SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
มคอ.3
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย
คณะ/วิทยาลัย/ภาควิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
GE207 เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)
2. จํานวนหนวยกิต
จํานวนหนวยกิต (Number of Credits) 3
บรรยาย/คาบ/สัปดาห (Lecture/period/week) 3
ปฏิบัติการ/คาบ/สัปดาห (Lab/period/week) -
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรปริญญาตรี หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
4. อาจารยผูรับผิดชอบ อาจารยผูสอนและกลุมเรียน (Section)
อาจารยสุกัญญา เบญจวนิช (sukanya_ben@utcc.ac.th)
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน
ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 ชั้นปที่ 1
6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (pre-requisite) (ถามี)
ไมมี
7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (co-requisites) (ถามี)
ไมมี
8. สถานที่เรียน
หองเรียน 71005 มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ดินแดง กรุงเทพฯ
9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด
1 ธันวาคม 2561
2 มคอ.3
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
1. จุดมุงหมายของรายวิชา
- เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูและพัฒนาทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลในศตวรรษที่ 21
- เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล และผลกระทบที่มีตอรูปแบบการดําเนินชีวิต
ปจจุบัน
- เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และสิทธิมนุษยชนในยุคดิจิทัลปจจุบัน
- เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอมในยุคดิจิทัล
- เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําแนวคิดดิจิทัลไปประยุกตใชได
2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูตามคําอธิบายรายวิชา
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
1. คําอธิบายรายวิชา
ความกาวหนาของเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ความหลากหลายของเทคโนโลยี ผลกระทบที่มีตอรูปแบบการดําเนินชีวิต
ในยุคดิจิทัล การประกอบธุรกิจ เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม รวมถึงคุณธรรม จริยธรรม และสิทธิมนุษยชน ตลอดจน
การปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบในยุคดิจิทัล
2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม
การฝกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝกงาน
การศึกษาดวยตนเอง
45 คาบ/ภาคการศึกษา ไมมี 90 คาบ/ภาคการศึกษา
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล
3 คาบ/สัปดาห
3 มคอ.3
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา
1. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา
พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล การไม
ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟตแวร และไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตยในการเขียนโปรแกรมและพัฒนา
ระบบงานอยางมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
• ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต
• มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
• มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขขอขัดแยง และลําดับความสาคัญ
• เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคา และศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย
• เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม
• มีจิตสํานึกที่ดีตอสังคม
• มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน
• มอบหมายงานใหรับผิดชอบ โดยมีกําหนดการสงงานที่แนนอน
• มีการกําหนดกฎระเบียบและขอบังคับในชั้นเรียน เชน การตรงตอเวลา การแตงกาย
1.3 วิธีการประเมินผล
• ประเมินจากพฤติกรรมการเขาเรียน และสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ให การตรงตอเวลา และ
การแตงกาย
• ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา มีการรับฟงความคิดเห็น และมีความชวยเหลือกันระหวางการทํางานที่
ไดรับมอบหมายรวมกัน
• ประเมินจากชิ้นงานที่รับผิดชอบ ไมมีการคัดลอกงาน
2. ความรู
2.1 ความรูที่จะไดรับ
เพื่อใหนักศึกษาเขาใจองคความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม
2.2 วิธีการสอน
• การสอนที่เนนผูเรียนเปนสาคัญ โดยการบรรยาย อภิปราย การทางานกลุม การนาเสนอผลงาน การ
วิเคราะหกรณีศึกษา พรอมนําเสนอและชี้ถึงปญหาพรอมวิธีการแกไข
• การมอบหมายงาน โดยประยุกตการสอนแบบ Problem based learning และ Student Center ที่เนน
ผูเรียนเปนศูนยกลาง
• การสอนแบบ Case Study ใหนักศึกษาเห็นถึงเทคโนโลยีดิจิทัลปจจุบัน
4 มคอ.3
• การสอนแบบศึกษาดวยตนเอง การคนควาทางอินเตอรเน็ต โดยเนนใหนักศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติม
2.3 วิธีการประเมินผล
• วิเคราะหกรณีศึกษา
• โครงงานเมื่อจบภาคการศึกษา
• การวัดผล
คะแนนในชั้นเรียน 100 %
- การเขาเรียน 5 %
- การมีสวนรวม 10 %
- ภาคปฏิบัติ (กลุม) 60 %
- โครงงาน (กลุม) 25 %
คะแนนสอบกลางภาค - %
คะแนนสอบปลายภาค - %
3. ทักษะทางปญญา
3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดเปนระบบ มีการวิเคราะห เพื่อการปองกันและแกไข ปญหาที่
เกิดขึ้นจากการใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรค
3.2 วิธีการสอน
• การมอบหมายงานใหนักศึกษาและนําเสนอผลงาน
• วิเคราะหและออกแบบงานที่ไดรับมอบหมาย
• การสะทอนแนวคิดจากความประพฤติ
3.3 วิธีการประเมินผล
เนนการวิเคราะหปญหา ใหนักศึกษาแสดงความคิด อภิปรายในหองเรียน และนําเสนอผลงาน
4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา
• พัฒนาทักษะในการสรางสัมพันธภาพระหวางผูเรียนดวยกัน
• พัฒนาความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม
• พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตามกําหนดเวลา
• ทักษะในการรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
4.2 กลยุทธการสอนที่จะใชในการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
• จัดกิจกรรมกลุมในการวิเคราะหและออกแบบโครงงาน
5 มคอ.3
• มอบหมายงานรายกลุม และรายบุคคล
• การนําเสนอผลงาน
4.3 วิธีการวัดและประเมินทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
• ผลงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเปนทีม
5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา
• ทักษะการคิดออกแบบ
• พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง และนําเสนอในชั้นเรียน
• พัฒนาทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา
• พัฒนาทักษะในการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต
• ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน การสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต การสื่อสารผาน Social Media
ตางๆ การใชแอปพลิเคชั่น
• ทักษะในการนําเสนอผลงานโดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
• มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซต และสื่อการสอน iTuneU
• นําเสนอโครงงานโดยใชรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล
• การนําเสนอโครงงานดวยสื่อเทคโนโลยี
วิธีการสอน (Teaching Approach) และการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Student –
Centered Approach)
 การบรรยาย (Lecture)  การเรียนรูโดยใชหัวขอปญหา (Problem-based Learning)
 การฝกปฏิบัติ (Practice)  การเรียนรูโดยกิจกรรมโครงงาน (Project-based-Learning)
 การอภิปราย (Discussion)  การเรียนรูโดยกิจกรรมการวิจัย (Research-based-Learning)
 การสัมมนา (Seminar)  การเรียนรูผานเครือขายอินเทอรเน็ต
(Online Learning/Internet-based-Learning)
 การเรียนการสอนแบบ Hybrid Learning System
 การเรียนรูเปนรายบุคคล (Individual Study)
 การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-study)
 กรณีศึกษา (Case Study)
6 มคอ.3
 การเรียนรูจากการทํางาน (Work Integrated Learning) โดยมีรูปแบบ ดังนี้
 การกําหนดประสบการณกอนการศึกษา (Pre-course Experience)
 การเรียนสลับกับการทํางาน (Sandwich Course)
 สหกิจศึกษา (Cooperative Education)
 การฝกงานที่เนนการเรียนรูหรือการติดตามพฤติกรรมการทํางาน
(Cognitive Apprenticeship or Job Shadowing)
 หลักสูตรรวมมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม (Joint Industry University Course)
 พนักงานฝกหัดใหมหรือพนักงานฝกงาน (New Traineeship or Apprenticeship)
 การบรรจุใหทํางาน หรือการฝกเฉพาะตําแหนง (Placement or Practicum)
 ปฏิบัติงานภาคสนาม (Fieldwork)
 การฝกปฏิบัติจริงภายหลังสําเร็จการเรียนทฤษฎี (Post course Internship)
 อื่น ๆ (Others) (Please specify) .....................................
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห
ที่
หัวขอ/รายละเอียด
จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการ
เรียน
การสอน
สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน
1
(13 ม.ค. 62)
Course Introduction
Prototyping
3-0 บรรยาย
iTuneU
Keynote
Powerpoint
Youtube
SurveyMonkey
GoogleForms
อ.สุกัญญาฯ
2
(20 ม.ค. 62)
Module 1: Digital Technology
Concept
•Session 1: Introduction to
Digital Technology
•Session 2: Digital
Transformation
6-0
บรรยาย
กรณีศึกษา
วิเคราะหปญหา
3
(27 ม.ค. 62)
4
(3 ก.พ. 62
Module 2: Digital Essential
Knowledge
•Session 3: Digital
Technology Trends
6-0
5
(10 ก.พ. 62)
6
(17 ก.พ. 62)
Module 3: Digital Technology
Phases 6-0
บรรยาย
กรณีศึกษา
7 มคอ.3
สัปดาห
ที่
หัวขอ/รายละเอียด
จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการ
เรียน
การสอน
สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน
7
(24 ก.พ. 62)
•Session 4: Digital
Technology in Finance
•Workshop #1 (10%)
วิเคราะหปญหา
ฝกใชแอปพลิเคชั่น
นําเสนอผลงาน
8 สอบกลางภาค (25 ก.พ. – 2 มี.ค. 62) ***ไมมีจัดสอบ
9
(10 มี.ค. 62)
•Session 5: Digital
Technology in Retail
Business
•Workshop #2 (10%)
3-0
บรรยาย
กรณีศึกษา
วิเคราะหปญหา
ฝกใชแอปพลิเคชั่น
นําเสนอผลงาน
iTuneU
Keynote
Powerpoint
Youtube
SurveyMonkey
GoogleForms
อ.สุกัญญาฯ
10
(17 มี.ค. 62)
•Session 6: Digital
Technology in Insurance
•Workshop #3 (10%)
3-0
11
(24 มี.ค. 62)
•Session 7: Digital
Technology in Education
•Workshop #4 (10%)
3-0
12
(31 มี.ค. 62)
•Session 8: Digital
Technology in Health Care
•Workshop #5 (10%)
3-0
13
(7 เม.ย. 62)
•Session 9: Digital
Technology in Agriculture
•Workshop #6 (10%)
3-0
14
(14 เม.ย. 62)
•Session 10: Digital
Technology in the Future
3-0 บรรยาย
15
(21 เม.ย. 62)
Project Presentation (25%) 6-0 อ.สุกัญญาฯ
16
(28 เม.ย. 62)
17 สอบปลายภาค (29 เม.ย. – 10 พ.ค. 62) ***ไมมีจัดสอบ
8 มคอ.3
2. แผนการประเมินผล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู* วิธีการประเมิน
กําหนดเวลาการ
ประเมิน (สัปดาหที่)
สัดสวนของการ
ประเมินผล
1 ความรูและทักษะ
(Knowledge and
Skills)
- ผลงานยอย (Sub Project)
- โครงงานใหญ (Final Project)
ตลอดภาค
การศึกษา
รอยละ 60
รอยละ 25
2 การทํางานหรือ
กิจกรรมการเรียนการ
สอน
(Assignments/Teac
hing-Learning
Activities)
- การเขาชั้นเรียน (Attending)
- การมีสวนรวม (Participation)
ตลอดภาค
การศึกษา
รอยละ 5
รอยละ 10
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตําราและเอกสารหลัก
GE207 เทคโนโลยีดิจิทัล (iTuneU / e-Classroom)
2. เอกสารและขอมูลสําคัญ
3. เอกสารและขอมูลแนะนํา
อางอิงจากอินเตอรเน็ตซึ่งแลวแตเนื้อหาและความสอดคลองกับเนื้อหา
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ใหนักศึกษาทุกคนทําการประเมินการสอนของอาจารยผานเระบบการประเมินอาจารยออนไลนของมหาวิทยาลัย
และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
2. กลยุทธการประเมินการสอน
ประเมินจากผลงานที่ไดรับมอบหมายของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
หากพบปญหาในการเรียนรูในรายวิชาใดจะนําปญหาดังกลาวเขาในที่ประชุมสาขาฯ เพื่อประชุมหารือปญหาการ
เรียนรูของนักศึกษาและรวมกันหาแนวทางแกไข
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
ทบสอบจากคะแนนงานในชั้นเรียน
9 มคอ.3
5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
อาจารยผูสอนรวบรวมผลการประเมินการสอน คะแนนผลงาน พฤติกรรมของนักศึกษา เขาที่ประชุมในกลุมผูรวม
สอน เพื่อวิเคราะหปญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธการสอนที่ใช หากมีการเปลี่ยนแปลงการดาเนินการจะ
นําเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาตอไป

More Related Content

What's hot

Cooperative and collaborative learning
Cooperative and collaborative learningCooperative and collaborative learning
Cooperative and collaborative learningAtul Thakur
 
Nursery production-Seedling Handling
Nursery production-Seedling HandlingNursery production-Seedling Handling
Nursery production-Seedling HandlingCarlos Holder
 
A synthesisof existingtheories-perraton
A synthesisof existingtheories-perratonA synthesisof existingtheories-perraton
A synthesisof existingtheories-perratonmtfiscus
 
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptx
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptxPLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptx
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptxKarthiSelva6
 
Growing media for plants
Growing media for plantsGrowing media for plants
Growing media for plantstrellis123
 
The Reggio Emilia approach
The Reggio Emilia approachThe Reggio Emilia approach
The Reggio Emilia approachkdwilson1995
 
Cognitive and metacognitive
Cognitive and metacognitiveCognitive and metacognitive
Cognitive and metacognitivelili0513
 
NATURAL CONVECTION SOLAR DRIYER
NATURAL CONVECTIONSOLAR DRIYERNATURAL CONVECTIONSOLAR DRIYER
NATURAL CONVECTION SOLAR DRIYERsathish sak
 
Action research for Teachers
Action research for TeachersAction research for Teachers
Action research for Teachersjagannath Dange
 
Participatory approach 2
Participatory approach 2Participatory approach 2
Participatory approach 2rinaldirahmat
 

What's hot (13)

Cooperative and collaborative learning
Cooperative and collaborative learningCooperative and collaborative learning
Cooperative and collaborative learning
 
Nursery production-Seedling Handling
Nursery production-Seedling HandlingNursery production-Seedling Handling
Nursery production-Seedling Handling
 
A synthesisof existingtheories-perraton
A synthesisof existingtheories-perratonA synthesisof existingtheories-perraton
A synthesisof existingtheories-perraton
 
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptx
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptxPLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptx
PLANNING AND LAYOUT OF AN ORCHARD.pptx
 
Growing media for plants
Growing media for plantsGrowing media for plants
Growing media for plants
 
Inquiry based learning
Inquiry based learningInquiry based learning
Inquiry based learning
 
The Reggio Emilia approach
The Reggio Emilia approachThe Reggio Emilia approach
The Reggio Emilia approach
 
Participatory approach
Participatory approach Participatory approach
Participatory approach
 
Cognitive and metacognitive
Cognitive and metacognitiveCognitive and metacognitive
Cognitive and metacognitive
 
NATURAL CONVECTION SOLAR DRIYER
NATURAL CONVECTIONSOLAR DRIYERNATURAL CONVECTIONSOLAR DRIYER
NATURAL CONVECTION SOLAR DRIYER
 
Harvest and Post-Harvest
Harvest and Post-HarvestHarvest and Post-Harvest
Harvest and Post-Harvest
 
Action research for Teachers
Action research for TeachersAction research for Teachers
Action research for Teachers
 
Participatory approach 2
Participatory approach 2Participatory approach 2
Participatory approach 2
 

Similar to TQF03_DigitalTechnology

7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์DrJoe Weawsorn
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabusMam Thong
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606Ploy Purr
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8bowing3925
 
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์mansupotyrc
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8Mc'Or K-kung
 

Similar to TQF03_DigitalTechnology (20)

7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์7 instruction design 01-concept บดินทร์
7 instruction design 01-concept บดินทร์
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
ใยงาน2 8edit
ใยงาน2 8editใยงาน2 8edit
ใยงาน2 8edit
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606
 
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์2-8
 
E4
E4E4
E4
 
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 เรื่่อง ความหมายเเละความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 

More from Sukanya Ben

[GE207] Session03: Digital Technology Trends
[GE207] Session03: Digital Technology Trends[GE207] Session03: Digital Technology Trends
[GE207] Session03: Digital Technology TrendsSukanya Ben
 
[GE207] Session02: Digital Transformation
[GE207] Session02: Digital Transformation[GE207] Session02: Digital Transformation
[GE207] Session02: Digital TransformationSukanya Ben
 
[Ge207] Digital Technology Outline
[Ge207] Digital Technology Outline[Ge207] Digital Technology Outline
[Ge207] Digital Technology OutlineSukanya Ben
 
[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology
[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology
[GE207] Session01: Introduction to Digital TechnologySukanya Ben
 
[GE207] Prototyping
[GE207] Prototyping[GE207] Prototyping
[GE207] PrototypingSukanya Ben
 
MIS-CH15: Managing Global Systems
MIS-CH15: Managing Global SystemsMIS-CH15: Managing Global Systems
MIS-CH15: Managing Global SystemsSukanya Ben
 
MIS-CH14: Managing Projects
MIS-CH14: Managing ProjectsMIS-CH14: Managing Projects
MIS-CH14: Managing ProjectsSukanya Ben
 
MIS-CH13: Building Information Systems
MIS-CH13: Building Information SystemsMIS-CH13: Building Information Systems
MIS-CH13: Building Information SystemsSukanya Ben
 
MIS-CH12: Enhancing Decision Making
MIS-CH12: Enhancing Decision MakingMIS-CH12: Enhancing Decision Making
MIS-CH12: Enhancing Decision MakingSukanya Ben
 
MIS-CH11: Managing Knowledge
MIS-CH11: Managing KnowledgeMIS-CH11: Managing Knowledge
MIS-CH11: Managing KnowledgeSukanya Ben
 
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital Goods
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital GoodsMIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital Goods
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital GoodsSukanya Ben
 
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer Intimacy
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer IntimacyMIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer Intimacy
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer IntimacySukanya Ben
 
MIS-CH08: Securing Information Systems
MIS-CH08: Securing Information SystemsMIS-CH08: Securing Information Systems
MIS-CH08: Securing Information SystemsSukanya Ben
 
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless TechnologyMIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless TechnologySukanya Ben
 
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & IS
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & ISMIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & IS
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & ISSukanya Ben
 
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging Technologies
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging TechnologiesMIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging Technologies
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging TechnologiesSukanya Ben
 
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation Systems
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation SystemsMIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation Systems
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation SystemsSukanya Ben
 
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and Strategy
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and StrategyMIS-CH01: Information Systems, Organization, and Strategy
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and StrategySukanya Ben
 
MIS-CH02: Global e-Business and Collaboration
MIS-CH02: Global e-Business and CollaborationMIS-CH02: Global e-Business and Collaboration
MIS-CH02: Global e-Business and CollaborationSukanya Ben
 
MIS-CH01: IS in Business Today
MIS-CH01: IS in Business TodayMIS-CH01: IS in Business Today
MIS-CH01: IS in Business TodaySukanya Ben
 

More from Sukanya Ben (20)

[GE207] Session03: Digital Technology Trends
[GE207] Session03: Digital Technology Trends[GE207] Session03: Digital Technology Trends
[GE207] Session03: Digital Technology Trends
 
[GE207] Session02: Digital Transformation
[GE207] Session02: Digital Transformation[GE207] Session02: Digital Transformation
[GE207] Session02: Digital Transformation
 
[Ge207] Digital Technology Outline
[Ge207] Digital Technology Outline[Ge207] Digital Technology Outline
[Ge207] Digital Technology Outline
 
[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology
[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology
[GE207] Session01: Introduction to Digital Technology
 
[GE207] Prototyping
[GE207] Prototyping[GE207] Prototyping
[GE207] Prototyping
 
MIS-CH15: Managing Global Systems
MIS-CH15: Managing Global SystemsMIS-CH15: Managing Global Systems
MIS-CH15: Managing Global Systems
 
MIS-CH14: Managing Projects
MIS-CH14: Managing ProjectsMIS-CH14: Managing Projects
MIS-CH14: Managing Projects
 
MIS-CH13: Building Information Systems
MIS-CH13: Building Information SystemsMIS-CH13: Building Information Systems
MIS-CH13: Building Information Systems
 
MIS-CH12: Enhancing Decision Making
MIS-CH12: Enhancing Decision MakingMIS-CH12: Enhancing Decision Making
MIS-CH12: Enhancing Decision Making
 
MIS-CH11: Managing Knowledge
MIS-CH11: Managing KnowledgeMIS-CH11: Managing Knowledge
MIS-CH11: Managing Knowledge
 
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital Goods
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital GoodsMIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital Goods
MIS-CH10: e-Commerce: Digital Markets, Digital Goods
 
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer Intimacy
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer IntimacyMIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer Intimacy
MIS-CH9: Achieving Operational Excellence and Customer Intimacy
 
MIS-CH08: Securing Information Systems
MIS-CH08: Securing Information SystemsMIS-CH08: Securing Information Systems
MIS-CH08: Securing Information Systems
 
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless TechnologyMIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology
MIS-CH07: Telecommunications, the Internet, and Wireless Technology
 
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & IS
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & ISMIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & IS
MIS-CH6: Foundation of BUsiness Intelligence: Databases & IS
 
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging Technologies
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging TechnologiesMIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging Technologies
MIS-CH05: IT Infrastructure and Emerging Technologies
 
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation Systems
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation SystemsMIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation Systems
MIS-CH04: Ethical and Social Issues in INformation Systems
 
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and Strategy
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and StrategyMIS-CH01: Information Systems, Organization, and Strategy
MIS-CH01: Information Systems, Organization, and Strategy
 
MIS-CH02: Global e-Business and Collaboration
MIS-CH02: Global e-Business and CollaborationMIS-CH02: Global e-Business and Collaboration
MIS-CH02: Global e-Business and Collaboration
 
MIS-CH01: IS in Business Today
MIS-CH01: IS in Business TodayMIS-CH01: IS in Business Today
MIS-CH01: IS in Business Today
 

TQF03_DigitalTechnology

  • 1. มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย คณะ/วิทยาลัย/ภาควิชา สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัล คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา GE207 เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) 2. จํานวนหนวยกิต จํานวนหนวยกิต (Number of Credits) 3 บรรยาย/คาบ/สัปดาห (Lecture/period/week) 3 ปฏิบัติการ/คาบ/สัปดาห (Lab/period/week) - 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรปริญญาตรี หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. อาจารยผูรับผิดชอบ อาจารยผูสอนและกลุมเรียน (Section) อาจารยสุกัญญา เบญจวนิช (sukanya_ben@utcc.ac.th) 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน ภาคปลาย ปการศึกษา 2561 ชั้นปที่ 1 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (pre-requisite) (ถามี) ไมมี 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (co-requisites) (ถามี) ไมมี 8. สถานที่เรียน หองเรียน 71005 มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ดินแดง กรุงเทพฯ 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด 1 ธันวาคม 2561
  • 2. 2 มคอ.3 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา - เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูและพัฒนาทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลในศตวรรษที่ 21 - เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล และผลกระทบที่มีตอรูปแบบการดําเนินชีวิต ปจจุบัน - เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และสิทธิมนุษยชนในยุคดิจิทัลปจจุบัน - เพื่อใหนักศึกษามีความเขาใจเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอมในยุคดิจิทัล - เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําแนวคิดดิจิทัลไปประยุกตใชได 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อใหนักศึกษาเรียนรูตามคําอธิบายรายวิชา หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ความกาวหนาของเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ความหลากหลายของเทคโนโลยี ผลกระทบที่มีตอรูปแบบการดําเนินชีวิต ในยุคดิจิทัล การประกอบธุรกิจ เศรษฐกิจ และสภาพแวดลอม รวมถึงคุณธรรม จริยธรรม และสิทธิมนุษยชน ตลอดจน การปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบในยุคดิจิทัล 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝกงาน การศึกษาดวยตนเอง 45 คาบ/ภาคการศึกษา ไมมี 90 คาบ/ภาคการศึกษา 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล 3 คาบ/สัปดาห
  • 3. 3 มคอ.3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษา 1. การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา พัฒนาผูเรียนใหมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของขอมูลสวนบุคคล การไม ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟตแวร และไมละเมิดลิขสิทธิ์ทางปญญา มีความซื่อสัตยในการเขียนโปรแกรมและพัฒนา ระบบงานอยางมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ • ตระหนักในคุณคาและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม • มีภาวะความเปนผูนําและผูตาม สามารถทํางานเปนทีมและสามารถแกไขขอขัดแยง และลําดับความสาคัญ • เคารพสิทธิและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น รวมทั้งเคารพในคุณคา และศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย • เคารพกฎระเบียบและขอบังคับตางๆ ขององคกรและสังคม • มีจิตสํานึกที่ดีตอสังคม • มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 วิธีการสอน • มอบหมายงานใหรับผิดชอบ โดยมีกําหนดการสงงานที่แนนอน • มีการกําหนดกฎระเบียบและขอบังคับในชั้นเรียน เชน การตรงตอเวลา การแตงกาย 1.3 วิธีการประเมินผล • ประเมินจากพฤติกรรมการเขาเรียน และสงงานที่ไดรับมอบหมายตามขอบเขตที่ให การตรงตอเวลา และ การแตงกาย • ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษา มีการรับฟงความคิดเห็น และมีความชวยเหลือกันระหวางการทํางานที่ ไดรับมอบหมายรวมกัน • ประเมินจากชิ้นงานที่รับผิดชอบ ไมมีการคัดลอกงาน 2. ความรู 2.1 ความรูที่จะไดรับ เพื่อใหนักศึกษาเขาใจองคความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม 2.2 วิธีการสอน • การสอนที่เนนผูเรียนเปนสาคัญ โดยการบรรยาย อภิปราย การทางานกลุม การนาเสนอผลงาน การ วิเคราะหกรณีศึกษา พรอมนําเสนอและชี้ถึงปญหาพรอมวิธีการแกไข • การมอบหมายงาน โดยประยุกตการสอนแบบ Problem based learning และ Student Center ที่เนน ผูเรียนเปนศูนยกลาง • การสอนแบบ Case Study ใหนักศึกษาเห็นถึงเทคโนโลยีดิจิทัลปจจุบัน
  • 4. 4 มคอ.3 • การสอนแบบศึกษาดวยตนเอง การคนควาทางอินเตอรเน็ต โดยเนนใหนักศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติม 2.3 วิธีการประเมินผล • วิเคราะหกรณีศึกษา • โครงงานเมื่อจบภาคการศึกษา • การวัดผล คะแนนในชั้นเรียน 100 % - การเขาเรียน 5 % - การมีสวนรวม 10 % - ภาคปฏิบัติ (กลุม) 60 % - โครงงาน (กลุม) 25 % คะแนนสอบกลางภาค - % คะแนนสอบปลายภาค - % 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา พัฒนาความสามารถในการคิดอยางมีการคิดเปนระบบ มีการวิเคราะห เพื่อการปองกันและแกไข ปญหาที่ เกิดขึ้นจากการใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรค 3.2 วิธีการสอน • การมอบหมายงานใหนักศึกษาและนําเสนอผลงาน • วิเคราะหและออกแบบงานที่ไดรับมอบหมาย • การสะทอนแนวคิดจากความประพฤติ 3.3 วิธีการประเมินผล เนนการวิเคราะหปญหา ใหนักศึกษาแสดงความคิด อภิปรายในหองเรียน และนําเสนอผลงาน 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองการพัฒนา • พัฒนาทักษะในการสรางสัมพันธภาพระหวางผูเรียนดวยกัน • พัฒนาความเปนผูนําและผูตามในการทํางานเปนทีม • พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใหครบถวนตามกําหนดเวลา • ทักษะในการรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 4.2 กลยุทธการสอนที่จะใชในการพัฒนาทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ • จัดกิจกรรมกลุมในการวิเคราะหและออกแบบโครงงาน
  • 5. 5 มคอ.3 • มอบหมายงานรายกลุม และรายบุคคล • การนําเสนอผลงาน 4.3 วิธีการวัดและประเมินทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ • ผลงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเปนทีม 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา • ทักษะการคิดออกแบบ • พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟง และนําเสนอในชั้นเรียน • พัฒนาทักษะในการวิเคราะหขอมูลจากกรณีศึกษา • พัฒนาทักษะในการสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต • ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน การสืบคนขอมูลผานอินเทอรเน็ต การสื่อสารผาน Social Media ตางๆ การใชแอปพลิเคชั่น • ทักษะในการนําเสนอผลงานโดยใชรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน • มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซต และสื่อการสอน iTuneU • นําเสนอโครงงานโดยใชรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3 วิธีการประเมินผล • การนําเสนอโครงงานดวยสื่อเทคโนโลยี วิธีการสอน (Teaching Approach) และการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (Student – Centered Approach)  การบรรยาย (Lecture)  การเรียนรูโดยใชหัวขอปญหา (Problem-based Learning)  การฝกปฏิบัติ (Practice)  การเรียนรูโดยกิจกรรมโครงงาน (Project-based-Learning)  การอภิปราย (Discussion)  การเรียนรูโดยกิจกรรมการวิจัย (Research-based-Learning)  การสัมมนา (Seminar)  การเรียนรูผานเครือขายอินเทอรเน็ต (Online Learning/Internet-based-Learning)  การเรียนการสอนแบบ Hybrid Learning System  การเรียนรูเปนรายบุคคล (Individual Study)  การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง (Self-study)  กรณีศึกษา (Case Study)
  • 6. 6 มคอ.3  การเรียนรูจากการทํางาน (Work Integrated Learning) โดยมีรูปแบบ ดังนี้  การกําหนดประสบการณกอนการศึกษา (Pre-course Experience)  การเรียนสลับกับการทํางาน (Sandwich Course)  สหกิจศึกษา (Cooperative Education)  การฝกงานที่เนนการเรียนรูหรือการติดตามพฤติกรรมการทํางาน (Cognitive Apprenticeship or Job Shadowing)  หลักสูตรรวมมหาวิทยาลัยและอุตสาหกรรม (Joint Industry University Course)  พนักงานฝกหัดใหมหรือพนักงานฝกงาน (New Traineeship or Apprenticeship)  การบรรจุใหทํางาน หรือการฝกเฉพาะตําแหนง (Placement or Practicum)  ปฏิบัติงานภาคสนาม (Fieldwork)  การฝกปฏิบัติจริงภายหลังสําเร็จการเรียนทฤษฎี (Post course Internship)  อื่น ๆ (Others) (Please specify) ..................................... หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห ที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการ เรียน การสอน สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน 1 (13 ม.ค. 62) Course Introduction Prototyping 3-0 บรรยาย iTuneU Keynote Powerpoint Youtube SurveyMonkey GoogleForms อ.สุกัญญาฯ 2 (20 ม.ค. 62) Module 1: Digital Technology Concept •Session 1: Introduction to Digital Technology •Session 2: Digital Transformation 6-0 บรรยาย กรณีศึกษา วิเคราะหปญหา 3 (27 ม.ค. 62) 4 (3 ก.พ. 62 Module 2: Digital Essential Knowledge •Session 3: Digital Technology Trends 6-0 5 (10 ก.พ. 62) 6 (17 ก.พ. 62) Module 3: Digital Technology Phases 6-0 บรรยาย กรณีศึกษา
  • 7. 7 มคอ.3 สัปดาห ที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการ เรียน การสอน สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน 7 (24 ก.พ. 62) •Session 4: Digital Technology in Finance •Workshop #1 (10%) วิเคราะหปญหา ฝกใชแอปพลิเคชั่น นําเสนอผลงาน 8 สอบกลางภาค (25 ก.พ. – 2 มี.ค. 62) ***ไมมีจัดสอบ 9 (10 มี.ค. 62) •Session 5: Digital Technology in Retail Business •Workshop #2 (10%) 3-0 บรรยาย กรณีศึกษา วิเคราะหปญหา ฝกใชแอปพลิเคชั่น นําเสนอผลงาน iTuneU Keynote Powerpoint Youtube SurveyMonkey GoogleForms อ.สุกัญญาฯ 10 (17 มี.ค. 62) •Session 6: Digital Technology in Insurance •Workshop #3 (10%) 3-0 11 (24 มี.ค. 62) •Session 7: Digital Technology in Education •Workshop #4 (10%) 3-0 12 (31 มี.ค. 62) •Session 8: Digital Technology in Health Care •Workshop #5 (10%) 3-0 13 (7 เม.ย. 62) •Session 9: Digital Technology in Agriculture •Workshop #6 (10%) 3-0 14 (14 เม.ย. 62) •Session 10: Digital Technology in the Future 3-0 บรรยาย 15 (21 เม.ย. 62) Project Presentation (25%) 6-0 อ.สุกัญญาฯ 16 (28 เม.ย. 62) 17 สอบปลายภาค (29 เม.ย. – 10 พ.ค. 62) ***ไมมีจัดสอบ
  • 8. 8 มคอ.3 2. แผนการประเมินผล กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู* วิธีการประเมิน กําหนดเวลาการ ประเมิน (สัปดาหที่) สัดสวนของการ ประเมินผล 1 ความรูและทักษะ (Knowledge and Skills) - ผลงานยอย (Sub Project) - โครงงานใหญ (Final Project) ตลอดภาค การศึกษา รอยละ 60 รอยละ 25 2 การทํางานหรือ กิจกรรมการเรียนการ สอน (Assignments/Teac hing-Learning Activities) - การเขาชั้นเรียน (Attending) - การมีสวนรวม (Participation) ตลอดภาค การศึกษา รอยละ 5 รอยละ 10 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตําราและเอกสารหลัก GE207 เทคโนโลยีดิจิทัล (iTuneU / e-Classroom) 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา อางอิงจากอินเตอรเน็ตซึ่งแลวแตเนื้อหาและความสอดคลองกับเนื้อหา หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ใหนักศึกษาทุกคนทําการประเมินการสอนของอาจารยผานเระบบการประเมินอาจารยออนไลนของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา 2. กลยุทธการประเมินการสอน ประเมินจากผลงานที่ไดรับมอบหมายของนักศึกษา 3. การปรับปรุงการสอน หากพบปญหาในการเรียนรูในรายวิชาใดจะนําปญหาดังกลาวเขาในที่ประชุมสาขาฯ เพื่อประชุมหารือปญหาการ เรียนรูของนักศึกษาและรวมกันหาแนวทางแกไข 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ทบสอบจากคะแนนงานในชั้นเรียน
  • 9. 9 มคอ.3 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อาจารยผูสอนรวบรวมผลการประเมินการสอน คะแนนผลงาน พฤติกรรมของนักศึกษา เขาที่ประชุมในกลุมผูรวม สอน เพื่อวิเคราะหปญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธการสอนที่ใช หากมีการเปลี่ยนแปลงการดาเนินการจะ นําเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาตอไป