SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
ซากดึกดาบรรพ์ที่ถูก
ค้นพบ
....ในประเทศไทย
มหายุค
พาลีโอโซอิก
มหายุค
มีโซโซอิก
มหายุค
ซีโนโซอิก
ซากดึกดาบรรพ์ที่ถูกค้นพบในไทย
ซากดึกดาบรรพ์ที่พบในประเทศไทยมีหลากหลายเกือบทุกประเภท ได้แก่
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ปะการัง หอย ไทรโลไบต์ สัตว์มีกระดูกสัน
หลัง เช่น เต่า ไดโนเสาร์ ปลา จระเข้ และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ส่วนซากพืช
พบหลายชนิด มีทั้งส่วนของลาต้น ใบ และละอองเรณู นอกจากนี้ยังมี
ร่องรอยของสัตว์ดึกดาบรรพ์ เช่น รอยเท้า และรอยทางเดินของไดโนเสาร์
รูและรอยชอนไชของหนอน ซากดึกดาบรรพ์เก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศ
ไทย คือ ซากไทรโลไบต์ มีอายุราว ๕๐๐ ล้านปี พบที่เกาะตะรุเตา ส่วนซาก
ดึกดาบรรพ์ ที่มีอายุใหม่ ได้แก่ ซากหอยนางรมยักษ์ ที่พบจากชุดดิน
กรุงเทพฯ มีอายุเพียง ๕,๕๐๐ ปี
ประโยชน์ของซากฟอสซิล
ฟอสซิลสามารถบอกให้เราทราบถึงชนิดรูปแบบและวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิตในช่วงระยะเวลาทาง ธรณีวิทยารวมทั้งบ่งบอกสภาพแวดล้อมของ
โลกในอดีตกาลอีกด้วยเนื่องจากในแต่ละช่วงระยะ เวลาทางธรณีวิทยาจะมี
สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นเฉพาะบางชนิดเท่านั้น
จากการคานวณหาอายุของหินทั้งในโลกและจากดาวต่างๆในระบบสุ
ริยจักรวาลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากดวงจันทร์ โดยการศึกษาไอโซโทป
(isotope)ของธาตุกัมมันตรังสีต่างๆ(radioactive elements) ที่เป็น
ส่วนประกอบของหิน รวมทั้งการศึกษาเปรียบเทียบชั้นหินโดยใช้ซากดึกดา
บรรพ์ ทาให้ทราบอายุของโลกโดยประมาณ 4,600,000,000 ปี
(4.6 billion years) และแบ่งช่วง ระยะเวลาทางธรณีดังกล่าวออกเป็น
บรมยุค(eon) มหายุค(era) ยุค (period) และ สมัย (epoch)
ตารางระยะเวลาทางธรณีวิทยา
EON
(บรมยุค)
ERA
(มหายุค)
PERIOD
(ยุค)
EPOCH
(สมัย)
DURATION
(เวลาล้านปี)
Phanerozoic
Cenozoic
Quaternary
Holocene 0.011-Today
Pleistocene 1.8-0.011
Tertiary
Pliocene 5-1.8
Miocene 23-5
Oligocene 38-23
Eocene 54-38
Paleocene 65-54
Mesozoic
Cretaceous - 146-54
Jurassic - 208-146
Triassic - 245-208
Paleozoic
Permian - 286-245
Carboniferous
Pennsylvanian 325-286
Mississippian 360-325
Devonian - 410-360
Silurian - 440-410
Ordovician - 505-440
Cambrian - 544-505
Precambrian
Proterozoic - 2,500-544
Archean - 3,800-2,500
Hadean - 4,500-3,800
ซากดึกดาบรรพ์ในมหายุคพาลีโอโซอิก
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อาเภอละงู จังหวัดสตูล
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เกาะตะรุเตา อยู่ห่างจากตัวจังหวัดสตูลไปทางทิศตะวันตก ราว ๔๕ กิโลเมตร
เป็ นบริเวณที่มีซากดึกดาบรรพ์ อายุเก่าแก่ ที่สุดในประเทศไทย มีการสะสมตัวตั้งแต่ ยุคแคมเบรียน
ตอนปลาย ต่อเนื่องมาจนถึงยุคออร์โดวิเชียนตอนต้น ราว ๕๐๐ - ๔๗๐ ล้านปี มาแล้ว ได้พบซากดึก
ดาบรรพ์ในชั้นหินดินดาน และหินทรายจากหลายบริเวณ บนเกาะตะรุเตา ได้แก่ อ่าวตะโละโต๊ะโป๊ ะ
อ่าวตะโละอุดัง และอ่าวมะละกา เป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ไทรโลไบต์ บราคิโอพอด นอติลอยด์
และร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์
ไทรโลไบต์
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมอาร์โทรโพดา (Arthropoda) พวกเดียวกับกุ้ง ปู ที่เรียกชื่อว่า ไทรโลไบต์
เนื่องจากลาตัวแบ่งได้เป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนแกนลาตัว และอีก ๒ ส่วนด้านข้างลาตัว รูปลักษณะคล้าย
กับแมงดาทะเลปัจจุบัน แต่มีขนาดเล็กกว่า ตั้งแต่ขนาดไม่กี่มิลลิเมตร จนถึง ๙๐ เซนติเมตร ไทรโล
ไบต์อาศัยอยู่ในทะเลตื้น และตามแนวปะการัง พบแพร่หลาย ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น สูญพันธุ์
ไปเมื่อปลายยุคเพอร์เมียน ไทรโลไบต์ที่พบบนเกาะตะรุเตา มีบางชนิด เป็นชนิดใหม่ที่เพิ่งพบในโลก
เช่น Parakoldinioidia thaiensis, Thailandium solum และ Eosaukia buravasi
บราคิโอพอด
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมบราคิโอโพดา (Brachiopoda) ส่วนใหญ่เป็นพวกเกาะติดที่
(sessile) ตามหิน หรือวัตถุ ที่อยู่บนพื้นทะเลบริเวณน้าตื้น มีลักษณะคล้ายหอยกาบคู่ เช่น
หอยแครง แต่ต่างกันที่เปลือกทั้ง ๒ ฝา ที่มีขนาดไม่เท่ากัน แต่ฝาเดียวกันจะมีลักษณะ
ด้านซ้าย และด้านขวาสมมาตรกัน เปลือกมีขนาดประมาณ ๒ - ๗ เซนติเมตร พบแพร่หลาย
มาก ในมหายุคพาลีโอโซอิก บราคิโอพอดที่พบบนเกาะตะรุเตามีไม่มากนัก และมีขนาดเล็ก
เช่น สกุล อะพีออร์ทิส (Apheorthis sp.)
นอติลอยด์
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา (Mollusca) หรือสัตว์จาพวก หอย ชั้น
เซฟาโลโพดา (Cephalopoda) กลุ่มเดียวกับปลาหมึกในปัจจุบัน พบแพร่หลาย
ในมหายุคพาลีโอโซอิก ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงชนิดเดียว คือ หอยนอติลุส เป็น
สัตว์กินเนื้อ ลาตัวแบ่งเป็นห้องๆ โดยมีผนังกั้นห้อง ส่วนใหญ่ลอยอยู่บนผิวน้า
ทาให้พบได้ทั้งบริเวณทะเลตื้นและทะเลลึก
ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์
คือ ร่องรอยที่เกิดจากการทากิจกรรมของสัตว์ เช่น รู หรือรอย
ชอนไชของสัตว์ในดิน เพื่ออยู่อาศัย หรือเพื่อหาอาหาร สัตว์
ต่างชนิดกันจะขุดรู และมีแนวทางการชอนไช เพื่อหาอาหารที่
ต่างกัน ที่เกาะตะรุเตา พบร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์หลายชนิด
ในหินทรายสีแดง เช่น รอยทางเดิน ของสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง และรอยชอนไชของหนอน สกุลGordia sp. ซึ่งเป็นรอยวน
กลมๆ
แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่ าเสม็ด อาเภอละงู จังหวัดสตูล
แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ้านป่าเสม็ด อยู่ห่างจากตัวเมืองสตูลไปทางทิศเหนือ
ประมาณ ๔๕ กิโลเมตร เป็นบริเวณที่ค้นพบ ซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่
แกรปโทไลต์ (Graptolite) และเทนทาคูไลต์ (Tentaculite) อายุราว ๔๐๐ - ๓๘๕
ล้านปี ในยุคดีโวเนียน
แกรปโทไลต์
เป็นสัตว์ทะเลที่ลอยอยู่ บนผิวน้า ซากดึกดาบรรพ์ที่พบ ส่วนใหญ่มีลักษณะคล้าย
รอยพิมพ์บางๆ บนหินดินดาน สีดา หรือมีรูปร่างคล้ายกิ่งไม้ แกรปโทไลต์ถือ
เป็นซากดึกดาบรรพ์ดัชนี เนื่องจาก พบมากในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น
ตั้งแต่ยุคออร์โดวิเชียนถึงยุคดีโวเนียน ซากดึกดาบรรพ์แกรปโทไลต์ที่พบใน
บริเวณนี้ ได้แก่ สกุล Diplograptus sp. และClimacograptus sp. อยู่ใน
หินดินดานสีดา
เทนทาคูไลต์
เป็นสัตว์ทะเลขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายหอยขนาดเล็ก
เป็นรูปกรวย ยาว มีโคนกว้าง และมียอดแหลม พบมาก
ในมหายุคพาลีโอโซอิกตอนต้น ที่พบจานวนมากใน
บริเวณนี้ ได้แก่ Nowakia sp. และ Styliolina sp.
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน อาเภอสวี จังหวัดชุมพร
แหล่งซากดึกดาบรรพ์เขาถ่าน ตั้งอยู่บริเวณชายทะเลบ้านเขาถ่าน อยู่ห่างจากตัวจังหวัดชุมพรไป
ทางทิศใต้ประมาณ ๓๐ กิโลเมตร เป็นเขาหินปูน สลับกับหินดินดาน มีอายุตั้งแต่ยุคคาร์บอนิ
เฟอรัสตอนปลายจน ถึงยุคเพอร์เมียนตอนต้น ราว ๓๐๐ - ๒๗๐ ล้านปี มาแล้ว พบซากดึกดา
บรรพ์หลายชนิด ได้แก่ หอยกาบคู่ ไบรโอซัว ไครนอยด์ บราคิโอพอด ฟองน้า และร่องรอยสัตว์
ดึกดาบรรพ์
ร่องรอยสัตว์ดึกดาบรรพ์
ที่พบในบริเวณเขาถ่าน ส่วนใหญ่เป็นร่องรอยการชอนไช ของ
หนอนสกุล Helminthopsis sp.
หอยกาบคู่
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา หรือสัตว์จาพวกหอย
ประกอบด้วย ฝาหอย ๒ ฝาที่มีขนาดฝาเท่ากัน แต่มีด้านซ้าย และ
ด้านขวาของฝาเดียวกัน ไม่สมมาตรกัน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่พื้นทะเลใน
บริเวณทะเลตื้น โดยพบตั้งแต่ ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน หอย ๒ ฝาที่
พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Pecten sp.
ไบรโอซัว
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ใน ไฟลัมไบรโอซัว (Bryozoa) ชอบอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ใน
บริเวณทะเลตื้น น้าใส แต่อาจพบบ้าง ในแหล่งน้าจืด ส่วนใหญ่ยึดติดอยู่กับพื้น
ทะเล แต่สามารถเคลื่อนที่ช้าๆ ได้โดยรอบ มีรูปร่างหลายแบบ บ้างเป็นแผ่นบางๆ
ติดอยู่กับก้อนหินหรือเปลือกหอย บ้างมีรูปร่างคล้ายต้นไม้ขนาดเล็ก พบตั้งแต่ยุค
ออร์โดวิเชียนจนถึงปัจจุบัน แต่พบมาก ในยุคคาร์บอนิเฟอรัส ไบรโอซัวที่พบใน
บริเวณนี้ ได้แก่ Fenestella sp. และ Polypora sp.
ไครนอยด์
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมเอคิโนเดอร์มาตา (Echinodermata) มีรูปร่างคล้ายต้นไม้
บางครั้งจึงมีผู้เรียกว่า พลับพลึงทะเล ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ ส่วน คือ ส่วนหัวมี
ลักษณะคล้ายดอก เป็นพุ่ม ส่วนลาต้นประกอบด้วยแว่น หรือท่อนกลม มีรูตรงกลางซ้อน
ต่อกัน และส่วนล่างสุดคล้ายรากไม้แผ่กระจายออกไป ทาหน้าที่ยึดเกาะกับพื้นทะเล พบ
แพร่หลายในมหายุคพาลีโอโซอิก ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่พบเพียงชิ้นส่วนของก้านที่
หลุดออกมาเป็นแว่นๆ
ฟองน้า
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมโพริเฟอรา (Porifera) มีพบอยู่บ้างในน้าจืด มี
ลักษณะโครงสร้างประกอบด้วยรูพรุน ทั้งลาตัว ทาให้น้าไหลผ่านเข้าสู่กลางลาตัว
ซึ่งมีลักษณะคล้ายถุง สามารถกรองอาหาร พบตั้งแต่ยุคแคมเบรียนจนถึงปัจจุบัน
*ภาพนี้คือภาพของไฟลัมโพริเฟอราที่ค้นจากในอินเตอร์เน็ต*
แหล่งซากดึกดาบรรพ์วัดคีรีนาครัตนาจังหวัดลพบุรี
แหล่งซากดึกดาบรรพ์วัดคีรีนาครัตนารามตั้งอยู่ที่ตาบลชอนสารเดช เป็นเขาหินปูน
ลูกโดด สูงประมาณ ๒๐ เมตร อยู่ห่างจากตัวจังหวัดลพบุรีไปทางทิศเหนือประมาณ
๔๕ กิโลเมตร พบซากดึกดาบรรพ์หลายชนิด ได้แก่ ฟิวซูลินิด แอมโมไนต์
(ammonite) ปะการัง และสาหร่าย การค้นพบซากสัตว์ทะเลโบราณหลายชนิดบริเวณ
นี้ แสดงว่า ในยุคเพอร์เมียนตอนกลาง ราว ๒๗๐ ล้านปี มาแล้ว บริเวณนี้เคยเป็น
ทะเลตื้นมาก่อน
ฟิวซูลินิด
เป็นสัตว์ทะเลเซลล์เดียวจัดอยู่ในไฟลัมโพรโทซัว อันดับฟอแรมมินิเฟอรา อาศัยอยู่ในเขตอบอุ่น และ
บริเวณน้าตื้น ลักษณะภายนอกส่วนใหญ่มีรูปร่างยาว หัวท้ายแหลม ลักษณะคล้ายกับเมล็ดข้าวสาร และมี
ขนาดเล็ก คือยาวประมาณ ๑ - ๑.๕ เซนติเมตร ทาให้คนทั่วไปคิดว่า เป็นข้าวสารหิน จึงนิยมเรียกว่า คต
ข้าวสาร พบมากในยุคคาร์บอนิเฟอรัสและยุคเพอร์เมียน สูญพันธุ์ไปตั้งแต่ปลายยุคเพอร์เมียน จึงนิยมใช้
เป็นซากดึกดาบรรพ์ดัชนี เนื่องจากแต่ละสกุลมีช่วงชีวิตสั้น เกิดแพร่หลาย เป็นบริเวณกว้าง มีวิวัฒนาการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และสามารถกาหนดอายุได้แน่นอน ซากดึกดาบรรพ์ฟิวซูลินิด ที่พบในบริเวณนี้
ได้แก่ Verbeekina verbeeki, Parafusulina gigantea, Pseudodoliolina pseudolepida และ
Sumatrina annae
แอมโมไนต์
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสกา ชั้นเซฟาโลโพดา กลุ่มเดียวกับ
ปลาหมึกปัจจุบัน เปลือกขดเป็นวง ส่วนใหญ่ลอยอยู่บนผิวน้า ทาให้สามารถ
พบได้ทั้งบริเวณทะเลตื้นและลึก พบมากในมหายุคมีโซโซอิก และสูญพันธุ์
เมื่อสิ้นยุคครีเทเชียส
ปะการัง
เป็นสัตว์ทะเลจัดอยู่ในไฟลัมไนดาเรีย (Cnidaria) มีทั้งเป็นกลุ่ม และเป็นตัวเดี่ยวๆ
อาศัยอยู่บริเวณทะเลตื้น น้าอุ่น มีแสงแดดส่องถึงและน้าค่อนข้างใส จึงพบได้
โดยทั่วไปในภูเขาหินปูน พบแพร่หลายมาก ตั้งแต่มหายุคพาลีโอโซอิก จนถึงปัจจุบัน
ซากดึกดาบรรพ์ปะการังที่พบในบริเวณนี้ ได้แก่ Ipciphyllum subelegans และ
Multimurinus khmerianus
ซากดึกดาบรรพ์ในมหายุคมีโซโซอิก
การค้นพบไดโนเสาร์
นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องฟอสซิลได้ค้นพบไดโนเสาร์มานานแล้ว แต่
มีการตั้งชื่อไดโนเสาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2384(ค.ศ.1841)ในการ
ประชุมของสมาคมวิทยาศาสตร์ก้าวหน้าในประเทศอังกฤษโดย
ศาสตราจารย์ ริชาร์ด โอเวน หลังจากนั้นทาให้ฟอสซิลของ
สัตว์เลื้อยคลานขนาดใหญ่ที่ได้ค้นพบกันมานานเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
คาว่าไดโนเสาร์(dinosaur) มาจากภาษากรีกโดยคาว่า"ไดโน"(deinos)
แปลว่าน่ากลัวมาก และ"ซอรอส" หมายถึงสัตว์เลื้อยคลาน
การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์
ปัจจุบันไดโนเสาร์ได้สูญพันธุ์ไปแล้วและมีแนวความคิดหรือสมมติฐานเกี่ยวกับการสูญพันธุ์
ของไดโนเสาร์ มากมายโดยอ้างถึงสาเหตุต่างๆเช่น การเปลี่ยนแปลงของระดับน้าทะเล การ
เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการระเบิดจากนอกโลก(supernova) เป็นต้น แต่มี
อยู่ 2 สมมติฐานที่ได้รับความสนใจและเป็นที่ถกเถียงกัน อย่างเข้มข้นได้แก่
การชนโลกของดาวเคราะห์น้อย(Asteroid Impact or K-T Impact)
การชนทาให้เกิดการระเบิดและฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองสู่บรรยากาศโลก เป็นเสมือนม่าน
บดบังแสงอาทิตย์ เป็นผลให้เกิดความมืดมิดและความหนาวเย็นอย่างฉับพลันอยู่นานเป็น
เดือนๆจนไดโนเสาร์ไม่สามารถ มีชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมดังกล่าว
แนวความคิดหรือสมมติฐานนี้อ้างหลักฐานการพบธาตุIridium ปริมาณมากกว่าปกติในชั้น
clay บางๆที่มีอายุอยู่ในช่วงรอยต่อระหว่างยุค Cretaceous และ Tertiary(K-T boundary)
ใน บริเวณต่างๆของโลก นอกจากนั้นยังพบโครงสร้างที่เชื่อว่าเกิดจากการชนของดาวเคราะ
น้อย คือChicxulub Structure ที่แหลม Yucatan ในประเทศเมกซิโก
การระเบิดของภูเขาไฟที่ที่ราบสูง Deccan ในประเทศอินเดีย(Deccan
Traps Volcanism)
การระเบิดครั้งนี้เป็นการระเบิดที่รุนแรงที่สุดในช่วงอายุของโลกและเป็นการ
ระเบิดที่เนื่องมาจาก mantle plume หรือ hotspot จากใต้โลก เป็นผลทาให้
ลาวาชนิด basaltic (basaltic lava) จานวนมหาศาลไหลสู่เปลือกโลก ปก
คลุมพื้นที่กว่า 1 ล้านตารางไมล์ และหนากว่า 1 ไมล์ เกิด mantle
degassing ทาให้คาร์บอนไดออกไซด์ และไอน้าถูกนาขึ้นสู่ผิวโลกด้วยอัตราที่
ผิดปกติ ก่อให้เกิดชั้น greenhouse gases ในบรรยากาศกักเก็บความร้อน
จากดวงอาทิตย์ไว้ที่ผิวของโลกไม่ให้มีการถ่ายเท อุณหภูมิจึงสูงขึ้น รวมทั้ง
ทาให้วัฏจักรของคาร์บอนและออกซิเจน เปลี่ยนแปลงจนนามาสู่การสูญพันธุ์
ของไดโนเสาร์
ไดโนเสาร์เป็นสัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยู่บนผืนแผ่นดินและสูญ
พันธุ์หมดสิ้นจากโลกนี้ เมื่อหลายสิบล้านปีมาแล้ว ในปัจจุบันพบเพียงซาก
กระดูกส่วนต่าง ๆ ซึ่งเราเรียกว่าฟอสซิลของไดโนเสาร์คนส่วนใหญ่เข้าใจว่า
ไดโนเสาร์เป็นสัตว์ที่ใหญ่โต มโหฬารหรือเป็นสัตว์ประหลาดขนาดยักษ์
เช่นเดียวกับปลาวาฬ บ้างก็ว่าเป็นสัตว์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีชีวิตอยู่ในโลก
แต่โดยความเป็นจริง ไดโนเสาร์มี ขนาดและรูปร่างแตกต่างกันมากมาย
ตั้งแต่ขนาดใหญ่มหึมา น้าหนักกว่า 100 ตัน สูงมากกว่า 100 ฟุต จนถึง
พวกที่ขนาดเล็ก ๆ บางชนิดก็มีขนาดเล็กกว่าไก่ บางพวกเดินสี่ขา บางพวกก็
เดินและวิ่งบนขาหลัง 2 ข้าง บางพวกกินแต่พืชเป็นอาหาร ในขณะที่อีกพวก
หนึ่งกินเนื้อเช่นเดียวกับสัตว์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
ไดโนเสาร์พวกแรกปรากฎขึ้นมาในโลกในช่วงตอนปลายของยุคไทรแอสสิกเมื่อกว่า225ล้านปี
มาแล้วเป็นเวลาที่ทวีปทั้งหลาย ยังต่อเป็นผืนเดียวกัน สัตว์เลื้อยคลานพวกนี้มีชีวิตอยู่และมี
วิวัฒนาการตลอดระยะเวลาอันยาวนานถึง 160 ล้านปี กระจัด กระจายแพร่หลายอยู่ทั่วผืนแผ่นดิน
ในโลก แล้วจึงได้สูญพันธุ์ไปหมดในปลายยุคครีเทชียสหรือเมื่อ 65 ล้านปีที่ล่วงมาแล้ว ในขณะที่
ต้นตระกูลของมนุษย์เพิ่งจะปรากฎในโลกเมื่อ 5 ล้านปีที่ผ่านมา หลังจาก ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปแล้ว
ถึง 60 ล้านปี และเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ปัจจุบันนั้นเพิ่งเริ่มต้นมาเมื่อไม่เกินหนึ่งแสนปีมานี่เองมนุษย์
มักจะคิดว่าไดโนเสาร์นั้นโง่และธรรมชาติสร้างมาไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม จึงทาให้มันต้อง
สูญพันธุ์ไปทั้งหมด ความคิดนี้ไม่ถูก โดยแท้จริงแล้วไดโนเสาร์ได้เจริญแพร่หลายเป็น เวลายาวนาน
กว่า 30 เท่า ที่มนุษย์ได้อาศัยอยู่ในโลก ตลอดช่วงเวลาอันยาวนานนี้ไดโนเสาร์ได้มีวิวัฒนา การ
ออกไปเป็นวงศ์สกุลต่าง ๆ กันมากมาย เท่าที่ค้นพบและจาแนกแล้วประมาณ 340 ชนิด และคาด
ว่า ยังมีอีกเป็นจานวนมากที่กาลังรอคอยการค้นพบอยู่ในที่ต่าง ๆ กันทั่วโลก ทุกวันนี้ ทั่วโลกมีคณะ
สารวจ ไดโนเสาร์อยู่ประมาณ 100 คณะทาให้มีการค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่เพิ่มขึ้นอีกมากมาย
ประมาณว่ามี การค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่เพิ่มขี้น 1 ชนิดในทุกสัปดาห์ นักโบราณชีววิทยา แบ่ง
ไดโนเสาร์ออกเป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ โดยอาศัยความแตกต่างของกระดูกเชิงกราน คือ
พวกซอริสเซียน (Saurischians) มีกระดูกเชิง กรานเป็นแบบสัตว์เลื้อยคลาน คือ กระดูก พิวบิส
และอิสเชียมแยกออกจากกันเป็นมุมกว้าง
พวกออรืนิธิสเชียน (Ornithiscians) มีกระดูก เชิงกรานเป็นแบบนก คือ กระดูกทั้ง 2 (พิวบิสและ
อิสเชียม) ชี้ไปทางด้านหลัง
แหล่งซากและรอยเท้าไดโนเสาร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีศักยภาพของการค้นพบซากไดโนเสาร์ ได้
มากกว่าภาคอื่นๆ เนื่องจาก บริเวณที่ราบสูงโคราช ประกอบด้วยหินในมหายุคมีโซโซอิก ซึ่ง
มหายุคนี้ถือกันว่า เป็นระยะเวลาที่สัตว์เลื้อยคลานครองโลก โดยมีความหลากหลายของ
สัตว์เลื้อยคลานหลายชนิด ทั้งไดโนเสาร์ จระเข้ และเต่า ตะกอนที่พบทั่วไป เป็นตะกอนที่ตก
ทับถม ในลุ่มแม่น้า หรือในหนองน้าจืด ซึ่งเป็นแหล่งหาอาหาร ของสัตว์เลื้อยคลานเหล่านั้น
แหล่งซากไดโนเสาร์ภูเวียง อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
ภูเวียงตั้งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติภูเวียง ห่างจากตัวจังหวัดขอนแก่น ไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๘๗
กิโลเมตร มีลักษณะภูมิประเทศเป็นสันเขา สูงประมาณ ๒๕๐ - ๗๕๐ เมตร โอบล้อมแอ่งที่ราบไว้ภายใน
ภูเวียง เป็นบริเวณที่ค้นพบกระดูกไดโนเสาร์ชิ้นแรกในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ พบอยู่ที่บริเวณภู
ประตูตีหมา เป็นกระดูกท่อนขาของไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ต่อมาได้มีการสารวจพบไดโนเสาร์ ทั้ง
จาพวกกินพืช และกินเนื้อ ชนิดใหม่ของโลกหลายชนิด ได้แก่ ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ ซึ่งได้มีการขอ
พระราชทานพระราชานุญาต ตั้งชื่อตามพระนาม ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(Phuwiangosaurus sirindhornae) ไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็ก (Compsognathus sp.) ไดโนเสาร์กิน
เนื้อ (Siamosaurus suteethorni) และไดโนเสาร์กินเนื้อ ซึ่งคาดว่า เป็นบรรพบุรุษของไทรันโนซอรัส
(Siamotyrannus isanensis) ทั้งหมดพบในหมวดหินเสาขัว อายุประมาณ ๑๓๐ ล้านปี นอกจากนี้ ยัง
พบรอยเท้าไดโนเสาร์บริเวณหินลาดป่าชาด ในหมวดหินพระวิหาร ซึ่งมีอายุ ประมาณ ๑๔๐ ล้านปี เป็น
รอยพิมพ์นิ้ว ๓ นิ้ว คล้ายรอยเท้านก ที่ปลายนิ้วมีร่องรอย ของเล็บแหลมคม บ่งชี้ว่าเป็นรอยเท้า
ไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็ก ไดโนเสาร์ที่ภูเวียง เป็นไดโนเสาร์สกุลและชนิดใหม่ ซึ่งเป็นต้นแบบของโลก
ถึง ๓ ชนิด เพื่อใช้เป็นข้อมูล สาหรับเปรียบเทียบกับข้อมูลที่พบใหม่ทั่วโลก โดยหากพบไดโนเสาร์ที่ใด
เหมือนกับที่ภูเวียง ก็จะต้องเรียกชื่อตาม ดังนั้น จึงควรเก็บรักษาซากไดโนเสาร์ต้นแบบนี้ไว้ ให้คงอยู่
ตลอดไป
แหล่งซากไดโนเสาร์ภูเวียง อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
แหล่งซากไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว อาเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ภูกุ้มข้าว ตั้งอยู่ที่ตาบลโนนบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดกาฬสินธุ์ไปทางทิศ
เหนือประมาณ ๒๙ กิโลเมตร เป็นเขาโดดสูงประมาณ ๓๐๐ เมตร พบซาก
กระดูกไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่ที่สมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในชั้น
หินทรายปนหินดินดานสีแดง ของหมวดหินเสาขัว อายุประมาณ ๑๓๐ ล้าน
ปี ที่หลุมขุดค้นไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว ได้มีการขุดพบกระดูกมากกว่า ๖๓๐ ชิ้น
เป็นกระดูกส่วนคอ ขา สะโพก ซี่โครง และหางของไดโนเสาร์กินพืชไม่ต่า
กว่า ๖ ตัว ลักษณะกระดูกที่พบ เป็นไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่
(Phuwiangosaurus sirindhornae) นอกจากนี้ ยังพบฟันของไดโนเสาร์กิน
พืช และกินเนื้ออีกมากกว่า ๒ ชนิด
แหล่งซากไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว อาเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์ภูหลวง อาเภอภูหลวง จังหวัดเลย
แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์ภูหลวง ตั้งอยู่บนยอดภูหลวง ในบริเวณที่
เรียกว่า ผาเตลิ่น ในเขตพื้นที่รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง
รอยเท้าที่ปรากฏอยู่บนชั้นหินทรายมีขนาดกว้าง ๓๕ เซนติเมตร ยาว
๓๑ เซนติเมตร ลึก ๓ - ๔ เซนติเมตร ปรากฏให้เห็นจานวน ๑๕ รอย
เป็นรอยเดินไปทางทิศใต้ ๑๐ รอย และรอยสวนกลับ ๒ รอย รอยเดิน
ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ๒ รอย และอีกรอยไม่ชัดเจน เป็น
รอยเท้าของไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ที่เดินด้วยขาหลัง ๒ ข้าง
เนื่องจาก มีลักษณะแสดงรอยเล็บแหลมคม รอยเท้าดังกล่าวนี้อยู่ใน
หมวดหินภูพาน อายุประมาณ ๑๒๐ ล้านปี
แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์ภูหลวง อาเภอภูหลวง จังหวัดเลย
แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์ภูแฝก กิ่งอาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
แหล่งรอยเท้าไดโนเสาร์
ภูแฝก ตั้งอยู่ในเขตวนอุทยาน
ภูแฝก ตาบลภูแล่นช้าง
ค้นพบโดย
ด.ญ. กัลยามาศ สิงห์นาคลอง
ด.ญ. พัชรี ไวแสน
เมื่อปลาย พ.ศ. ๒๕๓๙
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลาภูน้าจั้น อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ตั้งอยู่ที่ภูน้าจั้น ใกล้วัดพระพุทธบุตร พบในชั้นหินทราย มีอายุตั้งแต่ปลาย
ยุคจูแรสสิก ถึงต้นยุคครีเทเชียส ราว ๑๓๐ ล้านปี มาแล้ว
ซากดึกดาบรรพ์ปลาที่พบมีขากรรไกร ซึ่งต่างจากปลาโดยทั่วไปคือ
ขากรรไกรสั้นต้องดูดอาหารที่อยู่ใกล้ๆ ปากเท่านั้น นอกจากนี้ ยังมีเกล็ด
แข็งเป็นเงาวาวเพื่อช่วยพยุงลาตัว เนื่องจาก ยังไม่มีการพัฒนากระดูกสัน
หลังเท่าที่ควร จากการศึกษา พบว่า เป็นซากดึกดาบรรพ์ปลาชนิดใหม่ของ
โลก ให้ชื่อว่า เลปิโดเทส พุทธบุตรเอนซิส (Lepidotes buddhabutensis)
จัดอยู่ในวงศ์ Semionotidae แหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลาแห่งนี้มีซากปลาเลปิ
โดเทสที่สมบูรณ์มากกว่า ๑๐๐ ตัว ถือได้ว่า เป็นแหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลา
เลปิโดเทสที่ใหญ่ที่สุด ในทวีปเอเชีย สันนิษฐานว่า บริเวณนี้เคยเป็นแอ่งน้า
จืดขนาดใหญ่มาก่อน
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลาภูน้าจั้น อาเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
ซากดึกดาบรรพ์ในมหายุคซีโนโซอิก
แหล่งซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง เริ่มมี
แพร่หลายในมหายุคซีโนโซอิก ซึ่งเราเรียกยุคนี้ว่า เป็นยุคของ
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในประเทศไทย ซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนม พบได้ตามเหมืองถ่านหิน และในบริเวณที่มีการ
สะสมตัว ของตะกอนถ้าทั่วประเทศไทย
*หัวกะโหลกสัตว์กินเนื้อ พบที่เหมืองถ่านหิน จ.กระบี่
แหล่งซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหิน อาเภอ
เหนือคลอง จังหวัดกระบี่
เหมืองถ่านหินกระบี่ อยู่ห่างจากตัวเมืองกระบี่ ไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้ ประมาณ ๒๐ กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของแอ่งสะสมตัว ยุค
พาลีโอจีน ตะกอนประกอบด้วยชั้นหินโคลน หินทรายแป้ง และหิน
ทราย มีชั้นถ่านหินหนาประมาณ ๒๐ เมตร ซึ่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง
ประเทศไทย ได้ขุดชั้นถ่านหินดังกล่าวไปใช้ผลิตไฟฟ้า
ซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่พบในชั้นถ่านหินมี
มากกว่า ๒๐ ชนิด ได้แก่ ไพรเมต ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ ของไพร
เมตชั้นสูง (Siamopithecus eocaenus) สัตว์กินเนื้อ (Nimravus
thailandicus) สัตว์กีบ (Siamotherium krabiense,
Anthracotherium chaimanei) หนู นอกจากนี้ ยังพบเต่า งู
ปลา และจระเข้ รวมทั้งซากหอยน้าจืด เช่น หอยขม และหอย
กาบคู่จานวนมาก ในชั้นหินโคลน เนื่องจากบริเวณแอ่งกระบี่นี้
เป็นแอ่งน้าจืดขนาดใหญ่ ที่มีทางน้าไหลผ่าน และเป็นแหล่ง
อาหารที่อุดมสมบูรณ์ จึงทาให้มีสัตว์อาศัยอยู่เป็นจานวนมาก
ซากสัตว์เหล่านี้มีอายุประมาณ ๓๗ - ๓๓.๕ ล้านปี ในสมัยอี
โอซีนตอนปลาย
ฟันกรามด้านบนของไพรเมตชั้นสูง
แหล่งซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหินแม่เมาะ
จังหวัดลาปาง
เหมืองถ่านหินแม่เมาะ อยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศตะวันออก
ประมาณ ๒๖ กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของแอ่งสะสมตัวยุคนีโอจีน
ตะกอนประกอบด้วย ชั้นหินโคลน หินทรายแป้ง และหินทราย มีชั้น
ถ่านหินแทรกสลับหลายชั้น ซึ่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้
ขุดชั้นถ่านหินดังกล่าว ไปใช้ในการผลิตไฟฟ้า
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหินแม่เมาะ
จ.ลาปาง อายุประมาณ ๑๓ ล้านปี
แหล่งซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมืองถ่านหินเชียงม่วน
จังหวัดพะเยา
เหมืองถ่านหินเชียงม่วนตั้งอยู่บริเวณบ้านสระ ห่างจากตัวจังหวัดพะเยาไป
ทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ๕๐ กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของแอ่งสะสมตัว
ยุคนีโอจีน ตะกอนประกอบด้วยชั้นหินโคลน หินทรายแป้ง และหินทราย มี
ชั้นถ่านหินแทรกสลับ หลายชั้น ซึ่งบริษัท เหมืองเชียงม่วน จากัด ได้ขุดชั้น
ถ่านหินไปใช้ประโยชน์ซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบ ในบริเวณเหมืองถ่านหิน
เชียงม่วน ได้แก่ ช้างมาสโตดอน กระจงหมู และหนู นอกจากนี้ ยังได้ค้นพบ
ซากเอปดึกดาบรรพ์ขนาดใหญ่Khoratpithecus chiangmuanensis หรือเอ
ปเชียงม่วน ในชั้นถ่านหินด้วย ซึ่งเป็นหลักฐาน การค้นพบซากดึกดาบรรพ์
เอปขนาดใหญ่ ที่เป็นบรรพบุรุษอุรังอุตัง ครั้งแรก ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ มีอายุประมาณ ๑๓.๕ - ๑๐ ล้านปี ในสมัยไมโอซีน
ตอนกลาง
กรามช้าง พบที่เหมืองถ่านหินเชียงม่วน จ.พะเยา
แหล่งซากดึกดาบรรพ์สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม บ่อทราย อาเภอเฉลิมพระ
เกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
บ่อทรายตั้งอยู่ที่ ตาบลท่าช้าง และตาบลช้างทอง ห่างจากตัวจังหวัด
นครราชสีมาไปทางทิศตะวันออกราว ๑๙ กิโลเมตร เป็นบ่อขุด และดูด
ทราย ริมฝั่งแม่น้ามูลในปัจจุบัน ความลึกของบ่อทรายราว ๒๐ - ๔๐ เมตร
ได้พบซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด เช่น ซากช้างโบราณอย่างน้อย ๔
ชนิด ได้แก่ ช้างงาจอบ (Deinotherium sp.) ช้างสี่งา (Gomphotherium
sp. และ Stegolophodon sp.) และช้างสเตโกดอน (Stegodon sp.) แรด
โบราณ ม้าโบราณ และเอปโคราช (Khoratpithecus piriyai) ซึ่งเป็นบรรพ
บุรุษอุรังอุตัง นอกจากนี้ ยังพบเต่าโบราณขนาดใหญ่ และจระเข้โบราณ
รวมถึงซากต้นไม้ขนาดใหญ่จานวนมาก ความหลากหลายของซากดึกดา
บรรพ์ที่พบ แสดงให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ ของลุ่มน้ามูลโบราณ เมื่อ
ประมาณ ๙ - ๗ ล้านปี ก่อนในสมัยไมโอซีนตอนปลายได้เป็นอย่างดี
แหล่งซากดึกดาบรรพ์บ่อทราย อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา
เป็นแหล่งที่พบซากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิด อายุประมาน9-7ล้านปี
สุสานหอยแหลมโพธิ์ อาเภอเมืองฯ จังหวัดกระบี่
สุสานหอยแหลมโพธิ์ตั้งอยู่บริเวณ ชายฝั่งทะเลบ้านแหลมโพธิ์ ตาบลไส
ไทย ห่างจากตัวจังหวัดกระบี่ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ราว ๒๐
กิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาตินพรัตน์ธารา และหมู่เกาะพี
พี สุสานหอยมีลักษณะเป็นแผ่นหินปูนหนาตั้งแต่ ๐.๐๕ - ๑ เมตร มี
เปลือกหอยขมน้าจืด วางทับถมกันเป็นจานวนมาก และเชื่อมประสาน
ด้วยน้าปูน จนยึดติดกันเป็นแผ่น เรียงซ้อนกัน คล้ายลานซีเมนต์ ชั้น
หินสุสานหอยโผล่ให้เห็นอยู่ตามริมหาดเป็นแนวยาว ประมาณ ๒
กิโลเมตร
สุสานหอยแหลมโพธิ์ ต.ไสไทย อ.เมืองฯ จ.กระบี่ อายุประมาณ ๓๗ - ๓๓.๕ ล้านปี
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลา บ้านหนองปลา อาเภอหล่มสัก จังหวัด
เพชรบูรณ์
ตั้งอยู่บริเวณบ้านหนองปลา ตาบลน้าเฮี้ย อยู่ห่างจากอาเภอหล่มสัก ไป
ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ ๗ กิโลเมตร สถานที่พบ เป็นบ่อ
ขุด เพื่อเก็บน้าชลประทาน กว้างประมาณ ๔๐ เมตร ยาวประมาณ ๑๒๐
เมตร ลึกประมาณ ๔ เมตร เป็นหินโคลนสีเทาขาว อยู่ในยุคนีโอจีน
ปัจจุบันน้าท่วมหมดแล้ว
แหล่งซากดึกดาบรรพ์ปลา บ้านหนองปลา อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์
ซากดึกดาบรรพ์ปลาที่พบในแหล่งนี้มี อย่างน้อย ๑๑ ชนิด คือ
Leiocassis siamensis, Mystacoleucus sp., Bangana sp. ใน
จานวนนี้มี ๖ ชนิด ที่เป็นการค้นพบใหม่ในโลก
คือ Hypsibarbus antiquus, Proluciosoma pasakensis,
Hemibagrus major, Cetopangasius chaetobranchus,
Parambassis goliath และParambassis
paleosiamensis ทั้งหมดเป็นปลาน้าจืดมีอายุสมัยไมโอซีน
อาศัยตามหนองน้าและบึงใกล้ฝั่ง
ซากปลาน้าจืดที่พบที่บ้านหนองปลา
แหล่งไม้กลายเป็ นหิน อาเภอบ้านตาก จังหวัดตาก
แหล่งไม้กลายเป็นหิน อาเภอบ้านตาก อยู่ห่างจากตัวจังหวัดตากไปทาง
ทิศเหนือ ประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ในพื้นที่เขตป่าสงวน แม่สลิด - โป่ง
แดง พบไม้ทั้งต้นกลายเป็นหิน ขนาดใหญ่หลายต้นอยู่ในชั้นกรวด ลา
ต้นมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑.๘ เมตร ยาวมากกว่า ๒๐ เมตร มีอายุ
ประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ ปี ประเทศไทยพบไม้กลายเป็นหินจานวนมาก ใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ในมหายุคซีโนโซอิก และมีโซโซอิก
แหล่งไม้กลายเป็นหินที่ อ.บ้านตาก จ.ตาก อายุประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ ปี
แหล่งซากหอยนางรมยักษ์ วัดเจดีย์หอย จังหวัดปทุมธานี
วัดเจดีย์หอยตั้งอยู่ที่ตาบลบ่อเงิน อาเภอลาดหลุมแก้ว อยู่ห่างจากตัว
จังหวัดปทุมธานี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ ๒๒ กิโลเมตร
พบเปลือกหอยทะเลหลายชนิดสะสมตัว ปนกับซากไม้ผุในตะกอนดิน
เหนียวทะเล ที่มีลักษณะอ่อนนุ่ม มีสีเทาถึงเทาปนเขียว ซากหอยที่พบ
มีหลายชนิด เช่น หอยแครง หอยกาบ หอยสังข์ และหอยลาย ซากหอย
ที่พบมากที่สุด เป็นหอยนางรมยักษ์ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า
Crassostrea gigas เมื่อนาซากหอยนี้ไปหาอายุ ด้วยวิธีกัมมันตภาพรังสี
คาร์บอน ๑๔ พบว่ามีอายุประมาณ ๕,๕๐๐ ปี
แหล่งซากหอยนางรมยักษ์ที่วัดเจดีย์หอย ต.บ่อเงิน อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี
ซากหอยเหล่านี้เป็นหอยที่อาศัยอยู่ในทะเลใกล้ชายฝั่ง ในที่ราบน้าขึ้น
ถึง หรือหาดเลน ที่มีป่าชายเลนขึ้นปกคลุม น้ากร่อย ค่อนข้างตื้น และมี
น้าขึ้นน้าลงประจาทุกวัน แสดงให้เห็นว่า ในอดีตบริเวณวัดเจดีย์หอย
เคยเป็นชายทะเลมาก่อน โดยพบว่า น้าทะเลท่วมที่ราบลุ่มภาคกลาง ไป
จนถึงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อประมาณ ๖,๐๐๐ ปี ที่แล้ว ต่อมา
ทะเลโบราณลดระดับลง และเริ่มถอยร่นออกไปในช่วงประมาณ
๕,๗๐๐ - ๕,๐๐๐ ปีที่ผ่านมา เมื่อน้าทะเลถอยร่นออกไป จึงพบซาก
หอยอยู่ในบริเวณนี้
แหล่งอ้างอิง..
• http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=31&c
hap=6&page=t31-6-infodetail06.html
• http://www.dmr.go.th/ewtadmin/ewt/dmr_web/main.php?filena
me=ti2din1d
• https://www.google.co.th/search?q=ซากดึกดาบรรพ์ในประเทศ
ไทย&biw=1366&bih=638&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X
&ei=9Z_kVKXwB8aOuASFxYGwCg&sqi=2&ved=0CC0QsAQ
ขอบคุณคะ..

More Related Content

What's hot

บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80Rose Banioki
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์sampard
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapeChompooh Cyp
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านgueste5023c7
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41PMAT
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓Rose Banioki
 
จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกPanda Jing
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔Rose Banioki
 
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษามาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษาDenpong Soodphakdee
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐Rose Banioki
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55Nona Khet
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘Rose Banioki
 
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Panakrit Udomkitti
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖Rose Banioki
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาMatthanapornThongdan
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 

What's hot (19)

บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Cashew Resize
Cashew ResizeCashew Resize
Cashew Resize
 
จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์จูเลียส ซีซาร์
จูเลียส ซีซาร์
 
Ps cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shapePs cs6 ch08-draw & shape
Ps cs6 ch08-draw & shape
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
 
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
ตารางเปรียบเทียบ พรบ.41
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
 
จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลก
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
 
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษามาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
มาตรฐาน หลักสูตรและกระบวนการสหกิจศึกษา
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๒๐
 
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
การจำหน่ายพัสดุ พันจ่าอาชีพพลาฯ 55
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
 
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
Bangkok Tourism Master Plan 2011-2015
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
 
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษางานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
งานนำเสนอส่วนประกอบของดอก กลุ่มที่8 ห้อง332 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
 
KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008KKU SCL Research 2008
KKU SCL Research 2008
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 

More from Charisma Sp (14)

nam
namnam
nam
 
6
66
6
 
4
44
4
 
8
88
8
 
7
77
7
 
5
55
5
 
3
33
3
 
2
22
2
 
4
44
4
 
2
22
2
 
8
88
8
 
7
77
7
 
3
33
3
 
5
55
5
 

Recently uploaded

TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...Nguyen Thanh Tu Collection
 
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....سمير بسيوني
 
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)Shankar Aware
 
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...Nguyen Thanh Tu Collection
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...Nguyen Thanh Tu Collection
 

Recently uploaded (6)

TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
TUYỂN TẬP 25 ĐỀ THI HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2023 CÓ ĐÁP ÁN (SƯU...
 
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....
أَسَانِيدُ كُتُبِ وَأُصُولِ النَّشْرِ لِابْنِ الْجَزَرِيِّ وَالْوَصْلُ بِهَا....
 
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)French Revolution  (फ्रेंच राज्यक्रांती)
French Revolution (फ्रेंच राज्यक्रांती)
 
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
30 ĐỀ PHÁT TRIỂN THEO CẤU TRÚC ĐỀ MINH HỌA BGD NGÀY 22-3-2024 KỲ THI TỐT NGHI...
 
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA                 .
LAR MARIA MÃE DE ÁFRICA .
 
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
TUYỂN TẬP 20 ĐỀ THI KHẢO SÁT HỌC SINH GIỎI MÔN TIẾNG ANH LỚP 6 NĂM 2020 (CÓ Đ...
 

spy