥ 7 ปี และผู้ใหญ่ และ
ควรใช้ Tdap แทน dT ใน dose แรก (0,1,6)
dT กระตุ้น ทุก 10 ปี
ไม่สามารถรับวัคซีนไอกรนได้
• โรคทางสมอง
• hypersensitivity
ไม่ควรรับ DTwP,Dtap เพราะ
SE เยอะ และโรคไอกรนไม่
รุนแรงในผู้ใหญ่
OPV,IPV
Poliomyelitis vaccine
Poliovirus
OPV : attenuated live oral
poliomyelitis vaccine
0.1-0.5 ml po (2,4,6,18,4-6 y)
IPV : inactivated poliomyelitis
vaccine
IM
MMR
Measles Mumps and Rubella Vaccine
live attenuated vaccine
0.5 ml SC upper arm (9-12 mo, 2.5 y)
* ห้ามฉีดในหญิงตั้งครรภ์
JE
Japanese Encephalitis Vaccine
Japanese B Encephalitis (JE) virus
Inactivated vaccine (3 doses)
Live attenuated vaccine (2 doses)
(9-18 m , 4wk later, 1 y later)
SC, IM (IXIAROTM)
Influenza vaccine
Type A,B,C
hemagglutinin (H) และ neuraminidase (N)
Antigenic shift (A) : every 10 y
Antigenic drift : every 1-3 y
Inactivated/ killed virus vaccine
inactivated whole virus vaccine
✓split virion (FluarixTM)
✓subunit vaccine (AgrippalTM)
Live attenuated influenza vaccine
บุคคลที่ควรได้รับวัคซีน
1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง หอบหืด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง
โรคไวายเรื้อรัง มะเร็งที่กาลังรับเคมีบาบัด เบาหวาน ธาลัสซีเมีย และภูมิคุุ้มกัน
บกพร่อง รวมทั้งผุู้ติดเชื้อเอชไอวีท่ีมีอาการ
2. ผุู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป
3. ผุู้มีน้าหนักตัวมากกว่า 100 กิโลกรัม
4. ผู้พิการทางสมองช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
5. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี
6. หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนข้ึนไป
7. บุคลากรทางการแพทย์เจ้าหน้าที่ที่ให้การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วย และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
กับการกาุา จัดสัตว์ปีก
บุคคลที่ห้ามฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่
- เน่ืองจากไวรัสที่นามาผลิตวัคซีนเพาะเลี้ยงมาจากไข่ไก่ฟัก จึงมี ovalbumin ปนอยู่ใน
ขนาดต่ําๆ (<1 ไมโครกรัม)15 ดังนั้น จึงอาจก่อปฏิกิริยาแพ้รุนแรงได้ใน ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่
อย่างรุนแรงหรือ anaphylaxis หรือ angioedema ที่เกิดอย่างรวดเร็ว ส่วนการแพ้ไข่ใน
รูปแบบอ่ืนๆ สามารถให้ได้
- ผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของวัคซีนอย่างรุนแรง
- ผู้ที่ป่วยเฉียบพลันไม่ว่าจะมีไข้หรือไม่ให้รอจนอาการทุเลาก่อนยกเว้นเป็นหวัดเล็กน้อย
หรือมีน้ํามูก จากภูมิแพ้
- วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต ห้ามฉีดในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้่ป่วยโรคปอดหรือหอบหืด ผู้
ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Rotavirus Vaccine
RotaTeqTM เป็น bovine-human reassortant pentavalent
live-attenuated oral vaccine ผลิตโดยบริษัท Merck มี
ไวรัสท่ีทําให้อ่อนแรงลง 5 สายพันธุ์ ได้แก่ ซีโรทัยป์ G1, G2,
G3, G4, และซีโรทัยป์ P8
RotarixTM เป็น human-derived monovalent live-attenuated
oral vaccine ผลิตโดยบริษัท GSK มีไวรัสสายพันธ์ุุ
RIX4414 ซึ่งเป็นซีโรทัยป์ G1P ที่ทําให้อ่อนฤทธิ์ลง ไม่น้อย
กว่า 106 CCID50/มล.
Hib
Haemophilus influenzae
type b Vaccine
Conjugated polysaccharide
vaccine
0.5 ml IM
2,4,6,18 m
VAR
Varicella Vaccine
varicella-zoster virus (VZV)
0.5 ml SC
HAV
Hepatitis A Vaccine
Inactivated vaccine
Virosome เป็นเปลือกของเชื้อไข้หวัดใหญ่ที่มี hemagglutinin
ร่วมกับเชื้อไวรัสตับอักเสบเอที่ตายแล้วมาเกาะท่ีผิว
Pnc
Pneumococcal Vaccine
Streptococcus pneumoniae
23-valent polysaccharide vaccine
Pneumococcal conjugate vaccine
0.5 ml SC/IM
HPV
Human Papillomavirus Vaccine
Risk factors:
multiple partner, unsafe sex
Screening :
Papanicolaou (Pap) smear
Visual Inspection with Acetic acid (VIA)
Capsid protein L1
0.5 ml IM
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program
Pediatric Vaccine program

More Related Content

What's hot

Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaissoshepatites
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
7 วัคซีน
7 วัคซีน7 วัคซีน
7 วัคซีนPa'rig Prig
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (17)

Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Brochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandaisBrochure promethee B C thailandais
Brochure promethee B C thailandais
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Bacterial
BacterialBacterial
Bacterial
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
7 วัคซีน
7 วัคซีน7 วัคซีน
7 วัคซีน
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014Adult vaccine recommendation 2014
Adult vaccine recommendation 2014
 

Viewers also liked (10)

Tracing the complex path of allergic reaction
Tracing the complex path of allergic reactionTracing the complex path of allergic reaction
Tracing the complex path of allergic reaction
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
Clinical significance of immunoglobulin E
Clinical significance of immunoglobulin EClinical significance of immunoglobulin E
Clinical significance of immunoglobulin E
 
Hyper IgE syndrome
Hyper IgE syndromeHyper IgE syndrome
Hyper IgE syndrome
 
Adverse reactions to vaccine for infectious diseases
Adverse reactions to vaccine for infectious diseasesAdverse reactions to vaccine for infectious diseases
Adverse reactions to vaccine for infectious diseases
 
Immunoglobulins, complement and immunodefeciency disorders
Immunoglobulins, complement and immunodefeciency disordersImmunoglobulins, complement and immunodefeciency disorders
Immunoglobulins, complement and immunodefeciency disorders
 
Immunoglobins
Immunoglobins Immunoglobins
Immunoglobins
 
Immunoglobulins
ImmunoglobulinsImmunoglobulins
Immunoglobulins
 
Primary immunodeficiencies
Primary immunodeficienciesPrimary immunodeficiencies
Primary immunodeficiencies
 
Vaccines
VaccinesVaccines
Vaccines
 

Similar to Pediatric Vaccine program

[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidstWee Wii
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)Apichart Laithong
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง Utai Sukviwatsirikul
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015Sukanya Jongsiri
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 

Similar to Pediatric Vaccine program (20)

[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst[J cms] 429-leaflet pidst
[J cms] 429-leaflet pidst
 
Vaccine
VaccineVaccine
Vaccine
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุการให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
การให้วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อในผู้สูงอายุ
 
Basic epi 2018 10-07
Basic epi 2018 10-07Basic epi 2018 10-07
Basic epi 2018 10-07
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
ยาต้านจุลชีพ (Antibacterial drug)
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
Geriatric family-pharmacist-09 jun2015
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 

Pediatric Vaccine program

  • 1.
  • 2. Vaccine 3 types Toxoid Inactivated vaccine/killed vaccine Whole cell vaccine/whole virion vaccine Subunit vaccine Live attenuated vaccine
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. 5 routes Oral route Intradermal/intracutaneous route Subcutaneous route Intramuscular route Intranasal route
  • 8.
  • 9. BCG vaccine Bacillus Calmette Guerin Vaccine วัคซีนน้ีประกอบด้วยเช้ือวัณโรคพันธุ์ Mycobacterium bovis Live attenuated vaccine Intradermal injection
  • 10.
  • 11. HBV Hepatitis B vaccine recombinant DNA vaccine HBsAg 0.5 ml IM
  • 12. HBIG 0.5 ml IM 0,1-2,6 0,1,2,4,6 0,1-2,6 0,1,6
  • 13.
  • 14.
  • 15. DTP Diphtheria, Tetanus toxoids, and Pertussis vaccine combined DTwP, DTaP 0.5 ml IM (< 7 years old) Tdap o.5 ml IM (≥ 7 years old)
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. DT, dT Diphtheria and Tetanus toxoids combined DT 0.5 ml IM ต้นขา สาหรับเด็กอายุ < 7 ปี (2,4,6,18,4-6 ปี) dT 0.5 ml IM แขน สาหรับเด็กอายุ ≥ 7 ปี และผู้ใหญ่ และ ควรใช้ Tdap แทน dT ใน dose แรก (0,1,6) dT กระตุ้น ทุก 10 ปี ไม่สามารถรับวัคซีนไอกรนได้ • โรคทางสมอง • hypersensitivity ไม่ควรรับ DTwP,Dtap เพราะ SE เยอะ และโรคไอกรนไม่ รุนแรงในผู้ใหญ่
  • 20.
  • 21. OPV,IPV Poliomyelitis vaccine Poliovirus OPV : attenuated live oral poliomyelitis vaccine 0.1-0.5 ml po (2,4,6,18,4-6 y) IPV : inactivated poliomyelitis vaccine IM
  • 22.
  • 23. MMR Measles Mumps and Rubella Vaccine live attenuated vaccine 0.5 ml SC upper arm (9-12 mo, 2.5 y) * ห้ามฉีดในหญิงตั้งครรภ์
  • 24.
  • 25. JE Japanese Encephalitis Vaccine Japanese B Encephalitis (JE) virus Inactivated vaccine (3 doses) Live attenuated vaccine (2 doses) (9-18 m , 4wk later, 1 y later) SC, IM (IXIAROTM)
  • 26.
  • 27.
  • 28. Influenza vaccine Type A,B,C hemagglutinin (H) และ neuraminidase (N) Antigenic shift (A) : every 10 y Antigenic drift : every 1-3 y Inactivated/ killed virus vaccine inactivated whole virus vaccine ✓split virion (FluarixTM) ✓subunit vaccine (AgrippalTM) Live attenuated influenza vaccine
  • 29.
  • 30.
  • 31. บุคคลที่ควรได้รับวัคซีน 1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคปอดอุดก้ันเร้ือรัง หอบหืด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไวายเรื้อรัง มะเร็งที่กาลังรับเคมีบาบัด เบาหวาน ธาลัสซีเมีย และภูมิคุุ้มกัน บกพร่อง รวมทั้งผุู้ติดเชื้อเอชไอวีท่ีมีอาการ 2. ผุู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป 3. ผุู้มีน้าหนักตัวมากกว่า 100 กิโลกรัม 4. ผู้พิการทางสมองช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 5. เด็กอายุ 6 เดือน - 2 ปี 6. หญิงตั้งครรภ์อายุครรภ์ 4 เดือนข้ึนไป 7. บุคลากรทางการแพทย์เจ้าหน้าที่ที่ให้การดูแลรักษาผู้เจ็บป่วย และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง กับการกาุา จัดสัตว์ปีก
  • 32. บุคคลที่ห้ามฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ - เน่ืองจากไวรัสที่นามาผลิตวัคซีนเพาะเลี้ยงมาจากไข่ไก่ฟัก จึงมี ovalbumin ปนอยู่ใน ขนาดต่ําๆ (<1 ไมโครกรัม)15 ดังนั้น จึงอาจก่อปฏิกิริยาแพ้รุนแรงได้ใน ผู้ที่มีประวัติแพ้ไข่ อย่างรุนแรงหรือ anaphylaxis หรือ angioedema ที่เกิดอย่างรวดเร็ว ส่วนการแพ้ไข่ใน รูปแบบอ่ืนๆ สามารถให้ได้ - ผู้ที่แพ้ส่วนประกอบของวัคซีนอย่างรุนแรง - ผู้ที่ป่วยเฉียบพลันไม่ว่าจะมีไข้หรือไม่ให้รอจนอาการทุเลาก่อนยกเว้นเป็นหวัดเล็กน้อย หรือมีน้ํามูก จากภูมิแพ้ - วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต ห้ามฉีดในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้่ป่วยโรคปอดหรือหอบหืด ผู้ ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
  • 33.
  • 34.
  • 35. Rotavirus Vaccine RotaTeqTM เป็น bovine-human reassortant pentavalent live-attenuated oral vaccine ผลิตโดยบริษัท Merck มี ไวรัสท่ีทําให้อ่อนแรงลง 5 สายพันธุ์ ได้แก่ ซีโรทัยป์ G1, G2, G3, G4, และซีโรทัยป์ P8 RotarixTM เป็น human-derived monovalent live-attenuated oral vaccine ผลิตโดยบริษัท GSK มีไวรัสสายพันธ์ุุ RIX4414 ซึ่งเป็นซีโรทัยป์ G1P ที่ทําให้อ่อนฤทธิ์ลง ไม่น้อย กว่า 106 CCID50/มล.
  • 36.
  • 37. Hib Haemophilus influenzae type b Vaccine Conjugated polysaccharide vaccine 0.5 ml IM 2,4,6,18 m
  • 38.
  • 40.
  • 41. HAV Hepatitis A Vaccine Inactivated vaccine Virosome เป็นเปลือกของเชื้อไข้หวัดใหญ่ที่มี hemagglutinin ร่วมกับเชื้อไวรัสตับอักเสบเอที่ตายแล้วมาเกาะท่ีผิว
  • 42.
  • 43. Pnc Pneumococcal Vaccine Streptococcus pneumoniae 23-valent polysaccharide vaccine Pneumococcal conjugate vaccine 0.5 ml SC/IM
  • 44.
  • 45. HPV Human Papillomavirus Vaccine Risk factors: multiple partner, unsafe sex Screening : Papanicolaou (Pap) smear Visual Inspection with Acetic acid (VIA) Capsid protein L1 0.5 ml IM

Editor's Notes

  1. Equine influenza vaccine
  2. การให้วัคซีนบีซีจีให้ฉีดเข้าในหนัง (intradermal injection) สําาหรับ BCG-TRC ใช้ปริมาตรครั้งละ 0.1 มิลลิลิตร ในทุกอายุ หลังจากฉีดวัคซีนเข้าในหนัง น้ําายาจะดันผิวหนังให้โป่งนูนและเห็นรูขุมขนขนาดประมาณ 6-8 มิลลิเมตร หลังฉีดประมาณ 1 ช่ัวโมง ผิวหนังที่นูนจะยุบหายไปคงเห็นเป็นสีแดง ๆ ตรงบริเวณรอยเข็มแทงอีก 2-3 วัน ระหว่างสัปดาห์ท่ี 2-3 จะเกิดตุ่มแดง ๆ บริเวณที่ฉีด ตุ่มจะโตขึ้นช้า ๆ กลายเป็นฝีเม็ดเล็กๆ และมีหัวหนอง เมื่อฝีแตกจะเกิดเป็นแผลกว้าง 4-5 มิลลิเมตร แผลนี้จะเป็นๆ หายๆ อยู่ประมาณ 3-4 สัปดาห์ แล้วจะแห้งหายไป
  3. การให้วัคซีนบีซีจีให้ฉีดเข้าในหนัง (intradermal injection) สําาหรับ BCG-TRC ใช้ปริมาตรครั้งละ 0.1 มิลลิลิตร ในทุกอายุ หลังจากฉีดวัคซีนเข้าในหนัง น้ําายาจะดันผิวหนังให้โป่งนูนและเห็นรูขุมขนขนาดประมาณ 6-8 มิลลิเมตร หลังฉีดประมาณ 1 ช่ัวโมง ผิวหนังที่นูนจะยุบหายไปคงเห็นเป็นสีแดง ๆ ตรงบริเวณรอยเข็มแทงอีก 2-3 วัน ระหว่างสัปดาห์ท่ี 2-3 จะเกิดตุ่มแดง ๆ บริเวณที่ฉีด ตุ่มจะโตขึ้นช้า ๆ กลายเป็นฝีเม็ดเล็กๆ และมีหัวหนอง เมื่อฝีแตกจะเกิดเป็นแผลกว้าง 4-5 มิลลิเมตร แผลนี้จะเป็นๆ หายๆ อยู่ประมาณ 3-4 สัปดาห์ แล้วจะแห้งหายไป
  4. Double stranded DNA virus ผตู้ ดิ เชอื้ จะมอี าการออ่ นเพลยี เบอื่ อาหาร อาจมไี ขต้ า่ํา ๆ ในวนั แรกๆ จกุ แนน่ ทอ้ ง ปวดท้อง ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะสีเข้ม โดยทั่วไปการติดเช้ือในเด็กจะมีอาการน้อยกว่า แต่จะมีโอกาส เป็นพาหะเร้ือรังมากกว่าการติดเชื้อในผู้ใหญ -โดยสอดสารพันธุกรรมท่ีกําาหนดการสร้าง HBsAg เข้าในเซลล์บางชนิด เช่น เซลล์ยีสต์ หรือเซลล์สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมแล้วให้เซลล์เหล่านี้สร้าง HBsAg ออกมา แยกเอาเฉพาะส่วน HBsAg มาทําาให้บริสุทธิ์ แล้วมา ประกอบทําาเป็นวัคซีน -ในเด็กวัยรุ่นอายุ 11-15 ปี ที่ยังไม่เคยได้รับวัคซีนนี้มาก่อน อาจให้แบบ 2 เข็ม โดยให้ใช้วัคซีนตับอักเสบบี ชนิดเดี่ยว -เด็กที่ได้รับวัคซีนบางรายอาจมีอาการปวด บวม บริเวณที่ฉีดหรือมีไข้ต่ําาๆ ซึ่งพบร้อยละ 1-613 อาการ มักเริ่มราว 3-4 ช่ัวโมงหลังฉีด และนานไม่เกิน 24 ชั่วโมง ควรให้ยาลดไข้เฉพาะในเด็กที่มีไข้หรือร้องกวนมาก
  5. กรณีตรวจพบทั้ง HBsAg และ anti-HBs เป็นลบ ควรฉีดวัคซีนใหม่อีก 3 เข็ม หรือเจาะเลือดตรวจ anti-HBs หลังฉีดวัคซีนแต่ละเข็ม 1 เดือน ถ้าได้ระดับภูมิคุ้มกัน (anti-HBs) ตั้งแต่ 10 mIU/มล. ก็สามารถหยุดฉีดได้
  6. Corynebacterium diphtheriae , Clostridium tetani , Bordetella pertussis DTwP (DT toxoid, P whole cell inactivated) DTaP (DT toxoid, P subunit ส่วนประกอบบางส่วนของตัวเชื้อ) แพงกว่า SE น้อยกว่า DTwP purified diphtheria toxoid ในปริมาณ 25-30 Lf* (*Lf ย่อมาจาก Limits of flocculation เป็นหน่วยวัดความเข้มข้นของ toxin หรือ toxoid โดยอาศัยวิธีการตกตะกอนของวัคซีนเมื่อทําาปฏิกิริยากับ 1 หน่วยมาตรฐานของ antitoxin) puri ed tetanus toxoid ในปริมาณ 5-10 Lf Bordetella pertussis (whole cell) ในปริมาณ 20,000 ล้านตัว Anaphylaxis, febrile convulsion, hypotonic hyporesponsive episodes; HHE ,(encephalopathy) จากไข้สูง DTaP พบ side effects คล้ายๆกัน ต่ำกว่า 3 เท่า ผลจากวัคซีน ประสิทธิภาพไม่ต่างกัน แต่ใน america ใช้ DTaP แทน DTwP มา 14 ปี พบว่า DTwP ระยะยาวป้องกันได้ดีกว่า
  7. คนท้อง ฉีด dT 3 เข็ม ถ้าฉีดไม่ครบ หรือไม่เคยฉีด Tdap แนะนำให้คนท้อง GA 26- 37 wk (แทน dT 1 เข็ม) เด็กที่ได้รับวัคซีน DTP อาจมีไข้และร้องกวนได้ บางรายอาจมีอาการปวด บวม แดงร้อนบริเวณ ท่ีฉีดวัคซีน อาการมักจะเร่ิมราว 3-4 ช่ัวโมงหลังฉีด และมีอาการนานไม่เกิน 2 วัน ควรแนะนําาให้ยาลดไข้ในกรณี เด็กมีอาการตัวร้อนมากและร้องกวน รวมทั้งเช็ดตัวเด็กด้วยน้ําาอุ่น หลังจากกินยาลดไข้แล้ว 20-30 นาที
  8. ไม่สามารถรับวัคซีนไอกรนได้ เช่น เด็กท่ีมีโรคทางสมอง ซึ่งยังควบคุมโรคไม่ได้ดี หรือมีประวัติเคยมีปฏิกิริยารุนแรงหลังได้รับวัคซีนท่ีมีไอกรนผสมอยู่ ได้แก่ ปฏิกิริยา ทางสมอง (encephalopathy) ซึ่งเป็นข้อห้ามของวัคซีนไอกรนท้ังชนิดแบบท้ังเซลล์และไร้เซลล ในคนที่ได้รับวัคซีนบาดทะยักบ่อยเกินไปอาจเกิดปฏิกิริยา Arthus reaction ได้ โดยเกิดอาการบวมมาก ของแขนหรอื ขาขา้ งทไี่ ดร้ บั วดั ซนี ซงึ่ มกั เกดิ หลงั ฉดี ภายใน 2-8 ชวั่ โมง จงึ ควรพจิ ารณาเวน้ ชว่ งในโดส๊ ถดั ไปอยา่ งนอ้ ย 10 ปี ส่วนปฏิกิริยาอื่นๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นเป็นเช่นเดียวกับ DTP การฉีด TIG อาจทําาให้เกิด serum sickness ได้เล็กน้อย DT puri ed diphtheria toxoid ในปริมาณ 25-30 Lf puri ed tetanus toxoid ในปริมาณ 5-10 Lf dT puri ed diphtheria toxoid ในปริมาณ 1-2 Lf puri ed tetanus toxoid ในปริมาณ 5-10 Lf
  9. ไข้ไขสันหลังอักเสบ Polio virus : single-stranded RNA virus ผตู้ ดิ เชอื้ มากกวา่ รอ้ ยละ 95 จะไมแ่ สดงอาการ สาํา หรบั อาการ เจ็บป่วยเล็กน้อยและไม่เฉพาะเจาะจง เช่น ไข้ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดต้นคอ หรือคอแข็งจากเยื่อหุ้ม สมองอักเสบ พบได้ร้อยละ 5 และประมาณร้อยละ 0.1-2 เท่านั้นท่ีจะมีอาการอัมพาตของแขนขาแบบเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis, AFP) ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเน้ือลีบ และอาจเกิดอัมพาตของระบบหายใจทําาให้ เสียชีวิตได้2 เช้ือจะอาศัยอยู่ในลําาไส้และถูกขับถ่ายออกมากับอุจจาระ ของผปู้ ว่ ย การตดิ เชอ้ื เกดิ ในมนษุ ยเ์ ทา่ นนั้ ตดิ ตอ่ จากคนสคู่ นผา่ นทางอาหารหรอื นา้ํา ทปี่ นเปอื้ นเชอื้ ระยะฟกั ตวั หลงั จากทไี่ ดร้ บั เชอ้ื เฉลยี่ ประมาณ 7-14 วนั 1 (3-35 วนั ) OPV มี 3 type SE เยอะ : Vaccine Associated Polio Paralysis (VAPP) ใช้ใน immunocompromised ไม่ได้ IPV มี 3 typeแพงกว่า แต่ปลอดภัยกว่า และให้ในใน immunocompromised ได้ มักมาในรูปแบบวัคซีนรวม
  10. โรคหัด ไข้ ออกผื่น ตาแดง ซึ่งอาจมีโรคแทรกซ้อนได้ เช่น หูอักเสบ ปอดอักเสบ ท้องเดิน สมองอักเสบ และผู้ป่วยอาจ เสียชีวิตได้จากโรคแทรกซ้อนทางปอดและสมองซึ่งมักพบในเด็กเล็ก หัดเยอรมัน ่ ปวดศีรษะ ปวดเม่ือย ไขต้ าํา่ ๆ ตอ่ มนา้ํา เหลอื งโต โดยเฉพาะตามลาํา คอ หลงั ใบหู หลงั จากนนั้ ประมาณ 1 สปั ดาห์ จะเกดิ ผนื่ เปน็ เมด็ ละเอยี ด สีชมพู ซึ่งปรากฏท่ีใบหน้าก่อนและขึ้นท่ีคอ ไล่ลงมาตามลําาตัวและแขนขา อาการจะหายภายใน 3 วัน คางทูม ต่อมน้ําาลายอักเสบ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นต่อมน้ําาลายพาโรติด แต่ประมาณหนึ่งในสามของผู้ติดเชื้อจะไม่เกิดอาการต่อมน้ําาลายอักเสบ ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะเกิดโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อัณฑะอักเสบ ซ่ึงมักพบในวัยเด็กโตและผู้ใหญ่ ข้ออักเสบ ต่อมทัยรอยด์อักเสบ ไตอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ หูตึง รังไข่อักเสบ และการอักเสบของระบบประสาท SE ไข้ ผื่น ต่อมน้ำเหลืองโต ต่อมน้ำลายอักเสบ แพ้ ห้ามฉีดในคนท้อง เพราะเป็น ​live vaccine ในผทู้ แ่ี พไ้ ขถ่ งึ แมจ้ ะแพแ้ บบรนุ แรง สามารถใหว้ คั ซนี MMR ได้ เพราะมโี อกาสเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าตา่ํา เนอื่ งจาก ในวัคซีนมี egg cross-reacting protein ตํา่า และการทําา skin test ไม่ช่วยทาํา นายปฏิกิริยาได้เสมอไป ดังนั้นจึง แนะนําาให้วัคซีนได้เลยโดยไม่ต้องทําา skin test แต่ควรเฝ้าระวังผู้ป่วยหลังให้วัคซีนอย่างน้อย 30 นาที1
  11. อาการของ ผู้ป่วยโรคนี้มีไข้สูงปวดศีรษะคอแข็งกระตุกส่ันมีอาการชักเป็นอัมพาตหรือมีอาการเพ้อจนกระทั่งหมดสต ยุงพาหะที่นาํา โรค คือ ยุงรําาคาญ ได้แก่ Culex tritaeniorhynchus, Culex gelidus7 ยุงเหล่านี้มักเพาะพันธุ์ในทุ่งนาท่ีมีน้ําาเจ่ิงนอง และตามแหล่งนา้ํา ขังในเขตชานเมืองหรือชนบททั่วไป หลายยี่ห้อ ฉีดจำนวน ml ต่างกัน SE อาจมีอาการปวด บวม คัน แดงบริเวณที่ฉีด ในบางครั้งอาจมีไข้ตา่ํา ๆ หรือ ปวดศีรษะ
  12. เช้ือไข้หวัดใหญ่มีการเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมของ hemagglutinin (H) และ neuraminidase (N) ซึ่งเป็น glycoprotein ในส่วน envelope ของเชื้อไวรัสได้ 2 แบบ A คน สัตว์ B,C คนอย่างเดียว Antigenic shift: H1N1 to H2N2 to H3N3 ระบาดทั่วโลก Antigenic drift mutation ของ H & N Tetravalent ซีกโลกใต้กับซีกโลกเหนือ ไม่เหมือนกัน
  13. Whole cell SEเยอะ ไข้ Split virion ที่ าํา ใหส้ ว่ นประกอบของไวรสั แยกออก โดยสกดั เอาแอนตเิ จนของเปลอื กนอก และโปรตนี แอนตเิ จนชนั้ ในไว้ Subunit แยกส่วนประกอบของไวรัสออกเหลือเพียง แอนติเจนผิวนอกซ่ึงเป็นโปรตีนเฉพาะส่วนที่กระตุ้นภูมิคุ้มกันคือ hemagglutinin (H) และ neuraminidase (N) ท่ีบริสุทธ์ิ
  14. ในเด็กอายุตา่ํา กว่า 9 ปี ท่ีไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ มาก่อน ให้ฉีด 2 คร้ัง ในปีแรกท่ีฉีด โดยครั้งแรกและครั้งท่ี 2 ห่างกัน 1–2 เดือน หลังจากน้ันฉีดปีละ 1 เข็ม ในประเทศไทยควรฉดี วคั ซนี กอ่ นเรม่ิ ฤดฝู น หรอื กอ่ นฤดหู นาว เพราะเปน็ ชว่ งทม่ี อี บุ ตั กิ ารณข์ องโรคสงู สดุ แตส่ ามารถฉดี ไดต้ ลอดปี โดยควรเลอื กวคั ซนี ทผี่ ลติ โดยใชเ้ ชอื้ สายพนั ธทุ์ รี่ ะบาดในปหี ลงั สดุ โดยชว่ งกอ่ นฤดฝู น วคั ซนี จะเป็นเชื้อทางซีกโลกใต้ และช่วงก่อนฤดูหนาว วัคซีนจะเป็นเช้ือทางซีกโลกเหนือ
  15. วัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิต จะพบปฏิกิริยาเฉพาะท่ี ได้แก่ อาการปวดบริเวณท่ีฉีดวัคซีน มักมีอาการไม่เกิน 2 วัน ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว พบร้อยละ 4-11 อาการแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน เกิดลมพิษ ปากบวม หอบหืด เกิดข้ึนได้น้อยมาก วัคซีน FluadTM ที่มี adjuvant จะมีปฏิกิริยาเฉพาะที่มากกว่าวัคซีน subunit ชนิดอ่ืน16-17 วัคซีน IntanzaTM ท่ีฉีดเข้าในหนังจะมีปฏิกิริยาท่ัวไปน้อยกว่าที่ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่จะเกิดอาการคันเจ็บบริเวณ ผิวหนังที่ฉีดมากกว่าและนานกว่า18-19 วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต ทําาให้มีไข้ตา่ํา ๆ มีอาการคัดจมูกนาํา้ มูกไหลเล็กๆ น้อยๆ ได้ อาจเกิดผื่นลมพิษ นอกจากน้ี อาจทําาให้เกิดอาการหลอดลมตีบคล้ายหอบหืดได้ โดยเฉพาะถ้าให้วัคซีนในเด็กอายุตาํา่ กว่า 2 ปี แต่พบได้น้อย1
  16. มักเกิดในทารกและเด็กเล็กอายุตํา่ากว่า 2 ปี ทําาให้เกิดอาการท้องเสีย อาเจียน เกิดภาวะขาดสารนํา้าและเกลือแร่ บางคนจะมีอาการปวดท้องและไข้ เด็กท่ีติดเช้ือน้ีประมาณครึ่งหนึ่งจะมีอาการ ของระบบทางเดินหายใจร่วมด้วย อาการท้องเสียส่วนใหญ่เป็นลักษณะถ่ายเหลวเป็นน้ําาอาจมีมูกปนได้บ้าง แตไ่ มม่ เี ลอื ดปน ลักษณะของอุจจาระของเด็กที่ท้องเสียจากโรคติดเช้ือนี้อาจมีกลิ่นเปรี้ยวเพราะไวรัส จะทําาลายเซลล์ช้ันบนของเย่ือบุลาํา ไส้เล็ก ซ่ึงเป็นเซลล์ที่ผลิตแลคเตส (lactase) ท่ีเป็นเอ็นไซม์ย่อยน้ําาตาลแลคโตส ในนม การกินนมเป็นแบบไม่มีน้ําาตาลแลคโตส1 ในช่วงนี้จะช่วยลดอาการ ท้องเสียได้ การติดเชื้อโรต้าคร้ังแรกทาํา ให้เกิดอาการรุนแรงที่สุด เม่ือเป็นซ้ําาอาการจะลดลง2 อาการข้างเคียงจากวัคซีนท่ีพบได้บ้าง ได้แก่ ไข้ เบื่ออาหาร ท้องเสีย อาเจียน งอแง เด็กที่รับวัคซีน ส่วนใหญ่จะทนต่อวัคซีนได้ดี14,15 เด็กที่มีอาการอาเจียนหลังได้วัคซีน ไม่แนะนําาให้วัคซีนซํา้า ในการศึกษาทางคลินิก พบว่าการเกิดลําาไส้กลืนกัน (intussusception) ในกลุ่มที่ได้รับวัคซีนทั้ง RotaTeqTM และ RotarixTM ไม่ได้เพ่ิม ข้ึนเม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มท่ีได้รับยาหลอก
  17. ก่อโรคในเด็กเล็ก โดยเฉพาะท่ีอายุต่ําากว่า 2 ปี โดยเป็นสาเหตุหลักของโรคเย่ือหุ้มสมองอักเสบในเด็กเล็กซึ่งก่อให้เกิดความพิการได้ และยังก่อโรคปอดบวม โรคข้ออักเสบ โรคติดเชื้อในกระแสเลือด และโรคอ่ืน เช้ือฮิบแพร่ทางละอองฝอยจากทางเดินหายใจหรือจากการสัมผัสโดยตรง รวม DTaP, IPVและ HBV
  18. ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรให้วัคซีนฮิบในหญิงมีครรภ์ หรือกําาลังอยู่ในระหว่างให้นมบุตร 2. ห้ามฉีดวัคซีนฮิบในผู้ที่ไวต่อการแพ้ส่วนประกอบใด ๆ ของวัคซีนนี้ 3. เนื่องจากอายุของเด็กที่แนะนาํา ให้ฉีดวัคซีนฮิบ ตรงกับอายุที่ต้องฉีดวัคซีน DTP จึงมีการผลิตวัคซีนรวม ที่มี DTP กับฮิบชนิด PRP-T ไว้ด้วยกัน ทําาให้สะดวกในการใช้มากขึ้น อย่างไรก็ดี วัคซีนฮิบชนิด PRP-OMP ไม่สามารถผสมรวมกับ DTP ได้ นอกจากนี้วัคซีน PRP-T ที่มีจําาหน่ายแบบเดี่ยวไม่สามารถนาํา ไปผสมกับ DTP ทั่วไปได้ ยกเว้นแต่จะเป็น DTP ที่ผลิตจากบริษัทเดียวกัน (เช่น Act-HIBTM สามารถผสมกับ DTwP ท่ีผลิต โดย Sano Pasteur ได้ และ HiberixTM สามารถผสมกับ Tritanrix-HBTM ที่ผลิตโดย GSK ได้) และห้าม นําาวัคซีนฮิบที่จําาหน่ายเดี่ยวๆ กับ DTaP ที่จําาหน่ายแยกกัน มาผสมกันเอง แต่มีวัคซีนรวม DTaP และ Hib ท่ีผลิตรวมเป็นเข็มเดียวกันจาํา หน่ายอยู่แล้ว 4. เด็กท่ีอายุน้อยกว่า 2 ปี แม้ว่าเคยติดเชื้อฮิบชนิดรุนแรงแล้ว ยังต้องได้วัคซีนเพราะการติดเช้ือ โดยธรรมชาติกระตุ้นภุมิคุ้มกันได้ไม่ดี แนะนําาให้เริ่มฉีดหลังจากเป็นโรคติดเชื้อฮิบ 1 เดือน2
  19. อีสุกอีใส อาการของโรค เริ่มด้วยมีไข้ ปวดศีรษะ เบ่ืออาหาร และมีผื่นข้ึนท่ีผิวหนัง ลักษณะผื่นระยะแรกเป็นตุ่มนูนแดงกระจายตามลําาตัว มากกว่าที่หน้าหรือแขนขา ภายในประมาณ 2-3 ชั่วโมง ตุ่มนูนแดงจะกลายเป็นตุ่มนํา้าพองใส มีลักษณะเหมือนหยดนา้ํา รูปร่างรี ๆ มีขอบแดง ซึ่งต่อมาจะมีลักษณะขุ่นขาวคล้ายหนองแล้วกลายเป็นสะเก็ด และจะมีตุ่มใหม่เกิดต่อ ๆ กันไป ตุ่มอาจเกิดขึ้นในปากและลําาคอได้ ประมาณ 3-4 วัน ตุ่มจะค่อย ๆ แห้งและตกสะเก็ด อัตราตายของโรคน้ีตาํา่ ส่วนใหญ่ตายจากโรคแทรกซ้อน เช่น ติดเชื้อแบคทีเรียซํา้าเติมบนผ่ืนแล้วเข้ากระแสเลือด ปอดอักเสบและ โรคสมองอกั เสบ อยู่ในรูปวัคซีนรวม MMRV
  20. ปฏิกิริยาจากวัคซีนในเด็กปกติพบว่ามีค่อนข้างน้อย ได้แก่ อาการเจ็บปวด บวม หรือแดงบริเวณที่ ฉีดวัคซีนร้อยละ 20 มีผื่นบริเวณที่ฉีดเล็กน้อยประมาณร้อยละ 3-5 มีไข้ อุณหภูมิสูงกว่า 38oซ ร้อยละ 10 และ พบ varicella rash หรือ maculopapular rash ร้อยละ 3-5 ผื่นมากกว่า 10 ตุ่ม มีร้อยละ 1.4 และผ่ืนมากกว่า 100 ตุ่ม มีเพียงร้อยละ 0.1 ส่วนใหญ่ตุ่มจะเกิดในวันที่ 5-26 หลังฉีดและมักเป็นตุ่มเหมือนยุงกัดมากกว่าตุ่มนํา้าใส เหมือนอีสุกอีใสทั่ว ๆ ไป อาการแทรกซ้อนรุนแรง เช่น anaphylaxis, Stevens-Johnson syndrome, เกล็ดเลือดตา่ํา , Guillian-Barre’ syndrome พบน้อยมาก หลังจากฉีดวัคซีนแล้ว ยังมีโอกาสเป็นอีสุกอีใสได้ในอัตราร้อยละ 1-4 ต่อปี แต่อาการจะน้อย มีตุ่มข้ึน จําานวนน้อย เด็กท่ีได้รับวัคซีน 2 เข็ม มีโอกาสเกิดโรคอีสุกอีใสน้อยกว่าเด็กที่ได้รับวัคซีนเพียงเข็มเดียว ให้ varicella immune globulin ขนาด 125 ยูนิต/10 กก. (ขนาดสูงสุด 625 ยูนิต) หรือ intravenous immune globulin (IVIG) 400 มก./กก. ภายใน 10 วันหลังสัมผัส9 ควรพิจารณาใช้ในกรณี ผปู้ ว่ ยหนกั หรอื มภี มู คิ มุ้ กนั บกพรอ่ งอยา่ งมากจนทาํา ใหฉ้ ดี วคั ซนี ไมไ่ ดห้ รอื ทารกแรกเกดิ ผทู้ ไี่ ดร้ บั IVIG ภายใน 3 สปั ดาห์ ก่อนสัมผัสถือว่ามีภูมิคุ้มกันแล้วไม่ต้องให้ VZIG หรือ IVIG ซ้ําา9
  21. single-stranded RNA Virus Family Picornaviridae, Genus Hepatovirus เป็น Enterovirus type 72 ผู้ติดเช้ือจะมีอาการแบบเฉียบพลันเร่ิมมีอาการไข้ตา่ํา ๆ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บใต้ชายโครงขวา ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม อุจจาระมีสีเหลืองซีดลง ต่อมาอาการดีขึ้นแต่สังเกตพบว่ามี ตัวเหลืองตาเหลืองเกิดขึ้น พบได้ประมาณร้อยละ 70 ของผู้ติดเช้ือ
  22. Gram + ve coccus Lancet shape การแพร่เช้ือระหว่างคนมักเกิดจากการสัมผัสละอองฝอยของ ทางเดินหายใจ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ การติดเชื้อในกระแสเลือด โรคปอดอักเสบ โรคหูชั้นกลาง อักเสบ โรคไซนัสอักเสบ เป็นต้น 23-valent polysaccharide vaccine : ประกอบด้วยโพลีแซคคาไรด์แอนติเจนของแคปซูลของเชื้อ S. pneumoniae จําานวน 23 ซีโรทัยป์ Pneumococcal conjugate vaccine : เี่ อาสว่ นโพลแี ซคคาไรดแ์ อนตเิ จนบนแคปซลู ของเชอ้ื มาจบั กบั พาหะโปรตนี เพื่อเปลี่ยนแอนติเจนให้เป็น T-dependent ทําาให้กระตุ้นภูมิคุ้มกันในเด็กเล็กอายุตํา่ากว่า 2 ปีได้ดี
  23. 1. เน่ืองจากวัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือนิวโมคอคคัสท้ังชนิด PCV และ PPSV23 ไม่ได้ครอบคลุมเช้ือท่ี อาจก่อโรคได้ทุกซีโรทัยป์ ดังนั้นจึงควรอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจว่า เด็กยังมีโอกาสเป็นโรคติดเช้ือนิวโมคอคคัสได้ แม้จะฉีดวัคซีนครบถ้วน 2. วัคซีนท้ัง PPSV23 และ PCV ไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อ S. pneumoniae ได้ทั้งหมดดังน้ัน ต้องรับประทานยาเพนนิซิลินป้องหลังการตัดม้ามแม้จะได้รับวัคซีนแล้ว 3. แม้ว่าจะยังไม่มีรายงานผลของวัคซีนต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์ก็ตาม ยังไม่แนะนาํา ให้ฉีดวัคซีน ทั้ง PPSV23 และ PCV แก่หญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 4. ไม่ควรให้วัคซีน PPSV23 ในเด็กอายุตํา่ากว่า 2 ปี เนื่องจากไม่ได้ผล 5. ไม่ควรให้วัคซีนป้องกันโรคติดเช้ือนิวโมคอคคัสแก่ผู้ท่ีมีปฏิกิริยารุนแรงจากวัคซีนโด๊สก่อน
  24. วัคซีน HPV ประกอบด้วยโปรตีนท่ีเปลือกหุ้ม (capsid protein) ชนิด L1 ของเชื้อ HPV ซึ่งผลิตโดย วิธีวิศวพันธุศาสตร์ (genetic engineering) มีคุณสมบัติคือสามารถรวมตัวเป็นอนุภาคคล้ายไวรัสได้ (virus-like particles, VLPs)