SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ประเทศออสเตรเลีย
ตรา
แผ่นดิน
เครือรัฐออสเตรเลีย (อังกฤษ: Commo
nwealth of Australia) เป็นประเทศซึ่ง
ประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีป
ออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่นๆ
ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทร
ใต้ ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลีย
ประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และ
ติมอร์ตะวันออกทางเหนือ หมู่เกาะ
โซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทาง
ตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อออสเตรเลีย มาจากคำาในภาษา
ละติน ว่า australis ซึ่งหมายถึงทิศใต้ โดยมี
ตำานานถึง "ดินแดนทางใต้ที่ไม่รู้
จัก" (ละติน: TERRA AUSTRALIS INCOGNITA)
ชาวยุโรปเริ่มสำารวจค้นพบออสเตรเลียใน
พุทธศตวรรษที่ 22 และต่อมาจึงกลายเป็น
ดินแดนอาณานิคมของบริเตน โดยเริ่มต้น
เป็นอาณานิคมนักโทษในนิวเซาท์เวลส์ และ
จึงมีการตั้งอาณานิคมขึ้นอีกห้าแห่ง
อาณานิคมทั้งหกรวมตัวเป็นสหพันธรัฐใน
ปีพ.ศ. 2444 ออสเตรเลียมีชนพื้นเมืองซึ่ง
อาศัยตั้งแต่ก่อนชาวยุโรปเข้ามา เรียกว่าชา
วอะบอริจิน
ภูมิประเทศ
ออสเตรเลีย (Australia) หรือ ชื่อทางการ คือ เครือรัฐออสเตรเลีย
(Commonwealth of Australia) ชื่อ Australia มาจากคำาในภาษาละติน
ว่า terra australis incognita หมายถึง ดินแดนทางใต้ที่ไม่รู้จัก
ออสเตรเลียเป็นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ มีสมเด็จพระบรม
ราชินีนาถ อาลิซาเบธที่ 2 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษเป็นประมุข
ออสเตรเลียตั้งอยู่ในเขตซีกโลกใต้ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ
ประเทศไทย โดยเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีพื้นที่ครอบคลุมเต็ม
ทวีป (แต่จัดเป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลกเช่นกัน) และเป็นประเทศที่ใหญ่
ที่สุดในภูมิภาคออสตราเลเชีย มีลักษณะของประเทศเป็นเกาะขนาด
ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก
พื้นที่ของเกาะมีประมาณ 7.6 ล้านตารางกิโลเมตร (พื้นที่ประเทศ
ออสเตรเลียนับรวมถึงเกาะแทสเมเนีย ซึ่งเป็นรัฐหนึ่งของออสเตรเลีย )
เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 6 ของโลก รองจาก รัสเซีย แคนาดา
จีน อเมริกา และ บราซิล
ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปร้อยละ 65 เป็นที่ราบสูง พื้นที่
ของประเทศมีทั้งแห้งแล้งและอุดมสมบูรณ์ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทะเล
ทรายที่แห้งแล้งและทุรกันดาร เนื้อที่ 1 ใน 3 เป็นทะเลทราย จึงมีขนาด
ทะเลทรายรวมกันใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทะเลทรายสะฮารา
ในทวีปแอฟริกา ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แห้งแล้งและทุรกันดารนี้
ว่า "เอาต์แบ็ก" มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทางแถบชายฝั่งตะวันออก
หลังเทือกเขาเกรตดิไวดิง ซึ่งแบ่งแยกชายฝั่งตะวันออกกับเขตเอาต์แบ็ก
มีแม่นำ้าสายสำาคัญ ๆ อยู่ทางภูมิภาคตะวันออก ได้แก่ แม่นำ้าดาร์ลิง แม่นำ้า
เมอร์เรย์ ส่วนตอนกลางของประเทศที่เรียกว่า "เขตเซนทรัลโลว์แลนด์"
เป็นเขตแห้งแล้งที่สุด แม่นำ้าลำาธารต่าง ๆ อาจแห้งสนิทเป็นเวลาหลายปี
นอกจากนั้นประชากรยังอาศัยหนาแน่นในพื้นที่ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้
และรัฐทัสมาเนีย เพราะเป็นเขตที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก มีฝนตกชุก
ออสเตรเลียเป็นประเทศที่โดดเดี่ยวมานาน ดังนั้น ธรรมชาติจึงถูก
ทำำลำยน้อยมำก ชำยฝั่งทะเลที่งดงำม ชำยหำดขำวสะอำด มีป่ำดงดิบ
และป่ำชื้นเขตร้อนที่ยังคงควำมสมบูรณ์ และเป็นธรรมชำติที่สุดแห่งหนึ่ง
มีสัตว์ และพืชรวมทั้งดอกไม้ป่ำหลำยชนิดที่ไม่พบเห็นในดินแดนอื่น
เช่น จิงโจ้ หมีโคอำล่ำ วอมแบต ดิงโก้ พอสซั่ม ตุ่นปำกเป็ด และตัวกิน
มด สัตว์และพืชหำยำกเหล่ำนี้คงมีให้เห็นอีกนำน เพรำะชำวออสเตรเลีย
ให้ควำมสำำคัญเรื่องกำรรักษำสภำพแวดล้อม และกำรอนุรักษ์ธรรมชำติ
เป็นอย่ำงมำก
สภำพภูมิอำกำศ
ออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร พื้นที่กว่ำ 1 ใน 3 ของประเทศ ตั้งอยู่
ในเขตร้อน ส่วนที่เหลือตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น แต่ด้วยขนำดพื้นที่ที่มีควำม
กว้ำงใหญ่ จึงมีสภำพภูมิอำกำศแตกต่ำงกันในแต่ละรัฐ สภำพอำกำศ
ทั่วไปจะเป็นแบบเขตร้อนจนถึงเขตอบอุ่น กำำลังเย็นสบำย
ในส่วนพื้นที่รำบสูง และพื้นที่ในรัฐแทสมำเนีย และบริเวณตะวันออก
เฉียงใต้ของประเทศ อำกำศจะหนำวเย็นกว่ำ ส่วนทำงด้ำนตอนเหนือ
ของประเทศ จะมีลักษณะอำกำศทั่วไปใกล้เคียงกับเขตเอเชียและ
แปซิฟิก อุณหภูมิเฉลี่ยตำ่ำสุดที่ทัสเมเนียประมำณ 11-12 องศำเซลเซียส
และร้อนที่สุดที่มณฑลตอนเหนือประมำณ 34 องศำเซลเซียส
ตลอดทั้งปีออสเตรเลียจะมีฟ้ำใส และแดดแรง โดยเฉพำะตำมเมือง
ชำยทะเล และเมืองในแถบทะเลทรำย จึงควรป้องกันกำรถูกแดดเผำ
โดยกำรใส่หมวกปีกกว้ำงและทำครีมกันแดดเสมอ
ประเทศออสเตรเลียมี 4 ฤดูกำล ดังนี้
1.ฤดูร้อน ธันวำคม-กุมภำพันธ์ อำกำศร้อนและแห้งแล้ง บำงแห่งร้อนจัด
และอำจมีป่ำ
2.ฤดูใบไม้ร่วง มีนำคม-พฤษภำคม อำกำศเริ่มเย็นลง ตำมเมืองชำยฝั่ง
ทำงตอนใต้และเมืองในเขตป่ำฝนจะตกชุก บำงแห่งอำจมีนำ้ำท่วม
3.ฤดูหนำว มิถุนำยน-สิงหำคม อำกำศเย็นจัด มีหิมะตกเขตภูเขำสูงโดย
ทั่วไป
4.ฤดูใบไม้ผลิิ กันยำยน-พฤศจิกำยน อำกำศดี ดอกไม้บำนสวยงำม
เมือง
ธ.ค. - ก.พ.
ฤดูร้อน
มี.ค. - พ.ค.
ฤดูใบไม้ร่วง
มิ.ย. – ส.ค.
ฤดูหนำว
ก.ย. - พ.ย.
ฤดูใบไม้ผลิ
แคนเบอร์ร่ำ
13 - 27 C 7 - 20 C 5 - 13 C 6 - 20 C
ดำร์วิน 24- 34 C 24- 30 C 19 - 28 C 22 -31 C
ซิดนีย์ 17 - 25 C 14 - 22 C 6 - 17 C 13 - 21 C
เมลเบิร์น 14 - 25 C 10 - 20 C 5 - 13 C 9 - 15 C
บริสเบน 20 - 29 C 16 - 26 C 9 - 20 C 15 - 26 C
เพิร์ธ 16 - 31 C 12 - 25 C 8 - 17 C 10 - 22 C
อำดิเลด 15 - 27 C 11 -22 C 6 - 14 C 10 - 20 C
ทัสมำเนีย 12 - 21 C 9 - 17 C 4 - 11 C 7 - 16 C
ดอกไม้ประจำำประเทศออสเตรเลีย
ดอกไม้ประจำำประเทศออสเตรเลีย
ดอกโกลเด้น วัทเทิ้ล

More Related Content

Similar to ประเทศออสเตรเลีย

ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4wittawat_name
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียleemeanshun minzstar
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียsangkeetwittaya stourajini
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้Krittamat
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
ประเทศอืนโดนิเซีย
ประเทศอืนโดนิเซียประเทศอืนโดนิเซีย
ประเทศอืนโดนิเซียBird Wasukit
 

Similar to ประเทศออสเตรเลีย (15)

ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
 
North america
North americaNorth america
North america
 
309
309309
309
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ประเทศอืนโดนิเซีย
ประเทศอืนโดนิเซียประเทศอืนโดนิเซีย
ประเทศอืนโดนิเซีย
 

ประเทศออสเตรเลีย

  • 2. เครือรัฐออสเตรเลีย (อังกฤษ: Commo nwealth of Australia) เป็นประเทศซึ่ง ประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีป ออสเตรเลีย เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่นๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทร ใต้ ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลีย ประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินี และ ติมอร์ตะวันออกทางเหนือ หมู่เกาะ โซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทาง ตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทาง ตะวันออกเฉียงใต้ ชื่อออสเตรเลีย มาจากคำาในภาษา ละติน ว่า australis ซึ่งหมายถึงทิศใต้ โดยมี ตำานานถึง "ดินแดนทางใต้ที่ไม่รู้
  • 3. จัก" (ละติน: TERRA AUSTRALIS INCOGNITA) ชาวยุโรปเริ่มสำารวจค้นพบออสเตรเลียใน พุทธศตวรรษที่ 22 และต่อมาจึงกลายเป็น ดินแดนอาณานิคมของบริเตน โดยเริ่มต้น เป็นอาณานิคมนักโทษในนิวเซาท์เวลส์ และ จึงมีการตั้งอาณานิคมขึ้นอีกห้าแห่ง อาณานิคมทั้งหกรวมตัวเป็นสหพันธรัฐใน ปีพ.ศ. 2444 ออสเตรเลียมีชนพื้นเมืองซึ่ง อาศัยตั้งแต่ก่อนชาวยุโรปเข้ามา เรียกว่าชา วอะบอริจิน ภูมิประเทศ ออสเตรเลีย (Australia) หรือ ชื่อทางการ คือ เครือรัฐออสเตรเลีย (Commonwealth of Australia) ชื่อ Australia มาจากคำาในภาษาละติน ว่า terra australis incognita หมายถึง ดินแดนทางใต้ที่ไม่รู้จัก ออสเตรเลียเป็นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ มีสมเด็จพระบรม
  • 4. ราชินีนาถ อาลิซาเบธที่ 2 แห่งราชอาณาจักรอังกฤษเป็นประมุข ออสเตรเลียตั้งอยู่ในเขตซีกโลกใต้ ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของ ประเทศไทย โดยเป็นประเทศเดียวในโลกที่มีพื้นที่ครอบคลุมเต็ม ทวีป (แต่จัดเป็นทวีปที่เล็กที่สุดในโลกเช่นกัน) และเป็นประเทศที่ใหญ่ ที่สุดในภูมิภาคออสตราเลเชีย มีลักษณะของประเทศเป็นเกาะขนาด ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ของเกาะมีประมาณ 7.6 ล้านตารางกิโลเมตร (พื้นที่ประเทศ ออสเตรเลียนับรวมถึงเกาะแทสเมเนีย ซึ่งเป็นรัฐหนึ่งของออสเตรเลีย ) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 6 ของโลก รองจาก รัสเซีย แคนาดา จีน อเมริกา และ บราซิล ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปร้อยละ 65 เป็นที่ราบสูง พื้นที่ ของประเทศมีทั้งแห้งแล้งและอุดมสมบูรณ์ โดยพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทะเล ทรายที่แห้งแล้งและทุรกันดาร เนื้อที่ 1 ใน 3 เป็นทะเลทราย จึงมีขนาด ทะเลทรายรวมกันใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทะเลทรายสะฮารา ในทวีปแอฟริกา ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แห้งแล้งและทุรกันดารนี้ ว่า "เอาต์แบ็ก" มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทางแถบชายฝั่งตะวันออก หลังเทือกเขาเกรตดิไวดิง ซึ่งแบ่งแยกชายฝั่งตะวันออกกับเขตเอาต์แบ็ก มีแม่นำ้าสายสำาคัญ ๆ อยู่ทางภูมิภาคตะวันออก ได้แก่ แม่นำ้าดาร์ลิง แม่นำ้า เมอร์เรย์ ส่วนตอนกลางของประเทศที่เรียกว่า "เขตเซนทรัลโลว์แลนด์" เป็นเขตแห้งแล้งที่สุด แม่นำ้าลำาธารต่าง ๆ อาจแห้งสนิทเป็นเวลาหลายปี นอกจากนั้นประชากรยังอาศัยหนาแน่นในพื้นที่ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ และรัฐทัสมาเนีย เพราะเป็นเขตที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์มาก มีฝนตกชุก ออสเตรเลียเป็นประเทศที่โดดเดี่ยวมานาน ดังนั้น ธรรมชาติจึงถูก
  • 5. ทำำลำยน้อยมำก ชำยฝั่งทะเลที่งดงำม ชำยหำดขำวสะอำด มีป่ำดงดิบ และป่ำชื้นเขตร้อนที่ยังคงควำมสมบูรณ์ และเป็นธรรมชำติที่สุดแห่งหนึ่ง มีสัตว์ และพืชรวมทั้งดอกไม้ป่ำหลำยชนิดที่ไม่พบเห็นในดินแดนอื่น เช่น จิงโจ้ หมีโคอำล่ำ วอมแบต ดิงโก้ พอสซั่ม ตุ่นปำกเป็ด และตัวกิน มด สัตว์และพืชหำยำกเหล่ำนี้คงมีให้เห็นอีกนำน เพรำะชำวออสเตรเลีย ให้ควำมสำำคัญเรื่องกำรรักษำสภำพแวดล้อม และกำรอนุรักษ์ธรรมชำติ เป็นอย่ำงมำก สภำพภูมิอำกำศ ออสเตรเลีย ตั้งอยู่ในเขตศูนย์สูตร พื้นที่กว่ำ 1 ใน 3 ของประเทศ ตั้งอยู่ ในเขตร้อน ส่วนที่เหลือตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น แต่ด้วยขนำดพื้นที่ที่มีควำม กว้ำงใหญ่ จึงมีสภำพภูมิอำกำศแตกต่ำงกันในแต่ละรัฐ สภำพอำกำศ ทั่วไปจะเป็นแบบเขตร้อนจนถึงเขตอบอุ่น กำำลังเย็นสบำย ในส่วนพื้นที่รำบสูง และพื้นที่ในรัฐแทสมำเนีย และบริเวณตะวันออก เฉียงใต้ของประเทศ อำกำศจะหนำวเย็นกว่ำ ส่วนทำงด้ำนตอนเหนือ ของประเทศ จะมีลักษณะอำกำศทั่วไปใกล้เคียงกับเขตเอเชียและ แปซิฟิก อุณหภูมิเฉลี่ยตำ่ำสุดที่ทัสเมเนียประมำณ 11-12 องศำเซลเซียส และร้อนที่สุดที่มณฑลตอนเหนือประมำณ 34 องศำเซลเซียส ตลอดทั้งปีออสเตรเลียจะมีฟ้ำใส และแดดแรง โดยเฉพำะตำมเมือง ชำยทะเล และเมืองในแถบทะเลทรำย จึงควรป้องกันกำรถูกแดดเผำ โดยกำรใส่หมวกปีกกว้ำงและทำครีมกันแดดเสมอ ประเทศออสเตรเลียมี 4 ฤดูกำล ดังนี้ 1.ฤดูร้อน ธันวำคม-กุมภำพันธ์ อำกำศร้อนและแห้งแล้ง บำงแห่งร้อนจัด และอำจมีป่ำ
  • 6. 2.ฤดูใบไม้ร่วง มีนำคม-พฤษภำคม อำกำศเริ่มเย็นลง ตำมเมืองชำยฝั่ง ทำงตอนใต้และเมืองในเขตป่ำฝนจะตกชุก บำงแห่งอำจมีนำ้ำท่วม 3.ฤดูหนำว มิถุนำยน-สิงหำคม อำกำศเย็นจัด มีหิมะตกเขตภูเขำสูงโดย ทั่วไป 4.ฤดูใบไม้ผลิิ กันยำยน-พฤศจิกำยน อำกำศดี ดอกไม้บำนสวยงำม เมือง ธ.ค. - ก.พ. ฤดูร้อน มี.ค. - พ.ค. ฤดูใบไม้ร่วง มิ.ย. – ส.ค. ฤดูหนำว ก.ย. - พ.ย. ฤดูใบไม้ผลิ แคนเบอร์ร่ำ 13 - 27 C 7 - 20 C 5 - 13 C 6 - 20 C ดำร์วิน 24- 34 C 24- 30 C 19 - 28 C 22 -31 C ซิดนีย์ 17 - 25 C 14 - 22 C 6 - 17 C 13 - 21 C เมลเบิร์น 14 - 25 C 10 - 20 C 5 - 13 C 9 - 15 C บริสเบน 20 - 29 C 16 - 26 C 9 - 20 C 15 - 26 C เพิร์ธ 16 - 31 C 12 - 25 C 8 - 17 C 10 - 22 C อำดิเลด 15 - 27 C 11 -22 C 6 - 14 C 10 - 20 C ทัสมำเนีย 12 - 21 C 9 - 17 C 4 - 11 C 7 - 16 C ดอกไม้ประจำำประเทศออสเตรเลีย