SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
หลักการสาคัญ
ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... ตระหนักถึง
ความสาคัญของสุขภาพจิตว่าเป็นเหมือนภูเขานาแข็งที่พร้อมจะสร้างปัญหา
รุนแรงต่อสังคมไทยได้ทุกเมื่อ ความเจ็บป่วยทางจิตเป็นภาระโรคสาคัญที่
นาไปสู่ปัญหาสุขภาพกาย อารมณ์และพฤติกรรม รวมถึงปัญหาทางสังคมต่างๆ
ตามมา โดยเฉพาะความเจ็บป่วยทางจิตในเด็กและวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพชีวิตของประชากรรุ่นใหม่และความสงบสุขของสังคมโดยรวม
การเสริมสร้างพัฒนาจิต
การดาเนินงานเสริมสร้างสุขภาพจิตและป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาทาง
สุขภาพจิตต้องคานึงถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงใกล้ชิดกับสุขภาพกาย สุขภาพ
สังคม สุขภาพทางปัญญา และความสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ ทังในระดับบุคคล
ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพราะการดาเนินงานแบบแยกส่วนจากสุขภาพใน
มิติอื่นๆ และขาดการพิจารณาปัจจัยต่างๆ อย่างเชื่อมโยงและเป็นระบบจะทา
ให้ไม่สามารถพัฒนาศักยภาพคนด้านจิตใจให้มีความสามารถในการจัดการ
ปัญหาชีวิต มีความดีงามภายในจิตใจ และทางานได้อย่างสร้างสรรค์ อัน
เนื่องมาจากกลุ่มคนเหล่านีจะขาดทักษะด้านอารมณ์และสังคม ทักษะการ
จัดการชีวิตตนเอง การมีจิตอาสา และจิตสานึกต่อสังคม
การพัฒนาจิตใจและพัฒนาสุขภาพทางปัญญาโดยรัฐสนับสนุนการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต และการพัฒนาทักษะและศักยภาพที่เอือต่อการจัดการชีวิตที่
ดีและมีความสุขจึงก่อประโยชน์ทังต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม
รวมทังทาให้ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสามารถอยู่ร่วมและใช้ชีวิตปกติในสังคมได้
ระบบบริการสุขภาพจิต
ในประทศไทยผู้ป่วยทางจิตยังมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการ
เข้าถึงบริการอีกมาก ดังนันจึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตที่
ครอบคลุมทังด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและ
การฟื้นฟูสภาพ โดยมุ่งออกแบบให้ระบบบริการสุขภาพจิตสามารถตอบสนอง
ความต้องการด้านสุขภาพจิตของประชาชนได้อย่างทั่วถีง โดยเฉพาะกับกลุ่ม
ผู้ป่วยและประชาชนกลุ่มเสี่ยงทางสุขภาพจิตที่อยู่ในสภาวะเปราะบาง
การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทุก
กลุ่มวัยต้องมีระบบการคัดกรองและดูแลช่วยเหลือต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
พร้อมกับมุ่งพัฒนาการเชื่อมโยงการบริการแบบไร้รอยต่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
สุขภาพจิต
Mental Health
ภาพอนาคตพึงประสงค์
๑. ทุกภาคส่วนมีความรู้ความเข้าใจต่อผู้ที่มีปัญหา
ด้านสุขภาพจิต และให้ความสาคัญกับการเพิ่มปัจจัย
ปกป้องและการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพจิตทังใน
ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมวงกว้าง
๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประชาชน
ชุมชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคเอกชน
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ มีส่วนร่วมในการกาหนด
นโยบายที่จะเอือให้บุคคลพัฒนาศักยภาพของตนเอง
ให้มีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขมากขึน
๓. อปท. และชุมชนได้รับการสนับสนุนและให้
ความสาคัญกับการมีกลไกการจัดการตนเองที่
เหมาะสมกับบริบทในชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีความ
เข้มแข็ง มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และช่วยเหลือ
เกือกูลกัน โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงซึ่งมีความสุขน้อย
๔. รัฐมีนโยบายสนับสนุนให้บุคคลเกิดการเรียนรู้
ตลอดชีวิต มีการพัฒนาทักษะและศักยภาพที่เอือให้
มีความสามารถในการจัดการชีวิตที่ดีและมีความสุข
๕. ทุกภาคส่วนร่วมกันส่งเสริมการพัฒนาจิตใจทัง
ด้านทักษะอารมณ์และสังคม ทักษะการจัดการชีวิต
ตนเอง การมีจิตอาสาและจิตสานึกต่อสังคม
ตลอดจนการพัฒนาสุขภาพทางปัญญา
๖. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตที่ครอบคลุมทัง
ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ
รักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ โดยประชาชน
สามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพจิตที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทั่วถึง
สุขภาพจิต
การเสริมสร้างศักยภาพประชาชนในชุมชนท้องถิ่นให้มีสุขภาพจิตดีสามารถใช้ ‘ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่’ เป็นเครื่องมือ
และกลไกในการกาหนดนโยบายที่จะเอื้อให้คนพัฒนาศักยภาพของตนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขมากขึ้นได้
การบรรรลุเป้าหมาย ‘ประชาชนมีสุขภาพจิตดี สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข’ ต้องพัฒนาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของ
เครือข่ายที่ดูแลสุขภาพจิตของประชาชนในทุกกลุ่ม ทังในสภาวะปกติและวิกฤต เพื่อจะชนะปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรงและซับซ้อน
คานงัดครอบครัวและชุมชน
นอกเหนือจากการพัฒนาศักยภาพของบุคคลในการ
จัดการกับปัญหาชีวิต การมีจิตใจที่ดี และความสามารถทางาน
ได้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึงการศึกษาทังในและนอกระบบจะ
เป็นคานงัดในการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตแล้ว การเพิ่ม
ปัจจัยปกป้องและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพจิตทังในระดับ
บุคคล คร อบครั ว
ชุมชน และสังคมวง
กว้างยังต้องตังต้นที่การ
สร้างความสัมพันธ์ของ
สถาบันครอบครัวโดย
การส่งเสริมให้พ่อแม่ได้
อยู่กับลูกเป็นครอบครัว
และลดการย้ายถิ่นฐาน
เพื่อหางานทาอันเป็นปัญหาของครอบครัวไม่อบอุ่น
ส่วนชุมชนก็ต้องร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.) ในการสร้างกลไกการจัดการตนเองที่เหมาะสมกับ
บริบทในชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและคนในชุมชนมี
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความไว้วางใจกัน เอือเฟื้อเกือกูลกัน
และมีจิตอาสา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มเสี่ยงซึ่งมีความสุข
น้อยในสังคม เช่น กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และคนไร้บ้าน
การพัฒนากลไกศักยภาพ
การพัฒนากลไกในการเสริมสร้างศักยภาพประชาชน
ให้มีสุขภาพจิตดีดาเนินการผ่านการพัฒนาเครือข่ายระบบ
สุขภาพระดับอาเภอ (รสอ.) ที่มุ่งการบูรณาการงานสุขภาพจิตสู่
ระบบสุขภาพระดับอาเภอให้เข้ากับความต้องการและบริบท
ของพืนที่ และการพัฒนาการสื่อสารสุขภาพจิตสู่สังคมแบบเชิง
รุกที่มุ่งการส่งเสริมให้ประชาชนมีการรับรู้ ความรู้ ความเข้าใจ
ในเรื่องสุขภาพจิต รวมทังมีทัศนคติที่ดีต่อผู้มีปัญหาสุขถาพจิต
การสร้างความเข้มแข็งไปด้วยกัน
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตต้องทาทุกกลุ่มวัยไป
พร้อมๆ กันอันจะทาให้ทังสังคมไทยมีความเข้มแข็งไปด้วยกัน
(Stronger together) ซึ่งจะส่งผลดีต่ออนาคตของประเทศชาติ
จากการที่ประชาชนทุกคนไม่ถูกทอดทิงถึงเป็นกลุ่มเสี่ยง
สตรีและเด็กปฐมวัย: มุ่งติดตามดูแลพัฒนาการเด็ก
อย่างต่อเนื่องทังในเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาพัฒนาการและเด็กที่
มีพัฒนาการล่าช้า
วัยเรียน: มุ่งเฝ้าระวังเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้
พฤติกรรมและอารมณ์ การส่งเสริม IQ/EQ เด็กวัยเรียน และ
พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน
วัยรุ่น: มุ่งดาเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ
ในสถานบริการ สถานศึกษา และชุมชนที่เชื่อมโยงกับระบบ
สุขภาพอาเภอ (DHS)
วัยทางาน: มุ่งส่งเสริมสุขภาพจิตวัยทางานและป้องกัน
ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเสี่ยงวัยทางานที่ป่วยด้วยโรคเรือรัง มี
ความรุนแรงในครอบครัว และเสี่ยงต่อการติดสุรา/ยาเสพติดใน
โรงพยาบาลชุมชน สถานประกอบการ และชุมชน
วัยสูงอายุ: มุ่งคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า และ
พัฒนาระบบการดูแลทางสังคมจิตใจสาหรับผู้สูงอายุใน
โรงพยาบาลชุมชน (คลินิสูงอายุ/คลินิก NCD) และผู้สูงอายุใน
ชุมชน (ชมรมผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง)
คนพิการ: มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการทางจิตใจ
ห รื อ พ ฤ ติ ก ร ร ม
สติปัญญา การเรียนรู้
และออทิสติก ให้ได้รับ
การฟื้นฟูด้านสังคมผ่าน
เครือข่ายดูแลสุขภาพ
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
ภาวะซึมเศร้า/ฆ่าตัวตาย
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชัน ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th
08 mental health

More Related Content

Viewers also liked

Questions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyQuestions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyDeepali Panjabi
 
Maven: Managing Software Projects for Repeatable Results
Maven: Managing Software Projects for Repeatable ResultsMaven: Managing Software Projects for Repeatable Results
Maven: Managing Software Projects for Repeatable ResultsSteve Keener
 
01 deliberative democracy
01 deliberative democracy01 deliberative democracy
01 deliberative democracyFreelance
 
10 area health statute
10 area health statute10 area health statute
10 area health statuteFreelance
 
Pinnacle Business Review
Pinnacle Business ReviewPinnacle Business Review
Pinnacle Business Reviewvwseifert
 
Introduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsIntroduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsSteve Keener
 
India's Economic Profile
India's Economic ProfileIndia's Economic Profile
India's Economic Profilezendeem
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
The Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityThe Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityDeepali Panjabi
 

Viewers also liked (10)

Questions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and MoneyQuestions on India's mind - Pregnancy and Money
Questions on India's mind - Pregnancy and Money
 
Maven: Managing Software Projects for Repeatable Results
Maven: Managing Software Projects for Repeatable ResultsMaven: Managing Software Projects for Repeatable Results
Maven: Managing Software Projects for Repeatable Results
 
01 deliberative democracy
01 deliberative democracy01 deliberative democracy
01 deliberative democracy
 
10 area health statute
10 area health statute10 area health statute
10 area health statute
 
Quotes
QuotesQuotes
Quotes
 
Pinnacle Business Review
Pinnacle Business ReviewPinnacle Business Review
Pinnacle Business Review
 
Introduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On RailsIntroduction To Ruby On Rails
Introduction To Ruby On Rails
 
India's Economic Profile
India's Economic ProfileIndia's Economic Profile
India's Economic Profile
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
The Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal UtilityThe Law of Diminishing Marginal Utility
The Law of Diminishing Marginal Utility
 

Similar to 08 mental health

รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfFaiSurkumron1
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาtassanee chaicharoen
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
ชีวิตและครอบครัว
ชีวิตและครอบครัวชีวิตและครอบครัว
ชีวิตและครอบครัวพัน พัน
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกChuchai Sornchumni
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยgeekan
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้nitirot
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanwarath Khemthong
 
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองนิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองChavanant Sumanasrethakul
 

Similar to 08 mental health (20)

รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
ชีวิตและครอบครัว
ชีวิตและครอบครัวชีวิตและครอบครัว
ชีวิตและครอบครัว
 
8
88
8
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลกนักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
นักจัดการสาธารณสุขศตวรรษที่ 21 พิษณุโลก
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมืองนิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
นิยามของเวชศาสตร์เขตเมือง
 

08 mental health

  • 1. หลักการสาคัญ ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ... ตระหนักถึง ความสาคัญของสุขภาพจิตว่าเป็นเหมือนภูเขานาแข็งที่พร้อมจะสร้างปัญหา รุนแรงต่อสังคมไทยได้ทุกเมื่อ ความเจ็บป่วยทางจิตเป็นภาระโรคสาคัญที่ นาไปสู่ปัญหาสุขภาพกาย อารมณ์และพฤติกรรม รวมถึงปัญหาทางสังคมต่างๆ ตามมา โดยเฉพาะความเจ็บป่วยทางจิตในเด็กและวัยรุ่นที่ส่งผลกระทบต่อ คุณภาพชีวิตของประชากรรุ่นใหม่และความสงบสุขของสังคมโดยรวม การเสริมสร้างพัฒนาจิต การดาเนินงานเสริมสร้างสุขภาพจิตและป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาทาง สุขภาพจิตต้องคานึงถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงใกล้ชิดกับสุขภาพกาย สุขภาพ สังคม สุขภาพทางปัญญา และความสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ ทังในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพราะการดาเนินงานแบบแยกส่วนจากสุขภาพใน มิติอื่นๆ และขาดการพิจารณาปัจจัยต่างๆ อย่างเชื่อมโยงและเป็นระบบจะทา ให้ไม่สามารถพัฒนาศักยภาพคนด้านจิตใจให้มีความสามารถในการจัดการ ปัญหาชีวิต มีความดีงามภายในจิตใจ และทางานได้อย่างสร้างสรรค์ อัน เนื่องมาจากกลุ่มคนเหล่านีจะขาดทักษะด้านอารมณ์และสังคม ทักษะการ จัดการชีวิตตนเอง การมีจิตอาสา และจิตสานึกต่อสังคม การพัฒนาจิตใจและพัฒนาสุขภาพทางปัญญาโดยรัฐสนับสนุนการ เรียนรู้ตลอดชีวิต และการพัฒนาทักษะและศักยภาพที่เอือต่อการจัดการชีวิตที่ ดีและมีความสุขจึงก่อประโยชน์ทังต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม รวมทังทาให้ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตสามารถอยู่ร่วมและใช้ชีวิตปกติในสังคมได้ ระบบบริการสุขภาพจิต ในประทศไทยผู้ป่วยทางจิตยังมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการ เข้าถึงบริการอีกมาก ดังนันจึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตที่ ครอบคลุมทังด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและ การฟื้นฟูสภาพ โดยมุ่งออกแบบให้ระบบบริการสุขภาพจิตสามารถตอบสนอง ความต้องการด้านสุขภาพจิตของประชาชนได้อย่างทั่วถีง โดยเฉพาะกับกลุ่ม ผู้ป่วยและประชาชนกลุ่มเสี่ยงทางสุขภาพจิตที่อยู่ในสภาวะเปราะบาง การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตทุก กลุ่มวัยต้องมีระบบการคัดกรองและดูแลช่วยเหลือต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ พร้อมกับมุ่งพัฒนาการเชื่อมโยงการบริการแบบไร้รอยต่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สุขภาพจิต Mental Health ภาพอนาคตพึงประสงค์ ๑. ทุกภาคส่วนมีความรู้ความเข้าใจต่อผู้ที่มีปัญหา ด้านสุขภาพจิต และให้ความสาคัญกับการเพิ่มปัจจัย ปกป้องและการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพจิตทังใน ระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมวงกว้าง ๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ประชาชน ชุมชน ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ ภาคเอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ มีส่วนร่วมในการกาหนด นโยบายที่จะเอือให้บุคคลพัฒนาศักยภาพของตนเอง ให้มีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขมากขึน ๓. อปท. และชุมชนได้รับการสนับสนุนและให้ ความสาคัญกับการมีกลไกการจัดการตนเองที่ เหมาะสมกับบริบทในชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีความ เข้มแข็ง มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และช่วยเหลือ เกือกูลกัน โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยงซึ่งมีความสุขน้อย ๔. รัฐมีนโยบายสนับสนุนให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต มีการพัฒนาทักษะและศักยภาพที่เอือให้ มีความสามารถในการจัดการชีวิตที่ดีและมีความสุข ๕. ทุกภาคส่วนร่วมกันส่งเสริมการพัฒนาจิตใจทัง ด้านทักษะอารมณ์และสังคม ทักษะการจัดการชีวิต ตนเอง การมีจิตอาสาและจิตสานึกต่อสังคม ตลอดจนการพัฒนาสุขภาพทางปัญญา ๖. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตที่ครอบคลุมทัง ด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ รักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ โดยประชาชน สามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพจิตที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างทั่วถึง
  • 2. สุขภาพจิต การเสริมสร้างศักยภาพประชาชนในชุมชนท้องถิ่นให้มีสุขภาพจิตดีสามารถใช้ ‘ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่’ เป็นเครื่องมือ และกลไกในการกาหนดนโยบายที่จะเอื้อให้คนพัฒนาศักยภาพของตนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีความสุขมากขึ้นได้ การบรรรลุเป้าหมาย ‘ประชาชนมีสุขภาพจิตดี สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข’ ต้องพัฒนาให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของ เครือข่ายที่ดูแลสุขภาพจิตของประชาชนในทุกกลุ่ม ทังในสภาวะปกติและวิกฤต เพื่อจะชนะปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรงและซับซ้อน คานงัดครอบครัวและชุมชน นอกเหนือจากการพัฒนาศักยภาพของบุคคลในการ จัดการกับปัญหาชีวิต การมีจิตใจที่ดี และความสามารถทางาน ได้อย่างสร้างสรรค์ รวมถึงการศึกษาทังในและนอกระบบจะ เป็นคานงัดในการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพจิตแล้ว การเพิ่ม ปัจจัยปกป้องและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพจิตทังในระดับ บุคคล คร อบครั ว ชุมชน และสังคมวง กว้างยังต้องตังต้นที่การ สร้างความสัมพันธ์ของ สถาบันครอบครัวโดย การส่งเสริมให้พ่อแม่ได้ อยู่กับลูกเป็นครอบครัว และลดการย้ายถิ่นฐาน เพื่อหางานทาอันเป็นปัญหาของครอบครัวไม่อบอุ่น ส่วนชุมชนก็ต้องร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในการสร้างกลไกการจัดการตนเองที่เหมาะสมกับ บริบทในชุมชนเพื่อให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและคนในชุมชนมี ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความไว้วางใจกัน เอือเฟื้อเกือกูลกัน และมีจิตอาสา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มเสี่ยงซึ่งมีความสุข น้อยในสังคม เช่น กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และคนไร้บ้าน การพัฒนากลไกศักยภาพ การพัฒนากลไกในการเสริมสร้างศักยภาพประชาชน ให้มีสุขภาพจิตดีดาเนินการผ่านการพัฒนาเครือข่ายระบบ สุขภาพระดับอาเภอ (รสอ.) ที่มุ่งการบูรณาการงานสุขภาพจิตสู่ ระบบสุขภาพระดับอาเภอให้เข้ากับความต้องการและบริบท ของพืนที่ และการพัฒนาการสื่อสารสุขภาพจิตสู่สังคมแบบเชิง รุกที่มุ่งการส่งเสริมให้ประชาชนมีการรับรู้ ความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องสุขภาพจิต รวมทังมีทัศนคติที่ดีต่อผู้มีปัญหาสุขถาพจิต การสร้างความเข้มแข็งไปด้วยกัน การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตต้องทาทุกกลุ่มวัยไป พร้อมๆ กันอันจะทาให้ทังสังคมไทยมีความเข้มแข็งไปด้วยกัน (Stronger together) ซึ่งจะส่งผลดีต่ออนาคตของประเทศชาติ จากการที่ประชาชนทุกคนไม่ถูกทอดทิงถึงเป็นกลุ่มเสี่ยง สตรีและเด็กปฐมวัย: มุ่งติดตามดูแลพัฒนาการเด็ก อย่างต่อเนื่องทังในเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาพัฒนาการและเด็กที่ มีพัฒนาการล่าช้า วัยเรียน: มุ่งเฝ้าระวังเด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ พฤติกรรมและอารมณ์ การส่งเสริม IQ/EQ เด็กวัยเรียน และ พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน วัยรุ่น: มุ่งดาเนินงานดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ ในสถานบริการ สถานศึกษา และชุมชนที่เชื่อมโยงกับระบบ สุขภาพอาเภอ (DHS) วัยทางาน: มุ่งส่งเสริมสุขภาพจิตวัยทางานและป้องกัน ปัญหาสุขภาพจิตในกลุ่มเสี่ยงวัยทางานที่ป่วยด้วยโรคเรือรัง มี ความรุนแรงในครอบครัว และเสี่ยงต่อการติดสุรา/ยาเสพติดใน โรงพยาบาลชุมชน สถานประกอบการ และชุมชน วัยสูงอายุ: มุ่งคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า และ พัฒนาระบบการดูแลทางสังคมจิตใจสาหรับผู้สูงอายุใน โรงพยาบาลชุมชน (คลินิสูงอายุ/คลินิก NCD) และผู้สูงอายุใน ชุมชน (ชมรมผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง) คนพิการ: มุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการทางจิตใจ ห รื อ พ ฤ ติ ก ร ร ม สติปัญญา การเรียนรู้ และออทิสติก ให้ได้รับ การฟื้นฟูด้านสังคมผ่าน เครือข่ายดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด ภาวะซึมเศร้า/ฆ่าตัวตาย สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ชัน ๓ อาคารสุขภาพแห่งชาติ ๘๘/๓๙ ถ.ติวานนท์ ๑๔ หมู่ ๔ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑-๒ www.nationalhealth.or.th