SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุข
              ในชุมชน
ปัญหา = (ความคาดหวัง - ความจริง) * ความตระหนัก
เครื่องชี้วัด (Indicator)
เครื่องชี้วัด (Indicator)
•   ตัวแปรหรือกลุ่มของตัวแปรต่างๆ ที่กําหนดขึ้นเพื่อใช้วัดความเปลี่ยนแปลงหรือ
    ใช้วัดสภาวะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งวัดออกมาเป็นปริมาณเปรียบเทียบกับเกณฑ์
    หรือมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ทราบขนาดและความรุนแรงของปัญหา
    หรือสถานภาพที่ต้องการวัด
•   สามารถใช้วัดความสําเร็จหรือผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นเครื่องมือที่ช่วยใน
    การระบุปัญหา การวางแผน และการประเมินผลการพัฒนา
•   ใช้ประเมินวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ว่าบรรลุความสําเร็จมากน้อยเพียง
    ใด
เกณฑ์ (Criteria)
เกณฑ์ (Criteria)
•   ระดับที่ถือว่าเป็นความสําเร็จของการดําเนินงานเป็นสิ่งที่กําหนดขึ้นมา เพื่อใช้ใน
    การตัดสินคุณภาพของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ที่มีลักษณะเป้นที่ยอมรับว่ามีความเป็น
    มาตรฐานหรือเหมาะสมตามสภาพหรือคุณลักษณะของสิ่งเหล่านั้นหรือไม่
มาตรฐาน (Standard)
มาตรฐาน (Standard)
•   ระดับการดําเนินงานที่ใช้วัดความสําเร็จอันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
    •   มาตรฐานสมบูรณ์ (Absolute standard) เป็นมาตรฐานที่ได้จากทฤษฎี การวิจัย
        และหลักการต่างๆ
    •   มาตรฐานสัมพัทธ์ (Relative standard) เป็นมาตรฐานที่ได้จากการเปรียบเทียบ
        กับผลงานในกลุ่มต่างๆ
คุณลักษณะที่สําคัญของเครื่องชี้วัด
คุณลักษณะที่สําคัญของเครื่องชี้วัด
•   ความถูกต้อง (Validity) สามารถวัดในส่ิงที่ต้องการวัดได้
•   มีจุดมุ่งหมาย (Objectivity) เป็นไปได้ตามจุดมุ่งหมาย
•   ความเชื่อมั่น(Reliability)มีความเชื่อถือได้ นําไปวัดกับใครที่ไหนเมื่อใดโดยใครวัดก็ตามจะให้ผลเหมือนกัน
•   ความไว (Sensitivity) มีความไวต่อการวัดการเปลี่ยนแปลงหรือปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น
•   ความจําเพาะ (Specificity) มีความเฉพาะเจาะจง ใช้วัดสิ่งที่จะวัดได้
•   ความเป็นสากล (Universal) เป็นสากลทั่วไป
•   การหามาได้ (Availability) ข้อมูลที่นํามาสร้างตัวชี้วัดควรหามาได้ง่าย ไม่มีวิธีการยุ่งยาก
•   การยอมรับ (Acceptability) เป็นที่ยอมรับใช้กันทั่วไป
•   คํานวณง่าย (Calculation)
•   ประหยัด (Low cost)
•   ความสมบูรณ์ของการครอบคลุม (Completeness of coverage) มีความครอบคลุมถึงประชากรทั้งหมด
•   ความคงที่ (Stability) ตั้งชี้วัดต้องไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาหรือสถานที่
Validity VS Reliability
Validity VS Reliability
ประโยชน์ของเครื่องชี้วัด
ประโยชน์ของเครื่องชี้วัด
•   เป็นเครื่องมือที่ใช้บ่งบอกสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน
•   ได้ข้อมูลเพื่อใช้วางแผนพัฒนาสาธารณสุข ทั้งการกําหนดนโยบาย การกําหนดเป้า
    หมาย วัตถุประสงค์ กิจกรรมการดําเนินงานแก้ไขปัญหาสาธารณสุข และประเมิน
    ผลการดําเนินงาน
•   เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการจัดบริการสาธารณสุขและโครงการต่างๆ
•   วัดความก้าวหน้า วัดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล รวมทั้งผลกระทบ (Impact) ของ
    การพัฒนา
•   เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัย และการศึกษาทางวิทยาการระบาด
ประเภทของเครื่องชี้วัด
ประเภทของเครื่องชี้วัด

       Input indicator
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance
                               indicator
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                               indicator                  ดําเนินการ
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                               indicator                  ดําเนินการ




                                Output
                               indicator
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                               indicator                  ดําเนินการ


                                                      วัดเมื่อโครงการ
                                                    กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
                                                 ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                Output             โดยเปรียบเทียบกับ
                               indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
                                                    และการครอบคลุม
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                               indicator                  ดําเนินการ


                                                      วัดเมื่อโครงการ
                                                    กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
                                                 ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                Output             โดยเปรียบเทียบกับ
                               indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
                                                    และการครอบคลุม
         Outcome
         indicator
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                         วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                 โครงการ
       Input indicator


                             Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                               indicator                  ดําเนินการ


                                                      วัดเมื่อโครงการ
                                                    กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
                                                 ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                Output             โดยเปรียบเทียบกับ
                               indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
                                                    และการครอบคลุม
         Outcome
         indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                          กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                          ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                  วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                          โครงการ
                Input indicator


                                      Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                                        indicator                  ดําเนินการ


                                                               วัดเมื่อโครงการ
                                                             กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
                                                          ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                         Output             โดยเปรียบเทียบกับ
Effectiveness
                                        indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
                                                             และการครอบคลุม
                  Outcome
                  indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                                   กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                                   ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                                        วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                                                โครงการ
                                      Input indicator


                                                            Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                                                              indicator                  ดําเนินการ


                                                                                     วัดเมื่อโครงการ
                                                                                   กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
   วัดผลผลิตตาม                                                                 ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                                               Output             โดยเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์และเป้า   Effectiveness
                                                              indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
   หมายที่ต้องการ
                                                                                   และการครอบคลุม
                                        Outcome
                                        indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                                                         กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                                                         ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                                        วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                                                โครงการ
                                      Input indicator


                                                            Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
                       Efficiency
                                                              indicator                  ดําเนินการ


                                                                                     วัดเมื่อโครงการ
                                                                                   กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
   วัดผลผลิตตาม                                                                 ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                                               Output             โดยเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์และเป้า   Effectiveness
                                                              indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
   หมายที่ต้องการ
                                                                                   และการครอบคลุม
                                        Outcome
                                        indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                                                         กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                                                         ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                                          วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                                                  โครงการ
                                        Input indicator
 วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น
เทียบกับทรัพยากรที่                                           Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
      ลงทุนไป            Efficiency
                                                                indicator                  ดําเนินการ


                                                                                       วัดเมื่อโครงการ
                                                                                     กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
   วัดผลผลิตตาม                                                                   ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                                                 Output             โดยเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์และเป้า     Effectiveness
                                                                indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
   หมายที่ต้องการ
                                                                                     และการครอบคลุม
                                          Outcome
                                          indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                                                           กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                                                           ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                                          วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                                                  โครงการ
                                        Input indicator
 วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น
เทียบกับทรัพยากรที่                                           Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
      ลงทุนไป            Efficiency
                                                                indicator                  ดําเนินการ


                                            Impact                                     วัดเมื่อโครงการ
                                                                                     กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
   วัดผลผลิตตาม                                                                   ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                                                 Output             โดยเปรียบเทียบกับ
วัตถุประสงค์และเป้า     Effectiveness
                                                                indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
   หมายที่ต้องการ
                                                                                     และการครอบคลุม
                                          Outcome
                                          indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
                                                           กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
                                                           ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
ประเภทของเครื่องชี้วัด
                                                                   วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน
                                                                           โครงการ
                                                 Input indicator
     วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น
    เทียบกับทรัพยากรที่                                                Performance             วัดจํานวนกิจกรรมที่
          ลงทุนไป                  Efficiency
                                                                         indicator                  ดําเนินการ


                                                     Impact                                     วัดเมื่อโครงการ
                                                                                              กิจกรรมต่างๆ ที่ได้
       วัดผลผลิตตาม                                                                        ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว
                                                                          Output             โดยเปรียบเทียบกับ
    วัตถุประสงค์และเป้า          Effectiveness
                                                                         indicator         วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
       หมายที่ต้องการ
                                                                                              และการครอบคลุม
                                                   Outcome
   วัดนโยบาย แผนงาน และโครงการที่จัดขึ้น           indicator       ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ
นั้นได้แก้ปัญหาสาธารณสุขและปัญหาสุขภาพ                              กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ
     ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ เพียงใด                       ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (Basic minimum need)
เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (Basic minimum need)
ความหมาย
   “ความต้องการขั้นพื้นฐานที่จําเป็นแก่การดํารงชีพพื้นฐานของบุคคล หรือความจําเป็นพื้นฐาน
   ของบุคคล หรือความจําเป็นพื้นฐานของชุมชนเพื่อที่จะใช้เป็นเกณฑ์ให้ตรวจสอบได้ว่าชุมชน
   หนึ่งๆ ยังขาดแคลนในเรื่องใดบ้าง และขาดแคลนขนาดไหน”
ค่าของเครื่องชี้วัด
อัตรา (Rate)
อัตรา (Rate)
•   ค่าเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขสองจํานวน โดยตัวเลขเศษ (Numerator) เป็นส่วน
    หนึ่งของตัวเลขส่วน (Denominator) เสมอ อาจคูณด้วยค่าคงที่ (K) ซึ่งเป็น 10,
    100, 1000 ทําให้อัตรามีค่ามากกว่า 1
•   Rate = a / (a+b) *K
•   ตัวอย่าง
    •   อัตราการติดเชื้อ HIV ในปี 2554 ของกรุงเทพมหานคร
    •   อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2554 ในจังหวัดสงขลา
อัตราส่วน (Ratio)
อัตราส่วน (Ratio)
•   การเปรียบเทียบค่าตัวเลขของจํานวนหนึ่งกับอีกจํานวนหนึ่งซึ่งตัวเศษ
    (Numerator) ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตัวส่วน (Denominator)
•   ตัวอย่าง
    •   อัตราส่วนทันตแพทย์ต่อประชากรในจังหวัดที่รับผิดชอบ
    •   อัตราส่วน อสม. ต่อจํานวนครัวเรือน
สัดส่วน (Proportion)
สัดส่วน (Proportion)
•   ค่าเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขเศษซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตัวเลขส่วนซึ่งมักจะเป็นค่า
    ของผลรวม และมักนิยมใช้ 100 เป็นค่าคงที่ในการคูณ เพื่อแสดงผลเป็นค่าร้อยละ
•   ตัวอย่าง
    •   สัดส่วนคนที่ตายด้วยอุบัติเหตุ
    •   สัดส่วนคนที่ตายด้วยโรคมะเร็ง
สัดส่วนต่างจากอัตราที่ตัวหารของอัตราเป็น
    จํานวนประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวหารของ
 สัดส่วนเป็นจํานวนเหตุการณ์ทั้งหมด ข้อจํากัด
 ของการนําสัดส่วนมาใช้เนื่องจากสัดส่วนไม่ได้
คํานวณจากประชากรที่มีความเสี่ยงทั้งหมด และ
เมื่อตัวหารมีค่าน้อยจะทําให้การแปลผลมีค่าที่ไม่
                    เหมาะสม
ร้อยละ (Percentage)
ร้อยละ (Percentage)
•   จํานวนของเลขกลุ่มหนึ่ง ซึ่งนํามาเปรียบเทียบกับเลขอีกกลุ่มหนึ่ง โดยปรับให้กลุ่ม
    หลังมีค่าเท่ากับร้อย
•   ตัวอย่าง
    •   ร้อยละของครัวเรือนที่มีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
    •   ร้อยละของเด็กอายุต่ํากว่า 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนครบถ้วน
ค่าเฉลี่ย (Mean)
ค่าเฉลี่ย (Mean)
•   ตัวเลขหนึ่งซึ่งเฉลี่ยจากกลุ่มตัวเลขจํานวนหนึ่งที่เป็นประเภทเดียวกัน โดยได้มา
    จากการรวมค่าของจํานวนตัวเลขกลุ่มตัวอย่างหนึ่ง แล้วหารด้วยจํานวนตัวอย่าง
    นั้นทั้งหมดรวมกัน
•   ตัวอย่าง
    •   ค่าเฉลี่ยฟันผุ อุด ถอน (DMF) ของเด็กอายุ 12 ปี
เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุข
เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุข
•   เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน
•   การมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (Basic minimum need)
•   ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) หมายถึง ระดับความต้องการขั้นพื้นฐานที่จําเป็นแก่
    การดํารงชีวิต ซึ่งบุคคลแต่ละบุคคลในสังคมพึงจะบรรลุในช่วงเวลาหนึ่งๆ
•   ข้อมูลจําเป็นพื้นฐาน หมายถึง ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงความจําเป็นของ
    คนในครัวเรือนด้านต่างๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กําหนดมาตรฐานขั้นต่ําเอาไว้
    ว่าคนควรมีคุณภาพชีวิตในเรื่องนั้นๆ อย่างไร เพื่อให้มีชีวิตที่ดีและสามารถดํารงชีิ
    วิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
หลักการของ จปฐ.
•   ใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานเป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของ
    ประชาชนในหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง
    ครอบครัว และชุมชนว่าบรรลุตามเกณฑ์หรือไม่
•   ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
•   ใช้เป็นข้อมูลในการเลือกโครงการให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน
ความจําเป็นพื้นฐาน

                                                 เกณฑ์
         แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ลําดับ
               แห่งชาติฉบับที่      จํานวนหมวด           จํานวนตัวชี้วัด

  1         5 ( พ.ศ.2525 - 2529)        8                      32

  2         6 (พ.ศ. 2530 - 2534)        8                      32

  3         7 (พ.ศ. 2535 - 2539)        9                      37

  4         8 (พ.ศ. 2540 - 2544)        8                      39

  5         9 (พ.ศ. 2545 - 2549)        6                      37
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                       เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                         ตัวชี้วัด
                                                               (2544)                       (2549)
                   หมวดที่ 1 สุขภาพดี
1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์
                                                                  80                           100
บริการและฉีดวัคซีนตามกําหนด
2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการทําคลอดและการดูแลหลังคลอด
                                                                  95                           100
จากแพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์
3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการกินอาหารอย่างเหมาะสมและ
                                                                  93                           100
เพียงพอ ทําให้ทารกแรกเกิดมี นน ไม่ต่ํากว่า 2500 กรัม
4. เด็กอายุต่ํากว่า 1 ปีได้รับการฉีดวัคซีนครบ                     95                           100
5. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือน
                                                                  30                           90
แรกติดต่อกัน
6. ทารกแรกเกิดถึง 5 ปีได้กินอาหารอย่างเหมาะสมและ
เพียงพอตามวัย ซึ่งมีผลทําให้มีการเจริญเติบโตตาม                   80                           100
เกณฑ์มาตรฐาน
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                         เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                       ตัวชี้วัด
                                                                 (2544)                       (2549)
ึ7. เด็กอายุ 6-15 ปีได้กินอาหารถูกต้องครบถ้วนตามความ
ต้องการของร่างกาย ซึ่งทําให้มีการเจริญเติบโตตาม                     90                           100
เกณฑ์มาตรฐาน
8. เด็กวัย 6-12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค วัณโรค
คอตีบ บาดทะยัก โปลิโอ และวัคซีนรวม (หัด หัดเยอรมัน                 100                           100
คางทูม) และไข้สมองอักเสบครบ
9. ครัวเรือนได้กินอาหารมีคุณภาพได้มาตรฐาน                           90                           90

10. ครัวเรือนมีความรู้ในการใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสม                   60                           100

11. คนอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี                         0                           30
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                         เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                         ตัวชี้วัด
                                                                 (2544)                       (2549)
                            หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (ประชาชนมีที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อม
12.ครัวเรือนมีที่อยู่อาศัยที่มีสภาพคงทนถาวร สามารถอยู่
                                                                    95                           100
ต่อไปได้อีกอย่างน้อย 5 ปี
13.ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอ
                                                                    95                           95
ตลอดปี (5 ลิตร ต่อคน ต่อวัน)
14.ครัวเรือนมีน้ําใช้เพียงพอตลอดปี                                   0                           95
15.ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนและบริเวณบ้านให้เป็น
                                                                    60                           95
ระเบียบถูกสุขลักษณะ
16.ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากเสียง ความสั่นสะเทือน ฝุ่น
ละออง กลิ่นเหม็นหรือมลพิษทางอากาศ น้ําเสีย และสาร                   95                           100
พิษ
17.ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี                        0                           100
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                       ตัวชี้วัด
                                                        (2544)                       (2549)
18. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน               0                           100

19.ครัวเรือนมีความอบอุ่น                                    0                           100
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                         เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8    เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                        ตัวชี้วัด
                                                                 (2544)                        (2549)
             หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (ประชาชนเข้าถึงบริการสังคมข้ันพื้นฐานที่จําเป็นแก่การดํารงชีิวิต)

20.เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการเตรียมความพร้อม                          90                            100

21.เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี                    100                            100

22.เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อมัธยมปลาย                         50                             50

23.เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้ฝึกอบรมด้านอาชีพ                          80                             80

24.คนอายุ 15-60 ปี อ่านและเขียนภาษาไทยได้                            99                            100
25.ครัวเรือนได้รับข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างน้อย
                                                                     95                            100
สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                      เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                       ตัวชี้วัด
                                                              (2544)                       (2549)

                                           หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า

26.คนอายุ 18-60 ปี มีอาชีพและรายได้                              90                           100
27.ครัวเรือนมีการประกอบอาชีพ และมีรายได้เฉลี่ยไม่
                                                                 100                          100
น้อยกว่า 200,000 บาทต่อปี
28.ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน                                     50                           50
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                    เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                        ตัวชี้วัด
                                                            (2544)                       (2549)
                                        หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย

29.คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา                                      90                          100

30.คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่                                    90                          50

31.คนตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป ประกอบกิจกรรมศาสนา                      90                          100

32.คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่                               90                          100

33.คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่                                 90                          100
เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9
                                                         เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8   เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9
                          ตัวชี้วัด
                                                                 (2544)                       (2549)
    หมวดที่ 6 อยากร่วมพัฒนา (ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่และกําหนดชีวิตของตนเองและชุมชน

34.ครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน ตําบล              90                           90

35.ครัวเรือนมีการร่วมแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะ                       0                           30

36.ครัวเรือนเข้าร่วมทํากิจกรรมสาธารณะหมู่บ้าน                       90                           100

37.คนมีสิทธิ์ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง                                    90                           100
สรุปผล จปฐ. ปี 2553
•   จํานวนครัวเรือนทั้งหมดที่สํารวจ 8,337,476 ครัวเรือน 70,665 หมู่บ้าน 6,814 ตําบล
    876 อําเภอ 75 จังหวัด ประชากร 30,802,587 คน
•   ตัวชี้วัด 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด
    •   บรรลุเป้าหมาย 20 ตัวชี้วัด
    •   ไม่บรรลุเป้าหมาย 22 ตัวชี้วัด
สรุปผล จปฐ. ปี 2553
                   ตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุ                     จํานวนที่ผ่านเกณฑ์   ร้อยละ   ต่ํากว่าเป้าหมาย

คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะ                        8,223,083        98.63         1.37

ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ                                    8,239,334        98.82         1.18

คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมศาสนา                           8,259,147        99.06         0.94

ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน                       8,272,322        99.22         0.78

ทุกคนในครัวเรือนมีความรู้ในการใช้ยาที่เหมาะสม                   8,275,107        99.25         0.75

คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา                                        30,620,345        99.41         0.59

คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้      20,864,705        99.43         0.57

เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้ฝึกอบรมอาชีพ                             10,461          79.67         0.33

เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม่ต่ํากว่า 2,500 กรัม                      321,647         99.71         0.29

เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี                   4,549,631        99.74         0.26
สรุปผล จปฐ. ปี 2553

        ภาค                   จํานวนตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุ

      ภาคกลาง                            21


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ                    21


      ภาคเหนือ                           22


       ภาคใต้                            23
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
                                    หมู่บ้าน HFA
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
                                    หมู่บ้าน HFA


                                    ตําบล HFA
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
                                    หมู่บ้าน HFA


                                    ตําบล HFA


                                    อําเภอ HFA
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
                                    หมู่บ้าน HFA


                                    ตําบล HFA


                                    อําเภอ HFA


                                    จังหวัด HFA
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
                                    หมู่บ้าน HFA


                                    ตําบล HFA


                                    อําเภอ HFA


                                    จังหวัด HFA


                                    ประเทศ HFA
“….เมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ดีพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ
 แล้ว ย่อมมีกําลังทําประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจ
          และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่…..”

      พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ
                                   มหาวิทยาลัยมหิดล
                              เมื่อ 22 ตุลาคม 2522
Quality of Life (QoL)
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
     •   การโภชนาการ
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
     •   การโภชนาการ
     •   การวางแผนครอบครัว
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
     •   การโภชนาการ
     •   การวางแผนครอบครัว
     •   การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
     •   การโภชนาการ
     •   การวางแผนครอบครัว
     •   การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม
Quality of Life (QoL)
•   การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
     •   งานสาธารณสุขมูลฐาน
     •   งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
     •   งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ
         อันตรายจากสารเคมี
     •   การโภชนาการ
     •   การวางแผนครอบครัว
     •   การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม


                                                   (ทวีวัฒน์ นิยมเสน. 2532 : 71)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
  รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
  รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
  รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
• ความยากจนลดลง (Less Poverty)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
  รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
• ความยากจนลดลง (Less Poverty)
• สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
  รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
• ความยากจนลดลง (Less Poverty)
• สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment)
• ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
   รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
• ความยากจนลดลง (Less Poverty)
• สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment)
• ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity)
• เสรีภาพส่วนบุคคลมีมากขึ้น (Greater Individual Freedom)
องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต
   รายได้สูงขึ้น (Higher Income)
• การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
• มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety,
  Health and Nutrition)
• ความยากจนลดลง (Less Poverty)
• สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment)
• ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity)
• เสรีภาพส่วนบุคคลมีมากขึ้น (Greater Individual Freedom)
• วัฒนธรรมแห่งชีวิตมีหลากหลาย (Richer Cultural Life)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
         (จปฐ)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
         (จปฐ)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
                             การพึ่งพาตนเอง
         (จปฐ)
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
                                  การพึ่งพาตนเอง
         (จปฐ)


                                         3ก
                             •กําลังคน
                             •กรรมการ
                             •กองทุน

                                         1ข
                             •ข้อมูลข่าวสาร

                                          3ส
                             •สอนหมู่บ้านอื่น
                             •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง
                             •การส่งต่อผู้ป่วย
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
                                  การพึ่งพาตนเอง
         (จปฐ)


                                         3ก
                             •กําลังคน
                             •กรรมการ
                             •กองทุน

                                         1ข
                             •ข้อมูลข่าวสาร

                                          3ส
                             •สอนหมู่บ้านอื่น
                             •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง
                             •การส่งต่อผู้ป่วย
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
                                  การพึ่งพาตนเอง       การเข้าถึงบริการ
         (จปฐ)


                                         3ก
                             •กําลังคน
                             •กรรมการ
                             •กองทุน

                                         1ข
                             •ข้อมูลข่าวสาร

                                          3ส
                             •สอนหมู่บ้านอื่น
                             •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง
                             •การส่งต่อผู้ป่วย
เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA)

การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน
                                  การพึ่งพาตนเอง            การเข้าถึงบริการ
         (จปฐ)


                                         3ก            •หลักประกันการรักษา
                             •กําลังคน                 พยาบาลฟรีเท่ากับหรือ
                             •กรรมการ                  มากกว่าร้อยละ 70 ของ
                             •กองทุน                   ประชากรทั้งหมด


                                         1ข            •สถานพยาบาลพัฒนาเข้า
                             •ข้อมูลข่าวสาร            เกณฑ์มาตรฐาน พบส.


                                          3ส
                             •สอนหมู่บ้านอื่น
                             •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง
                             •การส่งต่อผู้ป่วย
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
          ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว
•การเคลื่อนย้าย
•อัตราการเพิ่ม
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
          ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว
•การเคลื่อนย้าย
•อัตราการเพิ่ม
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ
            ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม
•อาชีพ รายรับ รายจ่าย
•ศาสนา
•สถานะแรงงาน
•ระดับการศึกษา
•การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน
•ผู้นําท้องถิ่น
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
           ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว
•การเคลื่อนย้าย
•อัตราการเพิ่ม
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ
             ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม
•อาชีพ รายรับ รายจ่าย
•ศาสนา
•สถานะแรงงาน
•ระดับการศึกษา
•การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน
•ผู้นําท้องถิ่น
          ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย
•การเกิด การเจริญพันธ์
•การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ
•การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
           ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว                        ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
•การเคลื่อนย้าย                               •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้
•อัตราการเพิ่ม                                •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ     •การมีและใช้ส้วม
                                              •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค
             ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม
•อาชีพ รายรับ รายจ่าย
•ศาสนา
•สถานะแรงงาน
•ระดับการศึกษา
•การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน
•ผู้นําท้องถิ่น
          ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย
•การเกิด การเจริญพันธ์
•การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ
•การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
           ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว                        ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
•การเคลื่อนย้าย                               •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้
•อัตราการเพิ่ม                                •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ     •การมีและใช้ส้วม
                                              •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค
             ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม
•อาชีพ รายรับ รายจ่าย                                         ข้อมูลด้าน K-A-P
•ศาสนา                                        •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั่วไป
•สถานะแรงงาน                                  •แหล่งข้อมูลข่าวสาร
•ระดับการศึกษา                                •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยเฉพาะเรีื่อง
•การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน
•ผู้นําท้องถิ่น
          ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย
•การเกิด การเจริญพันธ์
•การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ
•การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ
           ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
•จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ
•ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว                        ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
•การเคลื่อนย้าย                               •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้
•อัตราการเพิ่ม                                •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
•ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ     •การมีและใช้ส้วม
                                              •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค
             ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม
•อาชีพ รายรับ รายจ่าย                                         ข้อมูลด้าน K-A-P
•ศาสนา                                        •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั่วไป
•สถานะแรงงาน                                  •แหล่งข้อมูลข่าวสาร
•ระดับการศึกษา                                •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยเฉพาะเรีื่อง
•การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน
•ผู้นําท้องถิ่น                                        ข้อมูลด้านบริการทางการแพทย์
                                              •สถานบริการด้านการแพทย์
          ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย         •การใช้บริการด้านการแพทย์
•การเกิด การเจริญพันธ์                        •เจตคติ ความนิยมของประชาชนต่อสถานบริการ
•การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ
•การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีPreeyapat Lengrabam
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติNU
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM Wichien Juthamongkol
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดsombat nirund
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 

What's hot (20)

วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
ลูกค้าสัมพันธ์ CRM
 
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ดประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
ประสิทธิภาพของน้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 

Viewers also liked

ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 
สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขTee Dent
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด0873130610
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (11)

ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคีจปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
จปฐ 2560-2564 ฉบับ นาคี
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 
สรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุขสรุปงานทันตสาธารณสุข
สรุปงานทันตสาธารณสุข
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2557
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 

More from Watcharin Chongkonsatit

More from Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน

  • 2. ปัญหา = (ความคาดหวัง - ความจริง) * ความตระหนัก
  • 4. เครื่องชี้วัด (Indicator) • ตัวแปรหรือกลุ่มของตัวแปรต่างๆ ที่กําหนดขึ้นเพื่อใช้วัดความเปลี่ยนแปลงหรือ ใช้วัดสภาวะอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งวัดออกมาเป็นปริมาณเปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือมาตรฐานอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้ทราบขนาดและความรุนแรงของปัญหา หรือสถานภาพที่ต้องการวัด • สามารถใช้วัดความสําเร็จหรือผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้น เป็นเครื่องมือที่ช่วยใน การระบุปัญหา การวางแผน และการประเมินผลการพัฒนา • ใช้ประเมินวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ตั้งไว้ว่าบรรลุความสําเร็จมากน้อยเพียง ใด
  • 6. เกณฑ์ (Criteria) • ระดับที่ถือว่าเป็นความสําเร็จของการดําเนินงานเป็นสิ่งที่กําหนดขึ้นมา เพื่อใช้ใน การตัดสินคุณภาพของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ที่มีลักษณะเป้นที่ยอมรับว่ามีความเป็น มาตรฐานหรือเหมาะสมตามสภาพหรือคุณลักษณะของสิ่งเหล่านั้นหรือไม่
  • 8. มาตรฐาน (Standard) • ระดับการดําเนินงานที่ใช้วัดความสําเร็จอันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป • มาตรฐานสมบูรณ์ (Absolute standard) เป็นมาตรฐานที่ได้จากทฤษฎี การวิจัย และหลักการต่างๆ • มาตรฐานสัมพัทธ์ (Relative standard) เป็นมาตรฐานที่ได้จากการเปรียบเทียบ กับผลงานในกลุ่มต่างๆ
  • 10. คุณลักษณะที่สําคัญของเครื่องชี้วัด • ความถูกต้อง (Validity) สามารถวัดในส่ิงที่ต้องการวัดได้ • มีจุดมุ่งหมาย (Objectivity) เป็นไปได้ตามจุดมุ่งหมาย • ความเชื่อมั่น(Reliability)มีความเชื่อถือได้ นําไปวัดกับใครที่ไหนเมื่อใดโดยใครวัดก็ตามจะให้ผลเหมือนกัน • ความไว (Sensitivity) มีความไวต่อการวัดการเปลี่ยนแปลงหรือปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น • ความจําเพาะ (Specificity) มีความเฉพาะเจาะจง ใช้วัดสิ่งที่จะวัดได้ • ความเป็นสากล (Universal) เป็นสากลทั่วไป • การหามาได้ (Availability) ข้อมูลที่นํามาสร้างตัวชี้วัดควรหามาได้ง่าย ไม่มีวิธีการยุ่งยาก • การยอมรับ (Acceptability) เป็นที่ยอมรับใช้กันทั่วไป • คํานวณง่าย (Calculation) • ประหยัด (Low cost) • ความสมบูรณ์ของการครอบคลุม (Completeness of coverage) มีความครอบคลุมถึงประชากรทั้งหมด • ความคงที่ (Stability) ตั้งชี้วัดต้องไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลาหรือสถานที่
  • 14. ประโยชน์ของเครื่องชี้วัด • เป็นเครื่องมือที่ใช้บ่งบอกสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน • ได้ข้อมูลเพื่อใช้วางแผนพัฒนาสาธารณสุข ทั้งการกําหนดนโยบาย การกําหนดเป้า หมาย วัตถุประสงค์ กิจกรรมการดําเนินงานแก้ไขปัญหาสาธารณสุข และประเมิน ผลการดําเนินงาน • เป็นเครื่องมือในการประเมินผลการจัดบริการสาธารณสุขและโครงการต่างๆ • วัดความก้าวหน้า วัดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล รวมทั้งผลกระทบ (Impact) ของ การพัฒนา • เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจัย และการศึกษาทางวิทยาการระบาด
  • 17. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator
  • 18. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance indicator
  • 19. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ
  • 20. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ Output indicator
  • 21. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการครอบคลุม
  • 22. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการครอบคลุม Outcome indicator
  • 23. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 24. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 25. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ วัดผลผลิตตาม ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์และเป้า Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายที่ต้องการ และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 26. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ Efficiency indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ วัดผลผลิตตาม ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์และเป้า Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายที่ต้องการ และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 27. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น เทียบกับทรัพยากรที่ Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ ลงทุนไป Efficiency indicator ดําเนินการ วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ วัดผลผลิตตาม ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์และเป้า Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายที่ต้องการ และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 28. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น เทียบกับทรัพยากรที่ Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ ลงทุนไป Efficiency indicator ดําเนินการ Impact วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ วัดผลผลิตตาม ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์และเป้า Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายที่ต้องการ และการครอบคลุม Outcome indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 29. ประเภทของเครื่องชี้วัด วัดเมื่อจะเริ่มต้นดําเนิน โครงการ Input indicator วัดผลผลิตที่เกิดขึ้น เทียบกับทรัพยากรที่ Performance วัดจํานวนกิจกรรมที่ ลงทุนไป Efficiency indicator ดําเนินการ Impact วัดเมื่อโครงการ กิจกรรมต่างๆ ที่ได้ วัดผลผลิตตาม ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว Output โดยเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์และเป้า Effectiveness indicator วัตถุประสงค์ เป้าหมาย หมายที่ต้องการ และการครอบคลุม Outcome วัดนโยบาย แผนงาน และโครงการที่จัดขึ้น indicator ใช้วัดผลสําเร็จเมื่อโครงการ/กิจกรรมสิ้นสุด โดยเทียบ นั้นได้แก้ปัญหาสาธารณสุขและปัญหาสุขภาพ กับจุดมุ่งหมาย ระยะเวลาการดําเนินโครงการ หรือ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ เพียงใด ผลกระทบด้านต่างๆ นอกเหนือจากที่ตั้งเป้าหมายไว้
  • 31. เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (Basic minimum need) ความหมาย “ความต้องการขั้นพื้นฐานที่จําเป็นแก่การดํารงชีพพื้นฐานของบุคคล หรือความจําเป็นพื้นฐาน ของบุคคล หรือความจําเป็นพื้นฐานของชุมชนเพื่อที่จะใช้เป็นเกณฑ์ให้ตรวจสอบได้ว่าชุมชน หนึ่งๆ ยังขาดแคลนในเรื่องใดบ้าง และขาดแคลนขนาดไหน”
  • 34. อัตรา (Rate) • ค่าเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขสองจํานวน โดยตัวเลขเศษ (Numerator) เป็นส่วน หนึ่งของตัวเลขส่วน (Denominator) เสมอ อาจคูณด้วยค่าคงที่ (K) ซึ่งเป็น 10, 100, 1000 ทําให้อัตรามีค่ามากกว่า 1 • Rate = a / (a+b) *K • ตัวอย่าง • อัตราการติดเชื้อ HIV ในปี 2554 ของกรุงเทพมหานคร • อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2554 ในจังหวัดสงขลา
  • 36. อัตราส่วน (Ratio) • การเปรียบเทียบค่าตัวเลขของจํานวนหนึ่งกับอีกจํานวนหนึ่งซึ่งตัวเศษ (Numerator) ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของตัวส่วน (Denominator) • ตัวอย่าง • อัตราส่วนทันตแพทย์ต่อประชากรในจังหวัดที่รับผิดชอบ • อัตราส่วน อสม. ต่อจํานวนครัวเรือน
  • 38. สัดส่วน (Proportion) • ค่าเปรียบเทียบระหว่างตัวเลขเศษซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของตัวเลขส่วนซึ่งมักจะเป็นค่า ของผลรวม และมักนิยมใช้ 100 เป็นค่าคงที่ในการคูณ เพื่อแสดงผลเป็นค่าร้อยละ • ตัวอย่าง • สัดส่วนคนที่ตายด้วยอุบัติเหตุ • สัดส่วนคนที่ตายด้วยโรคมะเร็ง
  • 39. สัดส่วนต่างจากอัตราที่ตัวหารของอัตราเป็น จํานวนประชากรทั้งหมด ขณะที่ตัวหารของ สัดส่วนเป็นจํานวนเหตุการณ์ทั้งหมด ข้อจํากัด ของการนําสัดส่วนมาใช้เนื่องจากสัดส่วนไม่ได้ คํานวณจากประชากรที่มีความเสี่ยงทั้งหมด และ เมื่อตัวหารมีค่าน้อยจะทําให้การแปลผลมีค่าที่ไม่ เหมาะสม
  • 41. ร้อยละ (Percentage) • จํานวนของเลขกลุ่มหนึ่ง ซึ่งนํามาเปรียบเทียบกับเลขอีกกลุ่มหนึ่ง โดยปรับให้กลุ่ม หลังมีค่าเท่ากับร้อย • ตัวอย่าง • ร้อยละของครัวเรือนที่มีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ • ร้อยละของเด็กอายุต่ํากว่า 1 ปี ที่ได้รับวัคซีนครบถ้วน
  • 43. ค่าเฉลี่ย (Mean) • ตัวเลขหนึ่งซึ่งเฉลี่ยจากกลุ่มตัวเลขจํานวนหนึ่งที่เป็นประเภทเดียวกัน โดยได้มา จากการรวมค่าของจํานวนตัวเลขกลุ่มตัวอย่างหนึ่ง แล้วหารด้วยจํานวนตัวอย่าง นั้นทั้งหมดรวมกัน • ตัวอย่าง • ค่าเฉลี่ยฟันผุ อุด ถอน (DMF) ของเด็กอายุ 12 ปี
  • 45. เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุข • เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน • การมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
  • 46. เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน (Basic minimum need) • ความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) หมายถึง ระดับความต้องการขั้นพื้นฐานที่จําเป็นแก่ การดํารงชีวิต ซึ่งบุคคลแต่ละบุคคลในสังคมพึงจะบรรลุในช่วงเวลาหนึ่งๆ • ข้อมูลจําเป็นพื้นฐาน หมายถึง ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงความจําเป็นของ คนในครัวเรือนด้านต่างๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กําหนดมาตรฐานขั้นต่ําเอาไว้ ว่าคนควรมีคุณภาพชีวิตในเรื่องนั้นๆ อย่างไร เพื่อให้มีชีวิตที่ดีและสามารถดํารงชีิ วิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
  • 47. หลักการของ จปฐ. • ใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานเป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของ ประชาชนในหมู่บ้าน เพื่อให้ประชาชนทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเอง ครอบครัว และชุมชนว่าบรรลุตามเกณฑ์หรือไม่ • ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา • ใช้เป็นข้อมูลในการเลือกโครงการให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แท้จริงของชุมชน
  • 48. ความจําเป็นพื้นฐาน เกณฑ์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ลําดับ แห่งชาติฉบับที่ จํานวนหมวด จํานวนตัวชี้วัด 1 5 ( พ.ศ.2525 - 2529) 8 32 2 6 (พ.ศ. 2530 - 2534) 8 32 3 7 (พ.ศ. 2535 - 2539) 9 37 4 8 (พ.ศ. 2540 - 2544) 8 39 5 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) 6 37
  • 49. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 1 สุขภาพดี 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดตามเกณฑ์ 80 100 บริการและฉีดวัคซีนตามกําหนด 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการทําคลอดและการดูแลหลังคลอด 95 100 จากแพทย์ พยาบาล ผดุงครรภ์ 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการกินอาหารอย่างเหมาะสมและ 93 100 เพียงพอ ทําให้ทารกแรกเกิดมี นน ไม่ต่ํากว่า 2500 กรัม 4. เด็กอายุต่ํากว่า 1 ปีได้รับการฉีดวัคซีนครบ 95 100 5. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือน 30 90 แรกติดต่อกัน 6. ทารกแรกเกิดถึง 5 ปีได้กินอาหารอย่างเหมาะสมและ เพียงพอตามวัย ซึ่งมีผลทําให้มีการเจริญเติบโตตาม 80 100 เกณฑ์มาตรฐาน
  • 50. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) ึ7. เด็กอายุ 6-15 ปีได้กินอาหารถูกต้องครบถ้วนตามความ ต้องการของร่างกาย ซึ่งทําให้มีการเจริญเติบโตตาม 90 100 เกณฑ์มาตรฐาน 8. เด็กวัย 6-12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค วัณโรค คอตีบ บาดทะยัก โปลิโอ และวัคซีนรวม (หัด หัดเยอรมัน 100 100 คางทูม) และไข้สมองอักเสบครบ 9. ครัวเรือนได้กินอาหารมีคุณภาพได้มาตรฐาน 90 90 10. ครัวเรือนมีความรู้ในการใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสม 60 100 11. คนอายุ 35 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี 0 30
  • 51. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (ประชาชนมีที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อม 12.ครัวเรือนมีที่อยู่อาศัยที่มีสภาพคงทนถาวร สามารถอยู่ 95 100 ต่อไปได้อีกอย่างน้อย 5 ปี 13.ครัวเรือนมีน้ําสะอาดสําหรับดื่มและบริโภคเพียงพอ 95 95 ตลอดปี (5 ลิตร ต่อคน ต่อวัน) 14.ครัวเรือนมีน้ําใช้เพียงพอตลอดปี 0 95 15.ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนและบริเวณบ้านให้เป็น 60 95 ระเบียบถูกสุขลักษณะ 16.ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากเสียง ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง กลิ่นเหม็นหรือมลพิษทางอากาศ น้ําเสีย และสาร 95 100 พิษ 17.ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี 0 100
  • 52. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) 18. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 0 100 19.ครัวเรือนมีความอบอุ่น 0 100
  • 53. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (ประชาชนเข้าถึงบริการสังคมข้ันพื้นฐานที่จําเป็นแก่การดํารงชีิวิต) 20.เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการเตรียมความพร้อม 90 100 21.เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 100 100 22.เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้เรียนต่อมัธยมปลาย 50 50 23.เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้ฝึกอบรมด้านอาชีพ 80 80 24.คนอายุ 15-60 ปี อ่านและเขียนภาษาไทยได้ 99 100 25.ครัวเรือนได้รับข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างน้อย 95 100 สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
  • 54. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า 26.คนอายุ 18-60 ปี มีอาชีพและรายได้ 90 100 27.ครัวเรือนมีการประกอบอาชีพ และมีรายได้เฉลี่ยไม่ 100 100 น้อยกว่า 200,000 บาทต่อปี 28.ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน 50 50
  • 55. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย 29.คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา 90 100 30.คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ 90 50 31.คนตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป ประกอบกิจกรรมศาสนา 90 100 32.คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่ 90 100 33.คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่ 90 100
  • 56. เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานในแผนพัฒนาฯ 9 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 8 เป้าหมายเมื่อสิ้นสุดแผนฯ 9 ตัวชี้วัด (2544) (2549) หมวดที่ 6 อยากร่วมพัฒนา (ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาความเป็นอยู่และกําหนดชีวิตของตนเองและชุมชน 34.ครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่มที่ตั้งขึ้นในหมู่บ้าน ตําบล 90 90 35.ครัวเรือนมีการร่วมแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะ 0 30 36.ครัวเรือนเข้าร่วมทํากิจกรรมสาธารณะหมู่บ้าน 90 100 37.คนมีสิทธิ์ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง 90 100
  • 57. สรุปผล จปฐ. ปี 2553 • จํานวนครัวเรือนทั้งหมดที่สํารวจ 8,337,476 ครัวเรือน 70,665 หมู่บ้าน 6,814 ตําบล 876 อําเภอ 75 จังหวัด ประชากร 30,802,587 คน • ตัวชี้วัด 6 หมวด 42 ตัวชี้วัด • บรรลุเป้าหมาย 20 ตัวชี้วัด • ไม่บรรลุเป้าหมาย 22 ตัวชี้วัด
  • 58. สรุปผล จปฐ. ปี 2553 ตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุ จํานวนที่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ต่ํากว่าเป้าหมาย คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทํากิจกรรมสาธารณะ 8,223,083 98.63 1.37 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 8,239,334 98.82 1.18 คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมศาสนา 8,259,147 99.06 0.94 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 8,272,322 99.22 0.78 ทุกคนในครัวเรือนมีความรู้ในการใช้ยาที่เหมาะสม 8,275,107 99.25 0.75 คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา 30,620,345 99.41 0.59 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่างง่ายได้ 20,864,705 99.43 0.57 เด็กจบภาคบังคับ 9 ปี ได้ฝึกอบรมอาชีพ 10,461 79.67 0.33 เด็กแรกเกิดมีน้ําหนักไม่ต่ํากว่า 2,500 กรัม 321,647 99.71 0.29 เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 4,549,631 99.74 0.26
  • 59. สรุปผล จปฐ. ปี 2553 ภาค จํานวนตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุ ภาคกลาง 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 21 ภาคเหนือ 22 ภาคใต้ 23
  • 62. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) หมู่บ้าน HFA ตําบล HFA
  • 63. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) หมู่บ้าน HFA ตําบล HFA อําเภอ HFA
  • 64. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) หมู่บ้าน HFA ตําบล HFA อําเภอ HFA จังหวัด HFA
  • 65. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) หมู่บ้าน HFA ตําบล HFA อําเภอ HFA จังหวัด HFA ประเทศ HFA
  • 66. “….เมื่อมีสุขภาพสมบูรณ์ดีพร้อมทั้งร่างกายและจิตใจ แล้ว ย่อมมีกําลังทําประโยชน์สร้างสรรค์เศรษฐกิจ และสังคมของบ้านเมืองได้เต็มที่…..” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อ 22 ตุลาคม 2522
  • 68. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้
  • 69. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน
  • 70. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท
  • 71. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี
  • 72. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี • การโภชนาการ
  • 73. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี • การโภชนาการ • การวางแผนครอบครัว
  • 74. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี • การโภชนาการ • การวางแผนครอบครัว • การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม
  • 75. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี • การโภชนาการ • การวางแผนครอบครัว • การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม
  • 76. Quality of Life (QoL) • การดําเนินงานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ในปีพ.ศ. 2531 – 2532 มุ่งเน้น 6 ด้าน ดังนี้ • งานสาธารณสุขมูลฐาน • งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กในชนบท • งานให้ความรู้และฝึกอบรมให้รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัยไข้เจ็บ และ อันตรายจากสารเคมี • การโภชนาการ • การวางแผนครอบครัว • การสุขภิบาลสิ่งแวดล้อม (ทวีวัฒน์ นิยมเสน. 2532 : 71)
  • 79. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education)
  • 80. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition)
  • 81. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition) • ความยากจนลดลง (Less Poverty)
  • 82. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition) • ความยากจนลดลง (Less Poverty) • สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment)
  • 83. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition) • ความยากจนลดลง (Less Poverty) • สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment) • ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity)
  • 84. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition) • ความยากจนลดลง (Less Poverty) • สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment) • ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity) • เสรีภาพส่วนบุคคลมีมากขึ้น (Greater Individual Freedom)
  • 85. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต รายได้สูงขึ้น (Higher Income) • การศึกษาดีขึ้น (Better Education) • มาตรฐานความปลอดภัย สุขภาพ และโภชนาการสูงขึ้น (Higher Standard of Safety, Health and Nutrition) • ความยากจนลดลง (Less Poverty) • สภาพแวดล้อมที่สะอาด (Clean Environment) • ความเสมอภาคของโอกาสมีมากขึ้น (More Equality of Opportunity) • เสรีภาพส่วนบุคคลมีมากขึ้น (Greater Individual Freedom) • วัฒนธรรมแห่งชีวิตมีหลากหลาย (Richer Cultural Life)
  • 87. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ)
  • 88. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ)
  • 89. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง (จปฐ)
  • 90. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง (จปฐ) 3ก •กําลังคน •กรรมการ •กองทุน 1ข •ข้อมูลข่าวสาร 3ส •สอนหมู่บ้านอื่น •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง •การส่งต่อผู้ป่วย
  • 91. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง (จปฐ) 3ก •กําลังคน •กรรมการ •กองทุน 1ข •ข้อมูลข่าวสาร 3ส •สอนหมู่บ้านอื่น •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง •การส่งต่อผู้ป่วย
  • 92. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง การเข้าถึงบริการ (จปฐ) 3ก •กําลังคน •กรรมการ •กองทุน 1ข •ข้อมูลข่าวสาร 3ส •สอนหมู่บ้านอื่น •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง •การส่งต่อผู้ป่วย
  • 93. เกณฑ์สุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All: HFA) การบรรลุความจําเป็นพื้นฐาน การพึ่งพาตนเอง การเข้าถึงบริการ (จปฐ) 3ก •หลักประกันการรักษา •กําลังคน พยาบาลฟรีเท่ากับหรือ •กรรมการ มากกว่าร้อยละ 70 ของ •กองทุน ประชากรทั้งหมด 1ข •สถานพยาบาลพัฒนาเข้า •ข้อมูลข่าวสาร เกณฑ์มาตรฐาน พบส. 3ส •สอนหมู่บ้านอื่น •สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง •การส่งต่อผู้ป่วย
  • 95. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว •การเคลื่อนย้าย •อัตราการเพิ่ม •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ
  • 96. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว •การเคลื่อนย้าย •อัตราการเพิ่ม •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม •อาชีพ รายรับ รายจ่าย •ศาสนา •สถานะแรงงาน •ระดับการศึกษา •การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน •ผู้นําท้องถิ่น
  • 97. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว •การเคลื่อนย้าย •อัตราการเพิ่ม •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม •อาชีพ รายรับ รายจ่าย •ศาสนา •สถานะแรงงาน •ระดับการศึกษา •การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน •ผู้นําท้องถิ่น ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย •การเกิด การเจริญพันธ์ •การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ •การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • 98. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม •การเคลื่อนย้าย •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้ •อัตราการเพิ่ม •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ •การมีและใช้ส้วม •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม •อาชีพ รายรับ รายจ่าย •ศาสนา •สถานะแรงงาน •ระดับการศึกษา •การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน •ผู้นําท้องถิ่น ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย •การเกิด การเจริญพันธ์ •การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ •การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • 99. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม •การเคลื่อนย้าย •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้ •อัตราการเพิ่ม •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ •การมีและใช้ส้วม •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม •อาชีพ รายรับ รายจ่าย ข้อมูลด้าน K-A-P •ศาสนา •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั่วไป •สถานะแรงงาน •แหล่งข้อมูลข่าวสาร •ระดับการศึกษา •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยเฉพาะเรีื่อง •การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน •ผู้นําท้องถิ่น ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย •การเกิด การเจริญพันธ์ •การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ •การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
  • 100. การสร้างเครื่องมือวัดสถานสุขภาพ ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ •จํานวนประชากร เพศ อายุ สถานภาพ •ความหนาแน่น การกระจาย จํานวนครอบครัว ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม •การเคลื่อนย้าย •สภาพบริเวณบ้าน แหล่งน้ําดื่มน้ําใช้ •อัตราการเพิ่ม •การกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล •ขนบ ธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ •การมีและใช้ส้วม •แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหะนําโรค ข้อมูลด้านเศรษฐสังคม •อาชีพ รายรับ รายจ่าย ข้อมูลด้าน K-A-P •ศาสนา •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยทั่วไป •สถานะแรงงาน •แหล่งข้อมูลข่าวสาร •ระดับการศึกษา •ความรู้ด้านสุขภาพอนามัยเฉพาะเรีื่อง •การคมนาคม การสื่อสารภายในชุมชน •ผู้นําท้องถิ่น ข้อมูลด้านบริการทางการแพทย์ •สถานบริการด้านการแพทย์ ข้อมูลด้านสถิติชีพและอนามัย •การใช้บริการด้านการแพทย์ •การเกิด การเจริญพันธ์ •เจตคติ ความนิยมของประชาชนต่อสถานบริการ •การเจ็บป่วย การตาย การทุพพลภาพ •การได้รับวัคซีน และความเสี่ยงต่อการเกิดโรค

Editor's Notes

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n
  65. \n
  66. \n
  67. \n
  68. \n
  69. \n
  70. \n
  71. \n
  72. \n
  73. \n
  74. \n
  75. \n
  76. \n
  77. \n
  78. \n
  79. \n
  80. \n
  81. \n
  82. \n
  83. \n