SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
จูเลียส ซีซาร์




            จูเลียส ซีซาร์ มีชอเต็มว่า เดอุส จูเลียส ซีซาร์ เป็นรัฐบุรุษในประวัติศาสตร์เขาได้สถาปนา
                              ื่
ตนเองขึ้นปกครองกรุงโรม และได้ทำาให้อาณาจักรโรมมีชอเสียง เป็นที่รจักของชาวโลกมาจนตราบเท่าทุก
                                                             ื่           ู้
วันนี้ จูเลียสได้สร้างชื่อซีซาร์อันยิ่งใหญ่นี้ขึ้น และเป็นต้นแบบของกษัตริย์โรมในสมัยต่อมาที่ใช้ชื่อซีซาร์นี้
ถึงสิบสององค์ แม้คำาว่า ชาห์ แห่งอิหร่าน ซาร์ แห่งรัสเซีย ไกเซอร์ แห่งเยอรมัน ล้วนแล้วแต่มีรากศัพท์มา
จากคำาว่าซีซาร์ทั้งสิ้น และได้สืบทอดคำาเรียกเหล่านี้มาจนถึงปัจจุบัน
            ชีวประวัติและผลงาน

ช่วงต้นของชีวิต

จูเลียส เกิดในวันที่ 12 กรกฎาคม เมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริสตศักราช(พ.ศ. 444) ในตระกูลขุนนางเก่า
ตระกูลหนึ่ง มีบิดาชือเคอุส จูเลียส และมารดาชื่ออรอเรเลีย บิดาของเขาแม้จะมั่งคั่งรำ่ารวย แต่ก็มิได้มี
                     ่
ตำาแหน่งสูงนักในทางราชการ จูเลียสเป็นกำาพร้าบิดาตั้งแต่อายุยังน้อย คงมีแต่มารดาซึ่งคอยให้ความ
ปกป้องคุ้มครองดูแลต่อมา

นับตั้งแต่เด็กมา จูเลียสไม่เคยคิดที่จะยึดเอาการทหารเป็นอาชีพอย่างแท้จริงเลยทั้ง ๆ ที่เขาเคยเข้าฝึก
ทหารอยูชั่วระยะเวลาหนึ่ง เขาตั้งใจจะเป็นทนายความ หรือเป็นนักกฎหมายซึ่งเป็นอาชีพที่ขึ้นหน้าขึ้นตาใน
         ่
สมัยนั้นมากกว่า ครั้งหนึ่งเขาเคยถูกโจรสลัดจับตัวไปเรียกค่าไถ่ เมื่อเขารอดชีวิตกลับมาเขากลับรวบรวม
สมัครพรรคพวกและเรือทั้งหลาย กลับไปยังเกาะที่เขาเคยถูกนำาตัวไปกักไว้ ได้สู้รบกับบรรดาโจรสลัดจน
ได้ชยชนะนำาพวกโจรกลับมารับการลงโทษ เหตุการณ์นี้ได้แสดงให้เห็นว่า จูเลียสนั้นเป็นผู้ที่ชอบการสู้รบ
     ั
มาตั้งแต่เด็กๆ และก็ดูเหมือนว่าเขาจะมีชื่อเสียงที่สดในด้านการทหาร เมื่ออายุ 21 ปี เขาได้รับเหรียญกล้า
                                                       ุ
หาญในฐานะที่ได้ช่วยชีวิตทหารคนหนึ่งไว้ได้จากการรบ สามารถตีชนะประเทศต่าง ๆ ถึง 300 ประเทศ ได้
เมืองต่าง ๆ ไว้ในอำานาจถึง 800 เมือง แม้แต่ในวงการทหารสมัยปัจจุบันก็ยังอดแปลกใจไม่ได้ว่าทำาไมจู
เลียส ซีซาร์ จึงสามารถเดินทัพ และทำาสงครามเผด็จศึก ได้อย่างรวดเร็วถึงเพียงนั้น ทัพของโรมันได้
ชัยชนะตั้งแต่ยุโรปทางตอนเหนือจรดยุโรปตอนใต้ จากสเปนไปจนถึงอาเซียน้อยและเรื่อยไปจนถึงอียิปต์
ตลอดเวลาของการเดินทัพ จูเลียสจะกินอยู่หลับนอนร่วมกับทหารเลวทั้งหมด ทั้งมักจะชอบแสดงถึงความ
กล้าหาญ ปราศจากความกลัวในภยันตรายทั้งหลายทั้งปวงให้เหล่าทหารได้เห็น ครั้งหนึ่งเขาควบม้าอย่าง
รวดเร็ว เต็มฝีเท้าแต่กลับปล่อยมือจากสายบังเหียน แล้วยกขึ้นประสานไว้เหนือศีรษะ และอีกครั้งหนึ่งเขา
ได้ขอลองขึ้นขี่ม้าที่ขึ้นชื่อว่าดุที่สุด จนไม่มีใครกล้าขี่ ในการบุกทุกครั้ง จูเลียสจะเข้าร่วมอยู่ในกลุ่มทหาร
ปฏิเสธไม่ยอมใส่แม้แต่หมวกเหล็กเพือให้ทหารจำาได้ เขาไม่เคยตกใจจนทำาอะไรไม่ถูกและไม่ว่าจะทำา
                                          ่
อะไรเขาจะทำาอย่างเชื่อมั่นในตนเอง ตลอดเวลาเขามักจะคิดถึงแต่ความสง่างามความยิ่งใหญ่ของเขาใน
ฐานะเป็นผู้นำา
เหตุการณ์ที่สำาคัญที่สุดในสมัยที่ซซาร์ครองโรม
                                  ี

เหตุการณ์ที่สำาคัญนั้นก็คือ การยกทัพเข้ารุกรานเกาะอังกฤษ ที่เรียกว่าสำาคัญก็ด้วย
เหตุผลประการหนึ่งคือ ทำาให้คนรุ่นหลังได้รู้จักประวัติของเกาะเล็ก ๆ เกาะหนึ่งซึ่งก่อน
หน้านั้นไม่เคยมีอยู่บนแผนที่เลยด้วยซำ้า ปีนั้นตรงกับปีที่ 55 ก่อนคริสตศักราช ซีซาร์ได้
ครองอาณาจักรโกล ซึงปัจจุบันคือประเทศฝรั่งเศสเรียบร้อยแล้ว แต่พวกโกลมักจะได้รับ
                        ่
ความช่วยเหลือจากชนชาติหนึ่งซึ่งเป็นเจ้าของเกาะเล็ก ๆ ทีอยู่ตรงข้ามเมืองคาเล่ส์ให้
                                                             ่
ก่อการกบฎอยู่เสมอ และถ้าพ่ายแพ้ พวกนี้ก็มักจะอพยพหนีไปพำานักพักพิงชั่วคราวอยู่
ณ เกาะเล็ก ๆ แห่งนั้น เกาะนั้นจะเป็นเกาะอะไร มีพลเมืองมากน้อยเพียงใด มีความเป็น
อยู่อย่างไร จูเลียส ซีซาร์ หาได้มีความรู้แม้แต่น้อยไม่ แต่กระนั้น เขาก็ตัดสินใจยกทัพ
เข้ารุกรานทันที จูเลียส สั่งเตรียมทหารให้มาพร้อมกันลงเรือที่เมืองบูโลญราว 10,٠٠٠
คน เพียงข้ามคืนเดียว กองทัพโรมก็จะขึ้นฝั่งได้แถบบริเวณโดเวอร์ แต่ชาวพื้นเมือง
เตรียมต่อสู้อย่างเต็มที่ ทำาให้จูเลียสต้องสั่งทหารให้แล่นเรือต่อไปรอบ ๆ เกาะจนถึงดีส
จึงขึ้นบกและขับไล่ชาวพื้นเมืองให้หนีไปได้ เหตุการณ์เป็นปกติเรียบร้อย จนถึงวันที่สี่นับ
จากการยึดครองเกาะได้ คืนนั้นเป็นคืนพระจันทร์เต็มดวง นำ้าทะเลขึ้นสูง ซึ่งเป็น
ประสบการณ์ที่ชาวโรมันไม่เคยได้รจักมาก่อน กำาลังนำ้าทำาลายเรือเสียมากต่อมาก ใน
                                     ู้
ที่สุดซีซาร์ต้องออกคำาสั่งให้ถอยทัพกลับยุโรป พอดีกับเหตุการณ์วุ่นวายในแถบยุโรป
ตะวันออก ซึ่งซีซาร์ต้องเสียเวลาปราบปรามอยู่พักหนึ่ง

เดือนเมษายนปีต่อมา จูเลียส ซีซาร์ สั่งให้เตรียมกองทัพเรืออีกครั้ง คราวนี้มีเรือถึง 600
ลำา กองทหารถึง 28 กอง และเมื่อถึงวันที่ 20 กรกฎาคม ก็เริ่มออกเดินทาง คราวนี้ชาว
เกาะมิได้คิต่อสู้เลย คงจะเกิดความกลัวตั้งแต่เห็นความยิ่งใหญ่ของกองเรือ จึงพากัน
อพยพหนีขึ้นไปทางเหนือ ซีซาร์ยกทัพตามขึ้นไปจนถึงเมืองเซนต์ อาลลานส์ เมื่อฤดู
หนาวใกล้เข้ามาก็ตัดสินใจยกทัพกลับโรม โดยนำาเชลยติดมาด้วยเป็นจำานวนมาก ชาว
โรมันตื่นเต้นกันมากในชัยชยะครั้งนี้

เมื่อวัยหนุ่ม ซีซาร์ได้เดินทางไปรับการศึกษา ณ เกาะโรดส์ระหว่างนั้นได้เกิดสงครามขึ้น
และซีซาร์ก็ได้ไปร่วมรบด้วย ทำาให้เขามีชื่อเสียงขึ้น และเมื่อกลับมายังโรม เขาจึงได้รบ
                                                                                   ั
แต่งตั้งเป็นมอนติเฟดส์ และเริ่มสนใจทางการเมือง เขาร่วมมือกับปอมเปย์ซงเป็นผู้
                                                                         ึ่
บัญชาการทัพโรมัน และเครสซัส เศรษฐีคนหนึ่งเรียกคณะของตนว่า ไตรอุมวิเรท มี
อำานาจควบคุมกิจการบริหารในสมัยนั้นอย่างมากมาย

ต่อมาราว 59 ปี ก่อนคริสตศักราช จูเลียสได้รับเลือกเป็นกงสุลและได้มีการแบ่งอำานาจกัน
ระหว่างคู่สัญญาทั้งสาม ซึ่งทำาให้จูเลียสได้โอกาสแผ่ขยายอำานาจต่อไปได้เต็มที่ จน
ปอมเปย์อิจฉา จนในที่สุดเกิดเป็นสงครามขึ้น ตอนนี้แครสซัสตายแล้ว จูเลียสได้ชัยชนะ
ปอมเปย์หนีไปอียิปต์ และไปถูกฆ่าตายที่นั้น ราว 48 ปี ก่อนคริสตศักราช เขาได้เข้าเมือง
อียิปต์ช่วยจัดการให้คลีโอพัตรา ซึ่งกำาลังมีเรื่องแย่งราชสมบัติกับพระอนุชาให้ได้ขึ้น
ครองราชบัลลังก์ จนมีเรื่องลื่อกระฉ่อนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับพระนางคลีโอพัต
รา

อย่างไรก็ตาม ในตอนนี้จูเลียสก็ได้มีอำานาจเต็มที่ในโรมเขากลับมาถึงโรม และได้รับการ
ยกย่องให้เป็น "ผู้มีอำานาจปกครองโดยเผด็จการ" โดยกำาหนดให้มีอำานาจอยู่ครั้งละสิบปี
และต่อมาเมื่อเขาปราบปรามตีดินแดนทางแถบอาฟริกาและสเปนได้ เขาจึงได้รบการ   ั
อนุมัติให้เป็น "หัวหน้าผู้เผด็จการ" ตลอดชีวิต

More Related Content

What's hot

พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓Rose Banioki
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตIsriya Paireepairit
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลักssuser1eb5bc
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒Rose Banioki
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334ThanyapornK1
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘Rose Banioki
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔Rose Banioki
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖Rose Banioki
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘Rose Banioki
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 

What's hot (17)

พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๓
 
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ตผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
ผลสำรวจความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพในการใช้อินเทอร์เน็ต
 
Radio Documentary
Radio DocumentaryRadio Documentary
Radio Documentary
 
บัญชียาหลัก
บัญชียาหลักบัญชียาหลัก
บัญชียาหลัก
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๖
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๒
 
spy
spyspy
spy
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๘
 
บาลี 59 80
บาลี 59 80บาลี 59 80
บาลี 59 80
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๔
 
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖
พระไตรปิฎกฉบับหลวงเล่มที่๑๖
 
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
พระไตรปิฏกฉบับหลวงเล่มที่๒๘
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
Ps cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layerPs cs6 ch06-layer
Ps cs6 ch06-layer
 
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
6 48สมฺนฺตปาสาทิกา+นาม+วินยฏฐกถาย+อตฺถโยชนา+(ทุติโย+ภาโค)
 
Asexual reproduction
Asexual reproductionAsexual reproduction
Asexual reproduction
 

จูเลียส ซีซาร์

  • 1. จูเลียส ซีซาร์ จูเลียส ซีซาร์ มีชอเต็มว่า เดอุส จูเลียส ซีซาร์ เป็นรัฐบุรุษในประวัติศาสตร์เขาได้สถาปนา ื่ ตนเองขึ้นปกครองกรุงโรม และได้ทำาให้อาณาจักรโรมมีชอเสียง เป็นที่รจักของชาวโลกมาจนตราบเท่าทุก ื่ ู้ วันนี้ จูเลียสได้สร้างชื่อซีซาร์อันยิ่งใหญ่นี้ขึ้น และเป็นต้นแบบของกษัตริย์โรมในสมัยต่อมาที่ใช้ชื่อซีซาร์นี้ ถึงสิบสององค์ แม้คำาว่า ชาห์ แห่งอิหร่าน ซาร์ แห่งรัสเซีย ไกเซอร์ แห่งเยอรมัน ล้วนแล้วแต่มีรากศัพท์มา จากคำาว่าซีซาร์ทั้งสิ้น และได้สืบทอดคำาเรียกเหล่านี้มาจนถึงปัจจุบัน ชีวประวัติและผลงาน ช่วงต้นของชีวิต จูเลียส เกิดในวันที่ 12 กรกฎาคม เมื่อประมาณ 100 ปี ก่อนคริสตศักราช(พ.ศ. 444) ในตระกูลขุนนางเก่า ตระกูลหนึ่ง มีบิดาชือเคอุส จูเลียส และมารดาชื่ออรอเรเลีย บิดาของเขาแม้จะมั่งคั่งรำ่ารวย แต่ก็มิได้มี ่ ตำาแหน่งสูงนักในทางราชการ จูเลียสเป็นกำาพร้าบิดาตั้งแต่อายุยังน้อย คงมีแต่มารดาซึ่งคอยให้ความ ปกป้องคุ้มครองดูแลต่อมา นับตั้งแต่เด็กมา จูเลียสไม่เคยคิดที่จะยึดเอาการทหารเป็นอาชีพอย่างแท้จริงเลยทั้ง ๆ ที่เขาเคยเข้าฝึก ทหารอยูชั่วระยะเวลาหนึ่ง เขาตั้งใจจะเป็นทนายความ หรือเป็นนักกฎหมายซึ่งเป็นอาชีพที่ขึ้นหน้าขึ้นตาใน ่ สมัยนั้นมากกว่า ครั้งหนึ่งเขาเคยถูกโจรสลัดจับตัวไปเรียกค่าไถ่ เมื่อเขารอดชีวิตกลับมาเขากลับรวบรวม สมัครพรรคพวกและเรือทั้งหลาย กลับไปยังเกาะที่เขาเคยถูกนำาตัวไปกักไว้ ได้สู้รบกับบรรดาโจรสลัดจน ได้ชยชนะนำาพวกโจรกลับมารับการลงโทษ เหตุการณ์นี้ได้แสดงให้เห็นว่า จูเลียสนั้นเป็นผู้ที่ชอบการสู้รบ ั มาตั้งแต่เด็กๆ และก็ดูเหมือนว่าเขาจะมีชื่อเสียงที่สดในด้านการทหาร เมื่ออายุ 21 ปี เขาได้รับเหรียญกล้า ุ หาญในฐานะที่ได้ช่วยชีวิตทหารคนหนึ่งไว้ได้จากการรบ สามารถตีชนะประเทศต่าง ๆ ถึง 300 ประเทศ ได้ เมืองต่าง ๆ ไว้ในอำานาจถึง 800 เมือง แม้แต่ในวงการทหารสมัยปัจจุบันก็ยังอดแปลกใจไม่ได้ว่าทำาไมจู เลียส ซีซาร์ จึงสามารถเดินทัพ และทำาสงครามเผด็จศึก ได้อย่างรวดเร็วถึงเพียงนั้น ทัพของโรมันได้ ชัยชนะตั้งแต่ยุโรปทางตอนเหนือจรดยุโรปตอนใต้ จากสเปนไปจนถึงอาเซียน้อยและเรื่อยไปจนถึงอียิปต์ ตลอดเวลาของการเดินทัพ จูเลียสจะกินอยู่หลับนอนร่วมกับทหารเลวทั้งหมด ทั้งมักจะชอบแสดงถึงความ กล้าหาญ ปราศจากความกลัวในภยันตรายทั้งหลายทั้งปวงให้เหล่าทหารได้เห็น ครั้งหนึ่งเขาควบม้าอย่าง รวดเร็ว เต็มฝีเท้าแต่กลับปล่อยมือจากสายบังเหียน แล้วยกขึ้นประสานไว้เหนือศีรษะ และอีกครั้งหนึ่งเขา ได้ขอลองขึ้นขี่ม้าที่ขึ้นชื่อว่าดุที่สุด จนไม่มีใครกล้าขี่ ในการบุกทุกครั้ง จูเลียสจะเข้าร่วมอยู่ในกลุ่มทหาร ปฏิเสธไม่ยอมใส่แม้แต่หมวกเหล็กเพือให้ทหารจำาได้ เขาไม่เคยตกใจจนทำาอะไรไม่ถูกและไม่ว่าจะทำา ่ อะไรเขาจะทำาอย่างเชื่อมั่นในตนเอง ตลอดเวลาเขามักจะคิดถึงแต่ความสง่างามความยิ่งใหญ่ของเขาใน ฐานะเป็นผู้นำา
  • 2. เหตุการณ์ที่สำาคัญที่สุดในสมัยที่ซซาร์ครองโรม ี เหตุการณ์ที่สำาคัญนั้นก็คือ การยกทัพเข้ารุกรานเกาะอังกฤษ ที่เรียกว่าสำาคัญก็ด้วย เหตุผลประการหนึ่งคือ ทำาให้คนรุ่นหลังได้รู้จักประวัติของเกาะเล็ก ๆ เกาะหนึ่งซึ่งก่อน หน้านั้นไม่เคยมีอยู่บนแผนที่เลยด้วยซำ้า ปีนั้นตรงกับปีที่ 55 ก่อนคริสตศักราช ซีซาร์ได้ ครองอาณาจักรโกล ซึงปัจจุบันคือประเทศฝรั่งเศสเรียบร้อยแล้ว แต่พวกโกลมักจะได้รับ ่ ความช่วยเหลือจากชนชาติหนึ่งซึ่งเป็นเจ้าของเกาะเล็ก ๆ ทีอยู่ตรงข้ามเมืองคาเล่ส์ให้ ่ ก่อการกบฎอยู่เสมอ และถ้าพ่ายแพ้ พวกนี้ก็มักจะอพยพหนีไปพำานักพักพิงชั่วคราวอยู่ ณ เกาะเล็ก ๆ แห่งนั้น เกาะนั้นจะเป็นเกาะอะไร มีพลเมืองมากน้อยเพียงใด มีความเป็น อยู่อย่างไร จูเลียส ซีซาร์ หาได้มีความรู้แม้แต่น้อยไม่ แต่กระนั้น เขาก็ตัดสินใจยกทัพ เข้ารุกรานทันที จูเลียส สั่งเตรียมทหารให้มาพร้อมกันลงเรือที่เมืองบูโลญราว 10,٠٠٠ คน เพียงข้ามคืนเดียว กองทัพโรมก็จะขึ้นฝั่งได้แถบบริเวณโดเวอร์ แต่ชาวพื้นเมือง เตรียมต่อสู้อย่างเต็มที่ ทำาให้จูเลียสต้องสั่งทหารให้แล่นเรือต่อไปรอบ ๆ เกาะจนถึงดีส จึงขึ้นบกและขับไล่ชาวพื้นเมืองให้หนีไปได้ เหตุการณ์เป็นปกติเรียบร้อย จนถึงวันที่สี่นับ จากการยึดครองเกาะได้ คืนนั้นเป็นคืนพระจันทร์เต็มดวง นำ้าทะเลขึ้นสูง ซึ่งเป็น ประสบการณ์ที่ชาวโรมันไม่เคยได้รจักมาก่อน กำาลังนำ้าทำาลายเรือเสียมากต่อมาก ใน ู้ ที่สุดซีซาร์ต้องออกคำาสั่งให้ถอยทัพกลับยุโรป พอดีกับเหตุการณ์วุ่นวายในแถบยุโรป ตะวันออก ซึ่งซีซาร์ต้องเสียเวลาปราบปรามอยู่พักหนึ่ง เดือนเมษายนปีต่อมา จูเลียส ซีซาร์ สั่งให้เตรียมกองทัพเรืออีกครั้ง คราวนี้มีเรือถึง 600 ลำา กองทหารถึง 28 กอง และเมื่อถึงวันที่ 20 กรกฎาคม ก็เริ่มออกเดินทาง คราวนี้ชาว เกาะมิได้คิต่อสู้เลย คงจะเกิดความกลัวตั้งแต่เห็นความยิ่งใหญ่ของกองเรือ จึงพากัน อพยพหนีขึ้นไปทางเหนือ ซีซาร์ยกทัพตามขึ้นไปจนถึงเมืองเซนต์ อาลลานส์ เมื่อฤดู หนาวใกล้เข้ามาก็ตัดสินใจยกทัพกลับโรม โดยนำาเชลยติดมาด้วยเป็นจำานวนมาก ชาว โรมันตื่นเต้นกันมากในชัยชยะครั้งนี้ เมื่อวัยหนุ่ม ซีซาร์ได้เดินทางไปรับการศึกษา ณ เกาะโรดส์ระหว่างนั้นได้เกิดสงครามขึ้น และซีซาร์ก็ได้ไปร่วมรบด้วย ทำาให้เขามีชื่อเสียงขึ้น และเมื่อกลับมายังโรม เขาจึงได้รบ ั แต่งตั้งเป็นมอนติเฟดส์ และเริ่มสนใจทางการเมือง เขาร่วมมือกับปอมเปย์ซงเป็นผู้ ึ่ บัญชาการทัพโรมัน และเครสซัส เศรษฐีคนหนึ่งเรียกคณะของตนว่า ไตรอุมวิเรท มี อำานาจควบคุมกิจการบริหารในสมัยนั้นอย่างมากมาย ต่อมาราว 59 ปี ก่อนคริสตศักราช จูเลียสได้รับเลือกเป็นกงสุลและได้มีการแบ่งอำานาจกัน ระหว่างคู่สัญญาทั้งสาม ซึ่งทำาให้จูเลียสได้โอกาสแผ่ขยายอำานาจต่อไปได้เต็มที่ จน ปอมเปย์อิจฉา จนในที่สุดเกิดเป็นสงครามขึ้น ตอนนี้แครสซัสตายแล้ว จูเลียสได้ชัยชนะ ปอมเปย์หนีไปอียิปต์ และไปถูกฆ่าตายที่นั้น ราว 48 ปี ก่อนคริสตศักราช เขาได้เข้าเมือง อียิปต์ช่วยจัดการให้คลีโอพัตรา ซึ่งกำาลังมีเรื่องแย่งราชสมบัติกับพระอนุชาให้ได้ขึ้น ครองราชบัลลังก์ จนมีเรื่องลื่อกระฉ่อนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเขากับพระนางคลีโอพัต รา อย่างไรก็ตาม ในตอนนี้จูเลียสก็ได้มีอำานาจเต็มที่ในโรมเขากลับมาถึงโรม และได้รับการ ยกย่องให้เป็น "ผู้มีอำานาจปกครองโดยเผด็จการ" โดยกำาหนดให้มีอำานาจอยู่ครั้งละสิบปี และต่อมาเมื่อเขาปราบปรามตีดินแดนทางแถบอาฟริกาและสเปนได้ เขาจึงได้รบการ ั อนุมัติให้เป็น "หัวหน้าผู้เผด็จการ" ตลอดชีวิต