SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
ปวดหูข้างทีเปนอาจรู้สึกแน่นๆภายในหูหรือมีเสียงดังในหู
มีไข้สูง เด็กเล็กอาจร้องไม่หยุด โดยเฉพาะเวลากลางคืน และกระวนกระวาย อาจดึง
ใบหูข้างทีปวด และอาจมีอาการคลืนไส้ อาเจียน และชักได้
หูอือ ทําให้ระดับการได้ยินลดลง โดยอาการดังกล่าวมักจะมีการติดเชือในระบบทาง
เดินหายใจส่วนบนนํามาก่อน
อาการปวดหู มีไข้ และหูอือจะลดลงหลังจากเยือแก้วหูทะลุและมีหนองไหลออกมา
แล้ว
อาการ
โรคหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เปนโรคทีมีการอักเสบของหูชันกลางซึงอยู่ระหว่างหูชันนอกและหูชันใน และเปนโรคทีพบได้บ่อยในเด็ก
เนืองจากภูมิต้านทานของเด็กยังน้อยและยังเจริญไม่เต็มที รวมถึงเด็กมีอุบัติการณ์ของโรคติดเชือในระบบทาง
เดินหายใจสูงเช่น โรคเยือบุจมูกอักเสบเฉียบพลัน หรือโรคหวัด โรคไซนัสอักเสบ โรคต่อมอดีนอยด์อักเสบและ
เชือโรคทีเปนสาเหตุของหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งอาจจะเปนเชือไวรัสหรือแบคทีเรีย มักจะผ่านจากจมูก
และโพรงหลังจมูก เข้าสู่หูชันกลางผ่านทางท่อยูสเตเชียน
โรคหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) คืออะไร
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชํานาญการ (คศ.2)
สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา
เขต 1 กรุงเทพมหหานคร
จัดทําโดย
นางสาวอัญชิษฐา พิมลศิริผล
เลขที 23 ห้อง 154
ชันมัธยมศึกษาปที 6
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
อาการแสดง
เยือแก้วหูแดงและบวม มักจะโปงออกมาจนไม่สามารถเห็นโครงสร้างปกติภายในหูชันกลางได้
อาจมีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณกระดูกกกหู
บางรายอาจมีเยือแก้วหูทะลุและมีหนอง เลือด หรือหนองปนเลือดไหลออกมา
ผู้ปวยบางรายอาจมีอัมพาตของกล้ามเนือใบหน้า เนืองจากเส้นประสาทสมองคู่ที 7 มีการอักเสบ
การรักษาทางยา
1. รับประทานยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ทีเหมาะสมเพือ
กําจัดเชือแบคทีเรียทีเปนสาเหตุ ซึงควรรับประทานเปน
ระยะเวลาอย่างน้อย 10 – 14 วัน
2. รับประทานยาแก้แพ้ (antihistamine) ยาลดบวม,
ยาหดหลอดเลือด (oral decongestant) และพ่น
จมูกด้วยยาหดหลอดเลือด(topical decongestant)
เพือทําให้เยือบุบริเวณรูเปดของท่อยูสเตเชียนยุบบวม
3. รับประทานยาแก้ปวด หรือลดไข้เท่าทีจําเปน
การรักษาโดยการผ่าตัด
การเจาะเยือแก้วหูและใส่ท่อระบาย เพือระบาย
1.
หนองในหูชันกลางออก มักทําในรายทีให้ยา
ปฏิชีวนะเต็มทีแล้วอาการผู้ปวยไม่ดีขึนหรือต้อง
การหนองไปย้อมเชือ ในผู้ปวยทีมีภูมิคุ้มกันบก
พร่องหรือผู้ปวยหูชันกลางอักเสบเฉียบพลันทีมี
ภาวะแทรกซ้อน หลังเจาะเยือแก้วหูและใส่ท่อ
ระบายแล้วเยือแก้วหูจะปดได้เองภายใน 1-2
สัปดาห์
2. การผ่าตัดโพรงกระดูกกกหู มักทําในกรณีทีมีการ
อักเสบหรือมีหนองขังในโพรงกระดูกกกหู
บรรณานุกรม
https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=893#
https://www.pidst.or.th/A737.html
การปองกัน
ระวังอย่าให้ติดเชือในระบบทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลัน เช่น โรคหวัด , โรคไซนัสอักเสบ โดย
หลีกเลียงสาเหตุทีทําให้ผู้ปวยมีภูมิต้านทานตําลง เช่น เครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ สัมผัสอากาศที
เย็นมากๆโดยให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายไม่เพียงพอ การดืมหรืออาบนําเย็น ตากฝน สัมผัสกับ
อากาศทีมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว หรือมีคนรอบข้างทีไม่สบายคอยแพร่เชือให้
หมันออกกําลังกายแบบแอโรบิก เช่น วิง, เดินเร็ว, ว่ายนํา เปนต้น อย่างน้อยวันละ 30 นาที
สัปดาห์ละ 3 วันเปนอย่างน้อย

More Related Content

Similar to poster_anchitha_154_No23 (8)

Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 4ชุดที่ 8
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
ไซนัส
ไซนัส ไซนัส
ไซนัส
 
Allergy โรคภูมิแพ้ หรือ โรคแพ้อากาศ แก้ได้.pdf
Allergy โรคภูมิแพ้ หรือ โรคแพ้อากาศ แก้ได้.pdfAllergy โรคภูมิแพ้ หรือ โรคแพ้อากาศ แก้ได้.pdf
Allergy โรคภูมิแพ้ หรือ โรคแพ้อากาศ แก้ได้.pdf
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
Sinusitis
SinusitisSinusitis
Sinusitis
 

poster_anchitha_154_No23

  • 1. ปวดหูข้างทีเปนอาจรู้สึกแน่นๆภายในหูหรือมีเสียงดังในหู มีไข้สูง เด็กเล็กอาจร้องไม่หยุด โดยเฉพาะเวลากลางคืน และกระวนกระวาย อาจดึง ใบหูข้างทีปวด และอาจมีอาการคลืนไส้ อาเจียน และชักได้ หูอือ ทําให้ระดับการได้ยินลดลง โดยอาการดังกล่าวมักจะมีการติดเชือในระบบทาง เดินหายใจส่วนบนนํามาก่อน อาการปวดหู มีไข้ และหูอือจะลดลงหลังจากเยือแก้วหูทะลุและมีหนองไหลออกมา แล้ว อาการ โรคหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เปนโรคทีมีการอักเสบของหูชันกลางซึงอยู่ระหว่างหูชันนอกและหูชันใน และเปนโรคทีพบได้บ่อยในเด็ก เนืองจากภูมิต้านทานของเด็กยังน้อยและยังเจริญไม่เต็มที รวมถึงเด็กมีอุบัติการณ์ของโรคติดเชือในระบบทาง เดินหายใจสูงเช่น โรคเยือบุจมูกอักเสบเฉียบพลัน หรือโรคหวัด โรคไซนัสอักเสบ โรคต่อมอดีนอยด์อักเสบและ เชือโรคทีเปนสาเหตุของหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งอาจจะเปนเชือไวรัสหรือแบคทีเรีย มักจะผ่านจากจมูก และโพรงหลังจมูก เข้าสู่หูชันกลางผ่านทางท่อยูสเตเชียน โรคหูชันกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) คืออะไร เสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูชํานาญการ (คศ.2) สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหหานคร จัดทําโดย นางสาวอัญชิษฐา พิมลศิริผล เลขที 23 ห้อง 154 ชันมัธยมศึกษาปที 6 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ อาการแสดง เยือแก้วหูแดงและบวม มักจะโปงออกมาจนไม่สามารถเห็นโครงสร้างปกติภายในหูชันกลางได้ อาจมีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณกระดูกกกหู บางรายอาจมีเยือแก้วหูทะลุและมีหนอง เลือด หรือหนองปนเลือดไหลออกมา ผู้ปวยบางรายอาจมีอัมพาตของกล้ามเนือใบหน้า เนืองจากเส้นประสาทสมองคู่ที 7 มีการอักเสบ การรักษาทางยา 1. รับประทานยาปฏิชีวนะ (antibiotic) ทีเหมาะสมเพือ กําจัดเชือแบคทีเรียทีเปนสาเหตุ ซึงควรรับประทานเปน ระยะเวลาอย่างน้อย 10 – 14 วัน 2. รับประทานยาแก้แพ้ (antihistamine) ยาลดบวม, ยาหดหลอดเลือด (oral decongestant) และพ่น จมูกด้วยยาหดหลอดเลือด(topical decongestant) เพือทําให้เยือบุบริเวณรูเปดของท่อยูสเตเชียนยุบบวม 3. รับประทานยาแก้ปวด หรือลดไข้เท่าทีจําเปน การรักษาโดยการผ่าตัด การเจาะเยือแก้วหูและใส่ท่อระบาย เพือระบาย 1. หนองในหูชันกลางออก มักทําในรายทีให้ยา ปฏิชีวนะเต็มทีแล้วอาการผู้ปวยไม่ดีขึนหรือต้อง การหนองไปย้อมเชือ ในผู้ปวยทีมีภูมิคุ้มกันบก พร่องหรือผู้ปวยหูชันกลางอักเสบเฉียบพลันทีมี ภาวะแทรกซ้อน หลังเจาะเยือแก้วหูและใส่ท่อ ระบายแล้วเยือแก้วหูจะปดได้เองภายใน 1-2 สัปดาห์ 2. การผ่าตัดโพรงกระดูกกกหู มักทําในกรณีทีมีการ อักเสบหรือมีหนองขังในโพรงกระดูกกกหู บรรณานุกรม https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=893# https://www.pidst.or.th/A737.html การปองกัน ระวังอย่าให้ติดเชือในระบบทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลัน เช่น โรคหวัด , โรคไซนัสอักเสบ โดย หลีกเลียงสาเหตุทีทําให้ผู้ปวยมีภูมิต้านทานตําลง เช่น เครียด พักผ่อนไม่เพียงพอ สัมผัสอากาศที เย็นมากๆโดยให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายไม่เพียงพอ การดืมหรืออาบนําเย็น ตากฝน สัมผัสกับ อากาศทีมีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ว หรือมีคนรอบข้างทีไม่สบายคอยแพร่เชือให้ หมันออกกําลังกายแบบแอโรบิก เช่น วิง, เดินเร็ว, ว่ายนํา เปนต้น อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วันเปนอย่างน้อย