SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ขอบข่ายของโครงงาน 
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวย 
ตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือ 
จากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทำาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นก 
ลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครง 
งานเล็กหรือใหญ่ 
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะ 
ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผน 
ปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดำาเนิน 
งานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กำาหนดไว้ 
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียน 
ตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดำาเนินงานด้วย 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา 
ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งใน 
ลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรือผลงาที่ได้ 
ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อ 
เพื่อการศึกษา 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 3. โครงงานประเภทการ 
ทดลองทฤษฎี 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 5. โครงงาน 
พัฒนาเกม 
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) 
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) 
รายละเอียดประเภทของโครงงาน 
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 
เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ 
สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบ 
ฝึกหัด บททบทวนและคำาถามคำาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบ 
รายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่อง
คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการ 
พัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ 
สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชา 
วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือก 
หัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทำาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา 
โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบ 
สุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็น 
โครงงานเพื่อพัฒนาเรื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดย 
ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น 
ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุใน 
มุมต่าง ๆ เป็นต้น สำาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็น 
โปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ 
ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนำาไป 
ใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สำาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุม 
ต่าง ๆ ใช้สำาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรม 
ประเภท 3D 
3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีี (Theory 
Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจำาองการทดลอง 
ของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทำาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ 
ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา 
แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจำาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ 
สูตร หรือคำาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนำาเสนอวิธีการจำาลองทฤษฎีด้วย 
คอมพิวเตอร์ การทำาโครงงานประเภทนี้มีจุดสำาคัญอยู่ที่ผู้ทำาต้องมีความรู้ 
เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว 
การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ 
เป็นต้น 
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็น 
โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง 
ในชีวิตประจำาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สำาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร 
ซอฟต์แวร์สำาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สำาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น 
โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ 
อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิม 
ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนำาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ 
ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ 
ทำางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ 
สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง 
คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง 
อาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย 
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครง 
งานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น 
เกมหมากรุก เกมหมากฮอส์ส เกมการคำานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้ 
น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลัก 
การ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น 
เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนา 
ควรจะได้ทำาการสำารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ 
ทั่วไปและนำามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ 
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ 
เนื่องจากโครงงาน คือ การแก้ปัญหาหรือข้อสงสัยของ 
นักเรียน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเนื้อหาหรือข้อสงสัย 
ตรงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ก็จัดเป็นโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
นั้นๆ อาจแบ่งโครงงานตามการได้มาซึ่งคำาตอบของกระบวนการทาง 
วิทยาศาสตร์ ได้เป็น 4 ประเภท คือ 
1. โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล 
2. โครงงานประเภททดลอง 
3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 
4. โครงงานประเภททฤษฎี 
โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล 
โครงงานประเภทนี้ ผู้ทำาโครงงานเพียงต้องการสำารวจและรวบรวม 
ข้อมูล แล้วนำาข้อมูลเหล่านั้นมาจำาแนกหมวดหมู่และนำาเสนอในรูปแบบ 
ต่างๆ เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ 
ชัดเจน 
การสำารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทำาได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุ่ม 
สาระการเรียนรู้นั้นๆ เช่น 
1. สำารวจคำาราชาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 
2. สำารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
3. สำารวจคำาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
4. สำำรวจชนิดของกีฬำท้องถิ่นในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำ 
และพลศึกษำ 
5. สำำรวจวิธีบวกเลขที่ชำวบ้ำนนิยมใช้ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ 
คณิตศำสตร์ 
ในกำรทำำโครงงำนประเภทสำำรวจข้อมูลไม่จำำเป็นต้องมีตัวแปรเข้ำ 
มำเกี่ยวข้องนักเรียนเพียงแต่สำำรวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนำำข้อมูลที่ 
ได้มำจัดให้เป็นหมวดหมู่และนำำเสนอ ก็ถือว่ำเป็นกำรสำำรวจรวบรวม 
ข้อมูลแล้ว 
โครงงำนประเภททดลอง 
ในกำรทำำโครงงำนประเภททดลองต้องมีกำรจัดกำรกับตัวแปรที่จะ 
มีผลต่อกำรทดลองซึ่งมี 4 ชนิด 
1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมำยถึงเหตุ ของกำรทดลองนั้นๆ 
2. ตัวแปรตำม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น 
3. ตัวแปรควบคุม หมำยถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆ กัน มิ 
ฉะนั้นจะมีผลทำำให้ตัวแปรตำมเปลี่ยนไป 
4. ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่ 
บำงครั้งเรำจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทำำให้ผกำรทดลองผิด 
ไป แต่ก็แก้ไขได้โดยกำรตัดข้อมูลที่ผิดพลำดทิ้งไป 
ตัวอย่ำงเช่น นักเรียนต้องกำรศึกษำว่ำ กระดำษชนิดใดสำมำรถพับ 
เครื่องร่อนและปำได้ไกลที่สุด 
ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดำษ 
ตัวแปรตำม คือ ระยะทำงที่กระดำษเคลื่อนที่ได้ 
ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปำกระดำษ ควำมสูงของระยะที่ปำ 
ตัวแปรแทรกซ้อน คือ บำงครั้งในขณะปำมีลมพัดเข้ำมำ ซึ่งจะ 
ทำำให้ข้อมูลผิดพลำด เป็นต้น 
โครงงำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ 
โครงงำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นกำรนำำควำมรู้ที่มีอยู่มำประดิษฐ์ 
หรือสร้ำงสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมำ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่ำงมำกมำย ผุ้เขียนจะ 
รวมถึงกำรเขียนหนังสือ แต่งเพลง สร้ำงบทละครและอื่นๆ ไว้ในโครง 
งำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย เช่น กำรประดิษฐ์ไม้ปิงปองแบบใหม่ กำร 
หำวัสดุมำติดไม้ปิงปองแล้วตีได้ดีขึ้น กำรแต่งบทประพันธ์ กำรเขียน 
หนังสือประกอบกำรเรียนแทนหนังสือเรียนที่ใช้กันอยู่ กำรออกข้อสอบ 
เพื่อให้เพื่อนๆ ใช้สอบแทนข้อสอบที่ครูออกข้อสอบ เป็นต้น 
โครงงำนประเภททฤษฎี 
โครงงำนประเภททฤษฎี เป็นกำรใช้จินตนำกำรของตนเองมำ 
อธิบำยหลักกำรหรือแนวควำมคิดใหม่ๆ ซึ่งอำจอธิบำยในรูปของสูตร
หรือสมกำร หรืออธิบำยปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้นและไม่สำมำรถอธิบำยได้ 
โดยหลักกำรเดิมๆ 
กำรทำำโครงงำนประเภทนี้ ผู้ทำำโครงงำนจะต้องมีควำมรู้ในเรื่อง 
นั้นๆ เป็นอย่ำงดี จึงสำมำรถอธิบำยได้อย่ำงมีเหตุผลและน่ำเชื่อถือ จึงไม่ 
เหมำะที่จะทำำในระดับนักเรียนมำกนัก 
ขั้นตอนในกำรสอนโครงงำน 
1. กำรเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทำำโครงงำน 
กำรที่ครูจะสอนนักเรียนโดยบอกควำมรู้ให้นักเรียนหรือให้นักเรียนฝึก 
หำควำมรู้จำกปฏิบัติกำร (LAB) เดิมๆ เสมอไปคงจะไม่ถูกต้องนัก ครู 
ควรจะสอนให้นักเรียนได้รับกระบวนกำรหำควำมรู้หรือที่เรียกว่ำ ค้นพบ 
ควำมรู้ด้วยตนเอง ซึ่งก็ควรจะเป็นกำรสอนด้วยโครงงำน 
กำรเลือกหัวข้อโครงงำนให้นักเรียนศึกษำง่ำยที่สุด คือ ให้นักเรียนไป 
สำำรวจรวบรวมข้อมูลจำกเรื่องที่เรำจะสอนนักเรียน ตัวอย่ำงโครงงำน 
- รวบรวมลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืช 
รอบๆตัว 
- รวบรวมควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคน สัตว์ และพืช 
- รวบรวมคำำรำชำศัพท์ที่มีใช้ในชีวิตประจำำวัน 
- รวบรวมลักษณะของเปลือกโลก 
- รวบรวมคำำศัพท์ภำษำอังกฤษจำกสินค้ำ 
2. ออกแบบกำรทำำงำน 
ครูอำจจะนำำหัวเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะศึกษำ 
แล้วนำำหัวเรื่องที่เรำต้องกำรสอนมำวิเครำะห์ และควรมีแนววิเครำะห์ 
ของผู้สอนเอง แต่อำจใช้แบบวิเครำะห์ตรงๆ ได้ดังนี้ คือ 
1. ชื่อเรื่อง 
2. ผู้ทำำโครงงำน 
3. ปัญหำหรือเหตุจูงใจในกำรทำำงำน 
4. ตัวแปร (ถ้ำมี) ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม และ 
ตัวแปรควบคุม 
5. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 
6. แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะศึกษำ 
7. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำกี่วัน และศึกษำช่วงเวลำใด 
8. นักเรียนต้องใช้วัสดุอุปกรณ์และค่ำใช้จ่ำยใดบ้ำง หำจำก 
แหล่งใด
กำรลงมือทำำโครงงำน 
มีขั้นตอนกำรศึกษำค้นคว้ำอย่ำงไร ทำำอย่ำงไร เก็บรวบรวมข้อมูล 
อย่ำงไร 
กำรเขียนรำยงำน 
นักเรียนเขียนรำยงำนกำรทำำโครงงำน ในรำยงำนกำรทำำโครง 
งำนอำจเขียนตำมหัวข้อที่กำำหนด หรือมีสิ่งอื่นที่ต้องกำรบอกให้ทรำบ 
ซึ่งสำมำรถปรับเปลี่ยนได้ 
กำรนำำเสนอโครงงำน 
กำรนำำเสนอโครงงำนเป็นขั้นตอนที่สำำคัญ เพรำะสะท้อนกำร 
ทำำงำนของนักเรียน ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทำำ กำรตอบข้อ 
ซักถำม บุคลิกท่ำทำง ท่วงท่ำ วำจำ ไหวพริบปฏิภำณ นักเรียนควรได้ 
รับกำรฝึกบุคลิกภำพในกำรนำำเสนอให้สง่ำผ่ำเผย พร้อมทั้งฝึกนักเรียน 
ให้เป็นผู้ฟังที่มีมำรยำทในกำรฟังด้วย 
กำรวัดผล ประเมินผล 
ประเมินผลกำรทำำงำน โดยกำรสังเกตพฤติกรรมระหว่ำงกำร 
ทำำงำน วัดผลตัวควำมรู้โดยกำรซักถำม หรือวิธีกำรอื่นๆ ควรให้นักเรียน 
มีกำรประเมินตนเอง ประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคล 
อื่นๆ ที่มำเยี่ยมชม 
บทบำทของครูที่ปรึกษำโครงงำน 
1. ใช้วิธีกำรต่ำงๆ ที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อโครงงำน 
2. จัดหำสิ่งอำำนวยควำมสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในกำรทำำงำน 
3. ติดตำมกำรทำำงำนอย่ำงใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษำควรคำำนึง 
ถึงควำมปลอดภัยเป็นสิ่งสำำคัญ 
4. ให้กำำลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ปัญหำต่อไป 
5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งควำมรู้ ผู้รู้ เอกสำรต่ำงๆ ในกำรศึกษำ 
ค้นคว้ำ 
6. ประเมินผลงำน ส่งผลงำนเข้ำร่วมประกวด จัดเวทีให้แสดง 
ควำมรู้ ควำมสำมำรถ 
กำรนำำเสนอผลงำนโครงงำน
การให้นักเรียนผู้ทำาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ผล 
งาน กิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออก เชื่อมั่นในผล 
งาน ตอบข้อซักถามของผู้สนใจได้ การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ 
1. บรรยายประกอบแผ่นใส สไลด์ Power point 
2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน 
3. จัดนิทรรศการ 
แนวการประเมินผลโครงงาน 
1. ความคิดสร้างสรรค์ 
2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
3. การนำาเสนอด้วยวาจา 
4. การตอบคำาถาม 
5. แผงโครงงาน การนำาเสนอ 
การเขียนรายงานโครงงาน 
การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่นักเรียนได้ 
ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครง 
งานมีดังนี้ 
1. ชื่อโครงงาน 
2. ชื่อผู้ทำาโครงงาน / โรงเรียน / พ.ศ. ที่จัดทำา 
3. ชื่อครูที่ปรึกษา 
4. บทคัดย่อ (บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่อง / 
วัตถุประสงค์ / วิธีการศึกษา / สรุปผล) 
5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ 
ความช่วยเหลือ) 
6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน 
7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 
8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า 
9. วิธีการดำาเนินการ 
10.ผลการศึกษาค้นคว้า 
11.สรุปผล 
12.ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 
13.เอกสารอ้างอิง 
ตัวอย่างโครงการ 
· โครงงานหน่อไม้กำาจัดหนอน 
· http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560699&Ntype=3
โครงงานเศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560698&Ntype=3 
· โครงงาน กระดาษสวยด้วยชอล์กสี 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560696&Ntype=3 
· โครงงานการใช้สารสกัดจากใบและเมล็ดน้อยหน่ากำาจัดเหา 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560692&Ntype=3 
· โครงงานสีผมสวยด้วยใบกาว 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560691&Ntype=3 
· โครงงานขวดนำ้ารีไซเคิล 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=560687&Ntype=3 
· โครงงาน Noun Modified 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=522944&Ntype=3 
· โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงกับเทียนไขไล่ยุง 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=522942&Ntype=3 
แหล่งที่มา : 
http://www.gotoknow.org/blogs/posts/314100 
https://sites.google.com/a/mattayom31.go.th/jitnapa-pm/ 
khxbkhay-laea-prapheth-khxng-khorng-ngan 
http://www.tet2.org/index.php? 
lay=show&ac=article&Id=437156...&Ntype=3 
http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-post.html 
วันที่สืบค้นข้อมูล 
วันที่ 24 สิงหาคม 2557 
ผู้จัดทำา 
นางสาวณัฏฐา ประไพ เลขที่ 21
นางสาววรรณรัฐ ปัญญาธง เลขที่ 20 
ชั้น ม. 6/15 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
นางสาววรรณรัฐ ปัญญาธง เลขที่ 20 
ชั้น ม. 6/15 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ปรียา พรมเสน
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดChowwalit Chookhampaeng
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นPat Pholla
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicepyopyo
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 

What's hot (15)

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน1214
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 
Review literature in nursing
Review literature in nursingReview literature in nursing
Review literature in nursing
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมดบทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
บทสรุป การวิจัย ภาพรวมทั้งหมด
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้น
 
K311
K311K311
K311
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

Similar to ใบงานที่3

ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานAoy Amm Mee
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานKtmaneewan
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานMind Kyn
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทสุชาติ องค์มิ้น
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานNet'Net Zii
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3melody_fai
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8melody_fai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Jittraporn Chaunprasert
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02Sky Aloha'
 

Similar to ใบงานที่3 (20)

03
0303
03
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
03
0303
03
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ งได เป_น 5 ประเภท
 
K6222
K6222K6222
K6222
 
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานท 3
ใบงานท   3ใบงานท   3
ใบงานท 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
3
33
3
 
3
33
3
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp025 8-120816125651-phpapp02
5 8-120816125651-phpapp02
 

More from Intangible Mz

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Intangible Mz
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7Intangible Mz
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6Intangible Mz
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5Intangible Mz
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Intangible Mz
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Intangible Mz
 

More from Intangible Mz (6)

ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
ใบงานที่6
ใบงานที่6ใบงานที่6
ใบงานที่6
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 

ใบงานที่3

  • 1. ขอบข่ายของโครงงาน 1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวย ตนเองโดยอาศัยหลักวิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือ จากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้พบเห็นมากแล้ว 2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทำาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นก ลุ่มโดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครง งานเล็กหรือใหญ่ 3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะ ศึกษาค้นคว้าปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม 4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผน ปฏิบัติงานและการแปลผล รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดำาเนิน งานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่กำาหนดไว้ 5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียน ตามวัยและสติปัญญา รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดำาเนินงานด้วย ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงานคอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งใน ลักษณะของเนื้อหา กิจกรรมและลักษณะของประโยชน์หรือผลงาที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 5 ประเภท คือ 1. โครงงานพัฒนาสื่อ เพื่อการศึกษา 2.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 3. โครงงานประเภทการ ทดลองทฤษฎี 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน 5. โครงงาน พัฒนาเกม 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี (Theory Experiment) 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) รายละเอียดประเภทของโครงงาน 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานทีใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการ สร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบ ฝึกหัด บททบทวนและคำาถามคำาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบ รายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่อง
  • 2. คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการ พัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการ สอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจคัดเลือก หัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทำาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนา โปรแกรมบทเรียน ตัวอย่าง เช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบ สุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ 2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development) เป็น โครงงานเพื่อพัฒนาเรื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดย ส่วนใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุใน มุมต่าง ๆ เป็นต้น สำาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็น โปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ ต่าง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย ซึ่งรูปที่ได้สามารถนำาไป ใช้งานต่าง ๆ ได้มากมาย สำาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมองวัตถุในมุม ต่าง ๆ ใช้สำาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น โปรแกรม ประเภท 3D 3. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีี (Theory Experiment) เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจำาองการทดลอง ของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทำาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจำาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคำาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนำาเสนอวิธีการจำาลองทฤษฎีด้วย คอมพิวเตอร์ การทำาโครงงานประเภทนี้มีจุดสำาคัญอยู่ที่ผู้ทำาต้องมีความรู้ เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น 4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) เป็น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริง ในชีวิตประจำาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สำาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์สำาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สำาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือ อุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิม ที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
  • 3. และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อนแล้วนำาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการ ทำางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความ สมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อาจใช้วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย 5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development) เป็นโครง งานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น เกมหมากรุก เกมหมากฮอส์ส เกมการคำานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้ น่าจะเน้นให้เป็นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลัก การ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนา ควรจะได้ทำาการสำารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ ทั่วไปและนำามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ เนื่องจากโครงงาน คือ การแก้ปัญหาหรือข้อสงสัยของ นักเรียน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถ้าเนื้อหาหรือข้อสงสัย ตรงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด ก็จัดเป็นโครงงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ นั้นๆ อาจแบ่งโครงงานตามการได้มาซึ่งคำาตอบของกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ได้เป็น 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล 2. โครงงานประเภททดลอง 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภทสำารวจและรวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ ผู้ทำาโครงงานเพียงต้องการสำารวจและรวบรวม ข้อมูล แล้วนำาข้อมูลเหล่านั้นมาจำาแนกหมวดหมู่และนำาเสนอในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อให้เห็นลักษณะหรือความสัมพันธ์ในเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ ชัดเจน การสำารวจและรวบรวมข้อมูลอาจทำาได้หลายรูปแบบแล้วแต่กลุ่ม สาระการเรียนรู้นั้นๆ เช่น 1. สำารวจคำาราชาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. สำารวจชื่อพืชเศรษฐกิจของจังหวัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3. สำารวจคำาศัพท์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
  • 4. 4. สำำรวจชนิดของกีฬำท้องถิ่นในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำ และพลศึกษำ 5. สำำรวจวิธีบวกเลขที่ชำวบ้ำนนิยมใช้ในกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ คณิตศำสตร์ ในกำรทำำโครงงำนประเภทสำำรวจข้อมูลไม่จำำเป็นต้องมีตัวแปรเข้ำ มำเกี่ยวข้องนักเรียนเพียงแต่สำำรวจรวบรวมข้อมูลที่ได้ แล้วนำำข้อมูลที่ ได้มำจัดให้เป็นหมวดหมู่และนำำเสนอ ก็ถือว่ำเป็นกำรสำำรวจรวบรวม ข้อมูลแล้ว โครงงำนประเภททดลอง ในกำรทำำโครงงำนประเภททดลองต้องมีกำรจัดกำรกับตัวแปรที่จะ มีผลต่อกำรทดลองซึ่งมี 4 ชนิด 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ หมำยถึงเหตุ ของกำรทดลองนั้นๆ 2. ตัวแปรตำม ซึ่งจะเป็นผลที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงตัวแปรต้น 3. ตัวแปรควบคุม หมำยถึง สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนๆ กัน มิ ฉะนั้นจะมีผลทำำให้ตัวแปรตำมเปลี่ยนไป 4. ตัวแปรแทรกซ้อน ซึ่งจริงๆ แล้วก็คือ ตัวแปรควบคุมนั่นเอง แต่ บำงครั้งเรำจะควบคุมไม่ได้ ซึ่งจะมีผลแทรกซ้อน ทำำให้ผกำรทดลองผิด ไป แต่ก็แก้ไขได้โดยกำรตัดข้อมูลที่ผิดพลำดทิ้งไป ตัวอย่ำงเช่น นักเรียนต้องกำรศึกษำว่ำ กระดำษชนิดใดสำมำรถพับ เครื่องร่อนและปำได้ไกลที่สุด ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ คือ ชนิดของกระดำษ ตัวแปรตำม คือ ระยะทำงที่กระดำษเคลื่อนที่ได้ ตัวแปรควบคุม คือ แรงที่ใช้ปำกระดำษ ควำมสูงของระยะที่ปำ ตัวแปรแทรกซ้อน คือ บำงครั้งในขณะปำมีลมพัดเข้ำมำ ซึ่งจะ ทำำให้ข้อมูลผิดพลำด เป็นต้น โครงงำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นกำรนำำควำมรู้ที่มีอยู่มำประดิษฐ์ หรือสร้ำงสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมำ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่ำงมำกมำย ผุ้เขียนจะ รวมถึงกำรเขียนหนังสือ แต่งเพลง สร้ำงบทละครและอื่นๆ ไว้ในโครง งำนประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้วย เช่น กำรประดิษฐ์ไม้ปิงปองแบบใหม่ กำร หำวัสดุมำติดไม้ปิงปองแล้วตีได้ดีขึ้น กำรแต่งบทประพันธ์ กำรเขียน หนังสือประกอบกำรเรียนแทนหนังสือเรียนที่ใช้กันอยู่ กำรออกข้อสอบ เพื่อให้เพื่อนๆ ใช้สอบแทนข้อสอบที่ครูออกข้อสอบ เป็นต้น โครงงำนประเภททฤษฎี โครงงำนประเภททฤษฎี เป็นกำรใช้จินตนำกำรของตนเองมำ อธิบำยหลักกำรหรือแนวควำมคิดใหม่ๆ ซึ่งอำจอธิบำยในรูปของสูตร
  • 5. หรือสมกำร หรืออธิบำยปรำกฏกำรณ์ที่เกิดขึ้นและไม่สำมำรถอธิบำยได้ โดยหลักกำรเดิมๆ กำรทำำโครงงำนประเภทนี้ ผู้ทำำโครงงำนจะต้องมีควำมรู้ในเรื่อง นั้นๆ เป็นอย่ำงดี จึงสำมำรถอธิบำยได้อย่ำงมีเหตุผลและน่ำเชื่อถือ จึงไม่ เหมำะที่จะทำำในระดับนักเรียนมำกนัก ขั้นตอนในกำรสอนโครงงำน 1. กำรเลือกเรื่องที่จะให้นักเรียนทำำโครงงำน กำรที่ครูจะสอนนักเรียนโดยบอกควำมรู้ให้นักเรียนหรือให้นักเรียนฝึก หำควำมรู้จำกปฏิบัติกำร (LAB) เดิมๆ เสมอไปคงจะไม่ถูกต้องนัก ครู ควรจะสอนให้นักเรียนได้รับกระบวนกำรหำควำมรู้หรือที่เรียกว่ำ ค้นพบ ควำมรู้ด้วยตนเอง ซึ่งก็ควรจะเป็นกำรสอนด้วยโครงงำน กำรเลือกหัวข้อโครงงำนให้นักเรียนศึกษำง่ำยที่สุด คือ ให้นักเรียนไป สำำรวจรวบรวมข้อมูลจำกเรื่องที่เรำจะสอนนักเรียน ตัวอย่ำงโครงงำน - รวบรวมลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบและบริเวณที่ขึ้นของพืช รอบๆตัว - รวบรวมควำมสัมพันธ์ระหว่ำงคน สัตว์ และพืช - รวบรวมคำำรำชำศัพท์ที่มีใช้ในชีวิตประจำำวัน - รวบรวมลักษณะของเปลือกโลก - รวบรวมคำำศัพท์ภำษำอังกฤษจำกสินค้ำ 2. ออกแบบกำรทำำงำน ครูอำจจะนำำหัวเรื่องที่เขียนไว้ให้นักเรียนเลือกหัวเรื่องที่จะศึกษำ แล้วนำำหัวเรื่องที่เรำต้องกำรสอนมำวิเครำะห์ และควรมีแนววิเครำะห์ ของผู้สอนเอง แต่อำจใช้แบบวิเครำะห์ตรงๆ ได้ดังนี้ คือ 1. ชื่อเรื่อง 2. ผู้ทำำโครงงำน 3. ปัญหำหรือเหตุจูงใจในกำรทำำงำน 4. ตัวแปร (ถ้ำมี) ประกอบด้วย ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม และ ตัวแปรควบคุม 5. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 6. แหล่งข้อมูลที่นักเรียนจะศึกษำ 7. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำกี่วัน และศึกษำช่วงเวลำใด 8. นักเรียนต้องใช้วัสดุอุปกรณ์และค่ำใช้จ่ำยใดบ้ำง หำจำก แหล่งใด
  • 6. กำรลงมือทำำโครงงำน มีขั้นตอนกำรศึกษำค้นคว้ำอย่ำงไร ทำำอย่ำงไร เก็บรวบรวมข้อมูล อย่ำงไร กำรเขียนรำยงำน นักเรียนเขียนรำยงำนกำรทำำโครงงำน ในรำยงำนกำรทำำโครง งำนอำจเขียนตำมหัวข้อที่กำำหนด หรือมีสิ่งอื่นที่ต้องกำรบอกให้ทรำบ ซึ่งสำมำรถปรับเปลี่ยนได้ กำรนำำเสนอโครงงำน กำรนำำเสนอโครงงำนเป็นขั้นตอนที่สำำคัญ เพรำะสะท้อนกำร ทำำงำนของนักเรียน ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับเรื่องที่ทำำ กำรตอบข้อ ซักถำม บุคลิกท่ำทำง ท่วงท่ำ วำจำ ไหวพริบปฏิภำณ นักเรียนควรได้ รับกำรฝึกบุคลิกภำพในกำรนำำเสนอให้สง่ำผ่ำเผย พร้อมทั้งฝึกนักเรียน ให้เป็นผู้ฟังที่มีมำรยำทในกำรฟังด้วย กำรวัดผล ประเมินผล ประเมินผลกำรทำำงำน โดยกำรสังเกตพฤติกรรมระหว่ำงกำร ทำำงำน วัดผลตัวควำมรู้โดยกำรซักถำม หรือวิธีกำรอื่นๆ ควรให้นักเรียน มีกำรประเมินตนเอง ประเมินโดยเพื่อน ครู และผู้ปกครอง หรือบุคคล อื่นๆ ที่มำเยี่ยมชม บทบำทของครูที่ปรึกษำโครงงำน 1. ใช้วิธีกำรต่ำงๆ ที่จะกระตุ้นให้นักเรียนคิดหัวข้อโครงงำน 2. จัดหำสิ่งอำำนวยควำมสะดวก วัสดุอุปกรณ์ในกำรทำำงำน 3. ติดตำมกำรทำำงำนอย่ำงใกล้ชิด เด็กวัยประถมศึกษำควรคำำนึง ถึงควำมปลอดภัยเป็นสิ่งสำำคัญ 4. ให้กำำลังใจในกรณีที่ล้มเหลว ควรแก้ปัญหำต่อไป 5. ชี้แนะแหล่งข้อมูล แหล่งควำมรู้ ผู้รู้ เอกสำรต่ำงๆ ในกำรศึกษำ ค้นคว้ำ 6. ประเมินผลงำน ส่งผลงำนเข้ำร่วมประกวด จัดเวทีให้แสดง ควำมรู้ ควำมสำมำรถ กำรนำำเสนอผลงำนโครงงำน
  • 7. การให้นักเรียนผู้ทำาโครงงานได้เสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ผล งาน กิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออก เชื่อมั่นในผล งาน ตอบข้อซักถามของผู้สนใจได้ การเสนอผลงานมีหลายลักษณะ คือ 1. บรรยายประกอบแผ่นใส สไลด์ Power point 2. บรรยายประกอบแผงโครงงาน 3. จัดนิทรรศการ แนวการประเมินผลโครงงาน 1. ความคิดสร้างสรรค์ 2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. การนำาเสนอด้วยวาจา 4. การตอบคำาถาม 5. แผงโครงงาน การนำาเสนอ การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน เป็นการเสนอผลงานที่นักเรียนได้ ศึกษาค้นคว้ามาโดยตลอดจนงานเสร็จสมบูรณ์ หัวข้อในการเขียนโครง งานมีดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทำาโครงงาน / โรงเรียน / พ.ศ. ที่จัดทำา 3. ชื่อครูที่ปรึกษา 4. บทคัดย่อ (บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ประกอบด้วย เรื่อง / วัตถุประสงค์ / วิธีการศึกษา / สรุปผล) 5. กิตติกรรมประกาศ (แสดงความขอบคุณบุคคล หน่วยงานที่ให้ ความช่วยเหลือ) 6. ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน 7. วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 8. สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า 9. วิธีการดำาเนินการ 10.ผลการศึกษาค้นคว้า 11.สรุปผล 12.ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 13.เอกสารอ้างอิง ตัวอย่างโครงการ · โครงงานหน่อไม้กำาจัดหนอน · http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560699&Ntype=3
  • 8. โครงงานเศษเทียนผสมสมุนไพรไล่ยุง http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560698&Ntype=3 · โครงงาน กระดาษสวยด้วยชอล์กสี http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560696&Ntype=3 · โครงงานการใช้สารสกัดจากใบและเมล็ดน้อยหน่ากำาจัดเหา http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560692&Ntype=3 · โครงงานสีผมสวยด้วยใบกาว http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560691&Ntype=3 · โครงงานขวดนำ้ารีไซเคิล http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=560687&Ntype=3 · โครงงาน Noun Modified http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=522944&Ntype=3 · โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงกับเทียนไขไล่ยุง http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=522942&Ntype=3 แหล่งที่มา : http://www.gotoknow.org/blogs/posts/314100 https://sites.google.com/a/mattayom31.go.th/jitnapa-pm/ khxbkhay-laea-prapheth-khxng-khorng-ngan http://www.tet2.org/index.php? lay=show&ac=article&Id=437156...&Ntype=3 http://kruoong.blogspot.com/2011/05/blog-post.html วันที่สืบค้นข้อมูล วันที่ 24 สิงหาคม 2557 ผู้จัดทำา นางสาวณัฏฐา ประไพ เลขที่ 21
  • 9. นางสาววรรณรัฐ ปัญญาธง เลขที่ 20 ชั้น ม. 6/15 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 10. นางสาววรรณรัฐ ปัญญาธง เลขที่ 20 ชั้น ม. 6/15 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่