SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ห
หลักการสาคัญ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... ตระหนักถึง
ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพว่าเป็นสิทธิผู้บริโภค
(Consumer rights) ที่นอกจากรัฐจะต้องทาหน้าที่ปกป้องพิทักษ์สิทธิผู้บริโภค
ด้านสุขภาพแล้ว ผู้บริโภคยังต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบคุ้มครองสิทธิตนเองด้วย
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค
การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพตามหลักการสากลวางอยู่บน
ความชอบธรรมทางกฎหมาย พันธกิจของหน่วยงานรัฐ และการเคลื่อนไหวของ
ภาคประชาสังคมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ดังนี้
ระดับประเทศ: พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และ
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ยุทธศาสตร์การจัดทาร่างแผน
แม่บทการคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) ของ
สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) และรัฐธรรมนูญ
ระดับระหว่างประเทศ: แนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคของ
สหประชาชาติ (United Nations Guidelines for Consumer Protection)
พ.ศ. ๒๕๓๘ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๒ และสิทธิผู้บริโภคของ
สหพันธ์องค์กรผู้บริโภคสากล (Consumers International)
เป้าหมายและแนวทางการคุ้มครองสิทธิ
ภาครัฐต้องคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัยในการบริโภค
ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพโดยการตรากฎหมายและจัดตั้งหน่วยงานที่
รับผิดชอบโดยตรงเพื่อให้ทุกภาคส่วนถือปฏิบัติเป็นแนวนโยบายให้ประชาชน
ในฐานะผู้บริโภคได้รับการคุ้มครอง
ความครอบคลุมของการคุ้มครองสิทธิ
ผู้บริโภคต้องได้รับการคุ้มครองสุขภาพในการบริโภคผลิตภัณฑ์และ
บริการสุขภาพทั้งด้านคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และความเป็นธรรม
รวมถึงได้รับการคุ้มครองเมื่อเกิดความเสียหายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และ
บริการสุขภาพด้วย โดยการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพต้องครอบคลุมถึง
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้บริโภคและกลุ่ม
ผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ทั้งนี้เพื่อสร้างความสมานฉันท์ในสังคม
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
Health Consumer Protection
ภาพอนาคตพึงประสงค์
๑. ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพ
๒. การรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพขององค์กรและ
ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในการปกป้องพิทักษ์สิทธิของ
ผู้บริโภคทุกระดับ รวมทั้งการรวมกลุ่มสร้างกลไกเฝ้า
ระวัง ติดตาม ตรวจสอบสินค้าและบริการทุกระดับ
๓ .การพัฒนาระบบการศึกษา องค์ความรู้วิจัย การ
จัดการความรู้ และการสื่อสารเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและเชื่อมโยงข้อมูล
สาหรับนาไปใช้ป้องกันและแก้ไขปัญหาการคุ้มครอง
ผู้บริโภค โดยผู้บริโภคต้องสามารถเข้าถึงระบบได้
๕. การพัฒนาปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ
ต่างๆ ให้เป็นแนวทางเดียวกันเพื่อการคุ้มครองสิทธิ
๖. การพัฒนาระบบการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย และ
ชดเชยความเสียหายอย่างเป็นธรรมในทุกองค์กร
โดยผู้บริโภคเข้าถึงระบบดังกล่าวได้ในหลายช่องทาง
๗. การบูรณาการงานคุ้มครองผู้บริโภคของทุกภาค
ส่วน โดยเฉพาะองค์กรภาครัฐ ภาคท้องถิ่น
ภาคเอกชน และเครือข่ายผู้บริโภค
๘. การสนับสนุนให้มีกลไกในการดาเนินงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านสุขภาพเชิงโครงสร้าง ๒ กลไก คือ
องค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจาก
หน่วยงานของรัฐ และองค์การเพื่อการคุ้มครอง
ผู้บริโภคที่เป็นหน่วยงานรัฐ ที่มีลักษณะการบริหาร
จัดการแบบองค์กรอิสระภายใต้การกากับของรัฐ
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
หัวใจของการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพคือการเสริมสร้างความเข้มแข็ง รู้เท่าทัน และพิทักษ์สิทธิตนเองได้ ใน
ขณะเดียวกันก็มีการรวมกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อปกป้องสิทธิตนเองจากการถูกเอารัดเอาเปรียบรูปแบบต่างๆ
สิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๘ ประการ
๑. สิทธิที่จะเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน รวมถึงปัจจัยกาหนดสุขภาพที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
๒ .สิทธิในการได้รับและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ บริการสุขภาพ และ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยกาหนดสุขภาพที่อาจจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค
๓ .สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากการโฆษณาและการส่งเสริมการขายที่ผิดจริยธรรมและหลอกลวงเกินจริง
๔. สิทธิในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในรูปแบบและราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพและความเป็นธรรม
๕. สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และปลอดภัยต่อสุขภาพ
๖. สิทธิในการร้องเรียน สิทธิในการได้รับการชดเชย เยียวยา โดยมีระบบและกลไกที่มีประสิทธิผล
๗. สิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมด้านบริโภคศึกษาและส่งเสริมพลังอานาจของผู้บริโภค โดยเป็นการส่งเสริมตามแนวทางการบริโภคที่ยั่งยืน
๘. สิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มผู้บริโภค การจัดตั้งกลุ่มองค์กรที่เกี่ยวข้อง การให้โอกาสกลุ่มองค์กรผู้บริโภคแสดงความเห็นและมี
บทบาทร่วมในการตัดสินใจในประเด็นเชิงนโยบาย แผน และการดาเนินงานของภาครัฐและเอกชนที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภค
การรวมกลุ่มเครือข่ายผู้บริโภค
การส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพของ
องค์กรและภาคีเครือข่ายผู้บริโภคจากทุกภาคส่วนซึ่งรวมถึง
ภาคเอกชนเพื่อประกอบกิจกรรมต่างๆ ในการพิทักษ์สิทธิ
ผู้บริโภคทั้งระดับปัจเจกบุคคล กลุ่ม และเครือข่าย โดย
ปราศจากการแทรกแซง ไม่เพียงจะเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพ
ในการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบสินค้าและบริการ
สุขภาพในแต่ละระดับเท่านั้น ทว่าการรวมกลุ่มยังเป็นพลัง
สาคัญในการสร้างความรู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ
สุขภาพ รวมถึงการเรียกร้องสิทธิผู้บริโภคที่ถูกละเมิดด้วย
ความรู้เท่าทันสินค้าและบริการสุขภาพ
การสร้างความรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
(Health information literacy) ต้องพัฒนาและบริหารข้อมูล
อย่างเป็นระบบโดยมุ่งความเชื่อมโยงของข้อมูลที่เป็นความจริง
และครบถ้วนเพื่อผู้บริโภคจะสามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจได้
ถูกต้องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่มีการโฆษณา
และส่งเสริมการขายในชีวิตประจาวันที่ไม่เป็นการพูดความจริง
ครึ่งเดียว (Half-truth) ก็อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง
ยิ่งกว่านั้นยังใช้เป็นข้อมูลสาหรับสื่อสารสาธารณะเพื่อ
ใช้ในการป้องกันและเรียกร้องความเป็นธรรมเมื่อถูกละเมิดด้วย
การร้องเรียนความเป็นธรรม
การพัฒนาระบบการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย และการ
พิจารณาชดเชยความเสียหายอย่างเป็นธรรมที่ผู้บริโภคสามารถ
เข้าถึงได้โดยสะดวกและหลายช่องทางจะทาให้ผู้บริโภคได้รับ
ความเป็นธรรมเมื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการสุขภาพเกิดปัญหาหรือ
สร้างความเสียหายกับชีวิต สุขภาพ หรือทรัพย์สิน
ทั้งนี้การเรียกร้องความเป็นธรรมไม่ใช่แค่การร้องทุกข์
เพื่อระบายปัญหาที่มักเป็นแค่การบ่นๆ ไป หากแต่คือการทาให้
ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมโดยอาศัยกระบวนการ
ทางกฎหมายทั้งโดยการฟ้องคดีทางอาญาและคดีทางแพ่ง
กลไกขับเคลื่อนงานคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค
รัฐต้องสนับสนุนให้มีกลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน
คุ้มครองผู้บริโภคด้าน
สุขภาพทั้ง ๒ รูปแบบ คือ
๑. องค์การเพื่อการ
คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็น
อิสระจากหน่วยงานรัฐ
๒. องค์การเพื่อการ
คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็น
หน่วยงานของรัฐ
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชั้น ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th
05 health consumer protection

More Related Content

Similar to 05 health consumer protection

ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2patientrightsth
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตายyim2009
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขdentyomaraj
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1Utai Sukviwatsirikul
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697dentyomaraj
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจsaranyu sosing
 

Similar to 05 health consumer protection (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
ได้อะไรจากร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้เสียหาย 1/2
 
Consumer Rights
Consumer RightsConsumer Rights
Consumer Rights
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
สิทธิการตาย
สิทธิการตายสิทธิการตาย
สิทธิการตาย
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุขร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
ร่างพระราชบัญญัติ ฉบับกระทรวงสาธารณสุข
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
 
Ethics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency MedicineEthics in Emergency Medicine
Ethics in Emergency Medicine
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
White paper on_no_fault
White paper on_no_faultWhite paper on_no_fault
White paper on_no_fault
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
Consumer protection actnmind
Consumer protection actnmindConsumer protection actnmind
Consumer protection actnmind
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
ร่วมแสดงความเห็นใน 12 ประเด็น ที่เกี่ยวกับร่าง พรบ.697
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบำบัดผู้ติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ
 

More from Freelance

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to healthFreelance
 
10 area health statute
10 area health statute10 area health statute
10 area health statuteFreelance
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotionFreelance
 
08 mental health
08 mental health08 mental health
08 mental healthFreelance
 
07 health wisdom
07 health wisdom07 health wisdom
07 health wisdomFreelance
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governanceFreelance
 
03 public deliberation
03 public deliberation03 public deliberation
03 public deliberationFreelance
 
02 citizens jury
02 citizens jury02 citizens jury
02 citizens juryFreelance
 
01 deliberative democracy
01 deliberative democracy01 deliberative democracy
01 deliberative democracyFreelance
 

More from Freelance (9)

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to health
 
10 area health statute
10 area health statute10 area health statute
10 area health statute
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotion
 
08 mental health
08 mental health08 mental health
08 mental health
 
07 health wisdom
07 health wisdom07 health wisdom
07 health wisdom
 
06 health system governance
06 health system governance06 health system governance
06 health system governance
 
03 public deliberation
03 public deliberation03 public deliberation
03 public deliberation
 
02 citizens jury
02 citizens jury02 citizens jury
02 citizens jury
 
01 deliberative democracy
01 deliberative democracy01 deliberative democracy
01 deliberative democracy
 

05 health consumer protection

  • 1. ห หลักการสาคัญ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... ตระหนักถึง ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพว่าเป็นสิทธิผู้บริโภค (Consumer rights) ที่นอกจากรัฐจะต้องทาหน้าที่ปกป้องพิทักษ์สิทธิผู้บริโภค ด้านสุขภาพแล้ว ผู้บริโภคยังต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบคุ้มครองสิทธิตนเองด้วย การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภค การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพตามหลักการสากลวางอยู่บน ความชอบธรรมทางกฎหมาย พันธกิจของหน่วยงานรัฐ และการเคลื่อนไหวของ ภาคประชาสังคมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ ดังนี้ ระดับประเทศ: พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒ และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๑ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ยุทธศาสตร์การจัดทาร่างแผน แม่บทการคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) ของ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) และรัฐธรรมนูญ ระดับระหว่างประเทศ: แนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคของ สหประชาชาติ (United Nations Guidelines for Consumer Protection) พ.ศ. ๒๕๓๘ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๒ และสิทธิผู้บริโภคของ สหพันธ์องค์กรผู้บริโภคสากล (Consumers International) เป้าหมายและแนวทางการคุ้มครองสิทธิ ภาครัฐต้องคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับความปลอดภัยในการบริโภค ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพโดยการตรากฎหมายและจัดตั้งหน่วยงานที่ รับผิดชอบโดยตรงเพื่อให้ทุกภาคส่วนถือปฏิบัติเป็นแนวนโยบายให้ประชาชน ในฐานะผู้บริโภคได้รับการคุ้มครอง ความครอบคลุมของการคุ้มครองสิทธิ ผู้บริโภคต้องได้รับการคุ้มครองสุขภาพในการบริโภคผลิตภัณฑ์และ บริการสุขภาพทั้งด้านคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และความเป็นธรรม รวมถึงได้รับการคุ้มครองเมื่อเกิดความเสียหายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และ บริการสุขภาพด้วย โดยการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพต้องครอบคลุมถึง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ และการเปิดโอกาสให้กลุ่มผู้บริโภคและกลุ่ม ผู้ประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมด้วย ทั้งนี้เพื่อสร้างความสมานฉันท์ในสังคม การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ Health Consumer Protection ภาพอนาคตพึงประสงค์ ๑. ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพ ๒. การรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพขององค์กรและ ภาคีเครือข่ายผู้บริโภคในการปกป้องพิทักษ์สิทธิของ ผู้บริโภคทุกระดับ รวมทั้งการรวมกลุ่มสร้างกลไกเฝ้า ระวัง ติดตาม ตรวจสอบสินค้าและบริการทุกระดับ ๓ .การพัฒนาระบบการศึกษา องค์ความรู้วิจัย การ จัดการความรู้ และการสื่อสารเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ๔. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและเชื่อมโยงข้อมูล สาหรับนาไปใช้ป้องกันและแก้ไขปัญหาการคุ้มครอง ผู้บริโภค โดยผู้บริโภคต้องสามารถเข้าถึงระบบได้ ๕. การพัฒนาปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ต่างๆ ให้เป็นแนวทางเดียวกันเพื่อการคุ้มครองสิทธิ ๖. การพัฒนาระบบการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย และ ชดเชยความเสียหายอย่างเป็นธรรมในทุกองค์กร โดยผู้บริโภคเข้าถึงระบบดังกล่าวได้ในหลายช่องทาง ๗. การบูรณาการงานคุ้มครองผู้บริโภคของทุกภาค ส่วน โดยเฉพาะองค์กรภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชน และเครือข่ายผู้บริโภค ๘. การสนับสนุนให้มีกลไกในการดาเนินงานคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพเชิงโครงสร้าง ๒ กลไก คือ องค์การเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เป็นอิสระจาก หน่วยงานของรัฐ และองค์การเพื่อการคุ้มครอง ผู้บริโภคที่เป็นหน่วยงานรัฐ ที่มีลักษณะการบริหาร จัดการแบบองค์กรอิสระภายใต้การกากับของรัฐ
  • 2. การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ หัวใจของการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพคือการเสริมสร้างความเข้มแข็ง รู้เท่าทัน และพิทักษ์สิทธิตนเองได้ ใน ขณะเดียวกันก็มีการรวมกลุ่มหรือเครือข่ายเพื่อปกป้องสิทธิตนเองจากการถูกเอารัดเอาเปรียบรูปแบบต่างๆ สิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพ ๘ ประการ ๑. สิทธิที่จะเข้าถึงผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน รวมถึงปัจจัยกาหนดสุขภาพที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต ๒ .สิทธิในการได้รับและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ บริการสุขภาพ และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยกาหนดสุขภาพที่อาจจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภค ๓ .สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากการโฆษณาและการส่งเสริมการขายที่ผิดจริยธรรมและหลอกลวงเกินจริง ๔. สิทธิในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในรูปแบบและราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพและความเป็นธรรม ๕. สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองจากการบริโภคผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม และปลอดภัยต่อสุขภาพ ๖. สิทธิในการร้องเรียน สิทธิในการได้รับการชดเชย เยียวยา โดยมีระบบและกลไกที่มีประสิทธิผล ๗. สิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมด้านบริโภคศึกษาและส่งเสริมพลังอานาจของผู้บริโภค โดยเป็นการส่งเสริมตามแนวทางการบริโภคที่ยั่งยืน ๘. สิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มผู้บริโภค การจัดตั้งกลุ่มองค์กรที่เกี่ยวข้อง การให้โอกาสกลุ่มองค์กรผู้บริโภคแสดงความเห็นและมี บทบาทร่วมในการตัดสินใจในประเด็นเชิงนโยบาย แผน และการดาเนินงานของภาครัฐและเอกชนที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้บริโภค การรวมกลุ่มเครือข่ายผู้บริโภค การส่งเสริมการรวมกลุ่มและพัฒนาศักยภาพของ องค์กรและภาคีเครือข่ายผู้บริโภคจากทุกภาคส่วนซึ่งรวมถึง ภาคเอกชนเพื่อประกอบกิจกรรมต่างๆ ในการพิทักษ์สิทธิ ผู้บริโภคทั้งระดับปัจเจกบุคคล กลุ่ม และเครือข่าย โดย ปราศจากการแทรกแซง ไม่เพียงจะเป็นกลไกที่มีประสิทธิภาพ ในการเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบสินค้าและบริการ สุขภาพในแต่ละระดับเท่านั้น ทว่าการรวมกลุ่มยังเป็นพลัง สาคัญในการสร้างความรู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สินค้าและบริการ สุขภาพ รวมถึงการเรียกร้องสิทธิผู้บริโภคที่ถูกละเมิดด้วย ความรู้เท่าทันสินค้าและบริการสุขภาพ การสร้างความรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ (Health information literacy) ต้องพัฒนาและบริหารข้อมูล อย่างเป็นระบบโดยมุ่งความเชื่อมโยงของข้อมูลที่เป็นความจริง และครบถ้วนเพื่อผู้บริโภคจะสามารถนาไปใช้ในการตัดสินใจได้ ถูกต้องเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพที่มีการโฆษณา และส่งเสริมการขายในชีวิตประจาวันที่ไม่เป็นการพูดความจริง ครึ่งเดียว (Half-truth) ก็อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง ยิ่งกว่านั้นยังใช้เป็นข้อมูลสาหรับสื่อสารสาธารณะเพื่อ ใช้ในการป้องกันและเรียกร้องความเป็นธรรมเมื่อถูกละเมิดด้วย การร้องเรียนความเป็นธรรม การพัฒนาระบบการร้องเรียน ไกล่เกลี่ย และการ พิจารณาชดเชยความเสียหายอย่างเป็นธรรมที่ผู้บริโภคสามารถ เข้าถึงได้โดยสะดวกและหลายช่องทางจะทาให้ผู้บริโภคได้รับ ความเป็นธรรมเมื่อผลิตภัณฑ์หรือบริการสุขภาพเกิดปัญหาหรือ สร้างความเสียหายกับชีวิต สุขภาพ หรือทรัพย์สิน ทั้งนี้การเรียกร้องความเป็นธรรมไม่ใช่แค่การร้องทุกข์ เพื่อระบายปัญหาที่มักเป็นแค่การบ่นๆ ไป หากแต่คือการทาให้ ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงความเป็นธรรมโดยอาศัยกระบวนการ ทางกฎหมายทั้งโดยการฟ้องคดีทางอาญาและคดีทางแพ่ง กลไกขับเคลื่อนงานคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภค รัฐต้องสนับสนุนให้มีกลไกขับเคลื่อนการดาเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้าน สุขภาพทั้ง ๒ รูปแบบ คือ ๑. องค์การเพื่อการ คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็น อิสระจากหน่วยงานรัฐ ๒. องค์การเพื่อการ คุ้มครองผู้บริโภคที่เป็น หน่วยงานของรัฐ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชั้น ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th