SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
1
ประเด็น/หัวข้อ
2
1. สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554
3. การกากับดูแลการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพของ อย.
1.สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
มูลค่าของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ปี 56ปี 39
20,000 ล้านบาทต่อปี
และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
1,300 ล้านบาท
ต่อปี
1
2.สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถิติการเฝ้ าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
จากข้อมูลของศูนย์เฝ้ าระวังและรับร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2555 - กันยายน 2556
พบว่ามีโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายจานวน 9,008ราย
2
1.สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การขยายตัวของสื่อใหม่ เช่น วิทยุชุมชน ทีวีดาวเทียม เคเบิ้ลทีวี ฯลฯ
ขยายตัวของสื่อใหม่ ทั้งวิทยุชุมชนที่มีมากกว่า 7,700 สถานี รวมถึง
เคเบิลและทีวีดาวเทียมกว่า 1,000 ช่องที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้
มากกว่า 14 ล้านครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่สื่อเหล่านี้เป็นแหล่งโฆษณาสินค้า
ที่ผิดกฎหมาย
3
วิทยุชมชน
7,700 สถานี
ทีวีดาวเทียม
1,000 ช่อง
เข้าถึง
14 ล้านครัวเรือน
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554
ขอให้ อย. /สคบ./สานักอัยการสูงสุด/บก.ปคบ. ร่วมกันดาเนินการ1
1. สนับสนุนการจัดทาฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลการอนุญาตการโฆษณา
ข้อมูลโฆษณาที่ผิดกฎหมาย
2. ปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหา
โฆษณาที่ผิดกฎหมาย
3. จัดทากลไกหรือช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน
4. เฝ้ าระวัง จัดการ ดาเนิ นคดีกับโฆษณาที่ผิดกฎหมายอย่าง
เคร่งครัดและมีประสิทธิภาพ
5. พัฒนาระบบให้คาปรึกษาการดาเนินคดีแก่พนักงานเจ้าหน้าที่
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ)
ขอให้ กสทช. ดาเนินการ ดังนี้
1. ประกาศและบังคับใช้หลักเกณฑ์การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการ
โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณายา อาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
2. กาหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการฯ จัดสรรเวลา แก่หน่วยงานหรือ
องค์กรคุ้มครองผู้บริโภคได้นาเสนอข้อมูลให้เท่าทันการโฆษณายา อาหาร
และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3. สนับสนุนงบประมาณ เพื่อการพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
4. พัฒนามาตรการและกลไกในการเฝ้ าระวังและกากับดูแลด้านจริยธรรม
ของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการฯ
2
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ)
ขอให้ อย. ดาเนินการ ดังนี้
1. จัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาโฆษณา ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์
สุขภาพ ทางวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต และสื่ออื่นๆอย่าง
รอบด้าน ด้วยกระบวนการที่มีส่วนร่วมจากหน่วยงานทุกระดับให้แล้วเสร็จ
ภายใน 1 ปี และนาเสนอเพื่อรับรองในสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5
2. เร่งดาเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับ
กฎหมายการโฆษณา ตระหนักในเรื่องการใช้สิทธิผู้บริโภค รวมทั้งพัฒนา
กระบวนการรู้เท่าทัน
3
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ)
ขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บูรณาการการเฝ้ าระวังโฆษณายา อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
4
ขอให้ อปท. ทุกระดับ
จัดตั้งกลไกการควบคุมและเฝ้ าระวังการโฆษณาแบบมีส่วนร่วม
สนับสนุนงบประมาณ และการดาเนินงานขององค์กรภาคีเครือข่ายใน
พื้นที่
5
ขอให้องค์กรวิชาชีพสื่อสารมวลชน โฆษณาและการตลาด
กาหนดมาตรการ และแนวทางการกากับดูแล จริยธรรม
จรรยาบรรณในการสื่อสารเรื่องยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพสู่
ผู้บริโภค โดยคานึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสาคัญ
6
2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ)
ให้มีองค์การอิสระเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค
และขอให้รัฐสนับสนุนการทาหน้าที่เฝ้ าระวังและตรวจสอบการ
ดาเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณายา อาหาร และผลิตภัณฑ์
สุขภาพ
7
ขอให้สมาชิกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
เป็นผู้ร่วมในกระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ และเป็นเครือข่าย
ควบคุม ศึกษา ตรวจสอบ เฝ้ าระวังวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์
อินเทอร์เน็ต และสื่ออื่นๆ ทุกประเภทในพื้นที่
8
ขอให้เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
รายงานความก้าวหน้าต่อสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5
9
การพัฒนานโยบาย และโครงสร้างการบริหารจัดการ
การบูรณาการกฎหมายระหว่างหน่วยงาน ปรับปรุงกฎระเบียบและ
การบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ
การพัฒนาศักยภาพวิชาชีพด้านสื่อเกี่ยวกับการโฆษณาผลิตภัณฑ์
สุขภาพ
การสร้างและพัฒนาเครือข่าย กลไกการเฝ้ าระวังการโฆษณา
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
11
การพัฒนาระบบงานสนับสนุน เพื่อการเฝ้ าระวัง แก้ไข และป้ องกัน
ปัญหาการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย
กรอบยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาโฆษณา
ที่ผิดกฎหมายของ ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ปี 2554
“การจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหารและ
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต”
2. การ
ปรับปรุง
กฎหมายและ
การบังคับใช้
3. พัฒนาระบบรับ
และจัดการเรื่อง
ร้องเรียน
1. ระบบ
ฐานข้อมูล
และ
การสือสาร
12
อย.ขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
4.ตัวชี้วัด
เป้าหมาย และ
แนวทางการ
ดาเนินงาน
คบส.
ประจาปี
งบประมาณ
พ.ศ. 2557
14
เป็ นเลขานุการของคณะกรรมการพระราชบัญญัติ พิจารณาและให้ความเห็นชอบ
ตามประกาศกระทรวง เสนอลงนามโดยรัฐมนตรี และประกาศบังคับใช้ ตามกฎหมาย
จานวน ๙ ฉบับ ได้แก่
(๑) พระราชบัญญัติอาหาร
(๒) พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ
(๓) พระราชบัญญัติยา
(๔) พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง
(๕) พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์
(๖) พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
(๗) พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
(๘) พระราชกาหนดป้ องการการใช้สารระเหย
(๙) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
ผลิตภัณฑ์ที่ห้ามโฆษณาเพื่อการค้า
ต่อประชาชนทั่วไป
• วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและระบบประสาท
• ยาเสพติดให้โทษ
• ยาอันตราย และยาควบคุมพิเศษ
การโฆษณาผลิตภัณฑ์
-ยา (ฆท. xxx/255x หรือ ฆศ. xxx/255x): โฆษณายาแผน
โบราณ/ยาแผนปัจจุบันที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ
- อาหาร (ฆอ. xxx/255x): โฆษณาคุณประโยชน์/คุณภาพ/
สรรพคุณอาหาร
- เครื่องมือแพทย์ (ฆพ. xxx/255x): โฆษณาเพื่อประโยชน์ทาง
การค้า & ส่งเสริมการขาย แม้จะไม่ได้โฆษณาขายเครื่องมือ
แพทย์โดยตรง ก็ต้องได้รับความเห็นชอบจาก อย. ก่อน
ก่อนโฆษณา ยา อาหาร เครื่องมือแพทย์ต้องได้รับอนุญาตจาก
- เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือ
- นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
ยาอาหารอาหาร
เครื่องมือ
แพทย์
ขอบเขตของการโฆษณา (1)
ขอบเขตของการโฆษณา (2)
• ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง/ วัตถุอันตราย
เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา
แต่จะต้องอยู่ในขอบเขตของกฎหมายของ สคบ. ซึ่งกาหนด
ไม่ให้โฆษณาโอ้อวด หลอกลวง เป็นเท็จ หรือทาให้เข้าใจ
ผิดในสาระสาคัญ
เครื่องสาอาง
วัตถุอันตราย
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร(1)
 จัดเป็ นอาหารที่ใช้รับประทานโดยตรงนอกเหนือจากการ
รับประทานอาหารหลักตามปกติเพื่อเสริมสารบางอย่าง
 มีจุดมุ่งหมายสาหรับบุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพปกติ
 มิใช่สาหรับผู้ป่ วย
 เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน
 ไม่ทาให้เข้าใจว่ารับประทานผลิตภัณฑ์ฯเพียงอย่างเดียว
จะทาให้สุขภาพร่างกายดีขึ้นได้ ต้องให้ข้อมูลเพิ่มว่า
 ต้องบริโภคอาหารหลักให้ครบส่วน
 ออกกาลังกายและการพักผ่อนที่เหมาะสมด้วย
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร(2)
 รูปลักษณ์ใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ยา แต่ “ไม่ใช่ยา”
 ห้ามโฆษณาเผยแพร่ให้เกิดความเข้าใจผิดว่าสามารถ
บาบัด บรรเทา รักษา ป้ องกันโรคหรือความเจ็บป่ วยใด ๆ
 ไม่อนุญาตให้กล่าวอ้างหรือรับรองคุณภาพคุณประโยชน์
โดยบุคคล องค์กร หรือหน่วยงานใด ๆ
 เอกสารวิชาการ บทความ หรือคอลัมน์สุขภาพ ที่ระบุว่า
สารที่สกัดจากธรรมชาติช่วยรักษาโรค
 ปริมาณสารที่ออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์ยังมีปริมาณไม่ถึงขนาดที่ใช้
ในการป้ องกัน บาบัด หรือรักษาโรคได้
• โฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต/ไม่ตรงตามที่ได้รับอนุญาต
- ปรับไม่เกิน 5,000 บาท
• โฆษณาสรรพคุณในลักษณะเป็นเท็จ/หลอกให้หลงเชื่อ
- จาคุกไม่เกิน 3 ปี/ปรับไม่เกิน 30,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ
• ฝ่าฝืนคาสั่งระงับการโฆษณา
- จาคุกไม่เกิน 2 ปี/ปรับไม่เกิน 20,000 บาท/ปรับวันละ
500 บาท-1,000 บาท ตลอดเวลาที่ฝ่าฝืน
(โทร. 02 590-7175, 02 590-7216)
บทลงโทษเกี่ยวกับการโฆษณาอาหาร
อาหาร
ฝ่ าฝืนคาสั่งระงับการโฆษณาอาหาร
 มาตรา 42 เพื่อพิทักษ์ประโยชน์และความปลอดภัยของ
ผู้บริโภค ให้ผู้อนุญาตมีอานาจสั่งเป็ นหนังสืออย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังนี้
(1) ให้ผู้ผลิต นาเข้า หรือผู้ทาการโฆษณา ระงับการโฆษณาอาหาร
ที่เห็นว่าเป็ นการโฆษณาโดยฝ่ าฝืนมาตรา 41
(2) ให้ผู้ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายอาหาร หรือผู้ทาการโฆษณาอาหาร
ระงับการผลิต การนาเข้า การจาหน่าย หรือการโฆษณาอาหาร
ที่คณะกรรมการเห็นว่าอาหารดังกล่าวไม่มีคุณประโยชน์
คุณภาพ หรือสรรพคุณตามที่โฆษณา
 ผู้ใดฝ่ าฝืนคาสั่งฯ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ
ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ และให้ปรับ
เป็ นรายวันอีกวันละไม่น้อยกว่า 500บาท แต่ไม่เกิน
1,000 บาท ตลอดระยะเวลาที่ไม่ปฎิบัติตามคาสั่ง
ห้ามโฆษณายา (1)
• โอ้อวดว่าสามารถบาบัด บรรเทา/รักษา/ป้องกันโรคหรือ
ความเจ็บป่วยได้อย่างศักดิ์สิทธิ์หรือหายขาด
• แสดงสรรพคุณอันเป็นเท็จ/เกินความจริง
• ทาให้เข้าใจว่ามีตัวยา ซึ่งความจริงไม่มี/มีน้อย
• ทาให้เข้าใจว่าเป็นยาทาให้แท้งลูก/ยาขับระดูอย่างแรง
• ทาให้เข้าใจว่าเป็นยาบารุงกาม/ยาคุมกาเนิด
• แสดงสรรพคุณยาอันตราย/ยาควบคุมพิเศษ
• รับรองหรือยกย่องสรรพคุณโดยบุคคลอื่น
• โฆษณาขายยา โดยวิธีแถมพก/ออกสลากรางวัล
ยา
ห้ามโฆษณายา(2)
• แสดงสรรพคุณว่าสามารถรักษา
- โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเรื้อน
- โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด ตับ ม้าม ไต
• ไม่สุภาพ/ร้องราทาเพลง/แสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย
บทลงโทษ
• หากฝ่าฝืนกฎหมาย - ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
• ถ้าฝ่าฝืนคาสั่งระงับโฆษณา
- จาคุกไม่เกิน 3 เดือน/ปรับไม่เกิน 5,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ &
ปรับ 500 บาท/วันจนกว่าปฏิบัติตามคาสั่ง
โทร. 0-2590-7157, 0-2590-7168, 0-2590-7201 โทรสาร 0-2591-8463
ยา
ประเภทเครื่องมือแพทย์
1. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องขออนุญาตผลิต/นาเข้า(ผ. .../พ.ศ.)
หรือ (น. .../พ.ศ.) ในเครื่องหมาย อย. & มีฉลาก (ไทย)
2. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องมาแจ้งรายการละเอียดก่อนผลิต/
นาเข้า (จผ. .../พ.ศ.)(จน. .../พ.ศ.) & มีฉลาก (ไทย)
3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป (ไม่มีเครื่องหมาย อย./เลขใดๆ)
ถุงยางอนามัย ถุงมือการแพทย์ ชุดตรวจHIVเพื่อวินิจฉัย คอนแทคเลนส์
เครื่องตรวจแอลกอฮอล์ฯ เต้านมเทียมฝังในร่างกาย เครื่องกระชับเต้านม อุปกรณ์
เพื่อกายภาพบาบัด เช่น เตียงไฟฟ้ า เก้าอี้ไฟฟ้ าสถิต เก้าอี้ไฟฟ้ า อุปกรณ์แม่เหล็ก
cold-hot pack เครื่องนวด/สั่นสะเทือน เลเซอร์เพื่อกายภาพบาบัด TENs ฯลฯ
เครื่องวัดความดันฯ กระบอกสุญญากาศ เครื่องช่วยฟัง กาวติดฟันปลอม กระบอก
ฉีดอินซูลิน กระบอกฉีดยาใช้ได้ครั้งเดียว ชุดตรวจ HIV เพื่อการค้นว้า/วิจัย ฯลฯ
การฝ่ าฝืนกฎหมาย
 โฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ
ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
 โฆษณาคุณประโยชน์เป็ นเท็จ เกินจริง (จาคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
 ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ว่าพร้อมที่จะ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิได้เป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวช
กรรม (จาคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ)
 ประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้รับอนุญาต (จาคุกไม่
เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
25
การโฆษณาเครื่องสาอาง
 พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ. 2535
 ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา แต่ต้องอยู่ในสาระเพื่อความสะอาดและ
สวยงามเท่านั้น
 ต้องเป็ นไปตามมาตรา 47 ของ พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522
 ขอความเห็นข้อความการโฆษณาเครื่องสาอาง ค่าธรรมเนียมสื่อ
สิ่งพิมพ์ 3000 บาท ทางทีวี 5000 บาท ใช้เวลาดาเนินการ 20 วัน
นับแต่วันที่ชาระเงิน
 เลขที่ใบรับแจ้ง
 10-1-5400001
ข้อความที่ไม่ควรใช้โฆษณา
 ที่สุด ยอด สุดยอด ชนะเลิศ เลิศเลอ ดีเลิศ ล้าเลิศ
 แห่งแรก แห่งเดียว รายแรก ครั้งแรก อันดับ 1 พิเศษ
 เยี่ยมยอด ยอดเยี่ยม สุดเหวี่ยง วิเศษ โดดเด่น 100%
 ศักดิ์สิทธิ์ มหัศจรรย์ เด็ดขาด ฮีโร่ หนึ่งเดียว ปาฎิหาริย์
 ผลเภสัชวิทยาต่อระบบภูมิคุ้มกัน และ metabolic action
 ผลการตรวจวิเคราะห์
บทลงโทษโฆษณาเครื่องสาอาง
 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522
 มาตรา 47 ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดใน
แหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ หรือสาระสาคัญ
ประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ไม่ว่าจะเป็ น
ของตนเองหรือผู้อื่น โฆษณาหรือใช้ฉลากที่มีข้อความ
อันเป็ นเท็จหรือข้อความที่รู้หรือควรรู้อยู่แล้วว่าอาจ
ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน
50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าผู้กระทาผิดตาม
วรรคหนึ่ง
 กระทาผิดซ้าอีก ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย
ผลิตภัณฑ์ป้ องกันกาจัดแมลงและสัตว์อื่น ผลิตภัณฑ์
ฆ่าเชื้อโรค ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด ผลิตภัณฑ์ป้ องกัน กาจัด
แมลง ฯลฯ มักพบว่าคาหรือข้อความซึ่งอวดอ้างเกินจริง
ได้รับการอนุญาต
ผลิตภัณฑ์
วอส.../....
ได้รับการอนุญาต
......./นาเข้า
วัตถุอันตราย
ตัวอย่างข ้อความที่ไม่อนุญาต
• “ปลอดภัย”
• “ไม่เป็นพิษ”
• “ไม่เป็นอันตราย”
• “ไร ้สารตกค ้าง”
• “ได ้ผลเด็ดขาด”
• “ได ้ผล 100%”
• “ออกฤทธิ์แรง”
เครื่อง
สาอาง
โทร.
02 590-7272
02 591-8490
• เกินเลยจากวัตถุประสงค์ เช่น
- เพื่อความสวยงาม ความสะอาด บาบัด บรรเทา รักษา (คสอ.)
- ใช้ในบ้านเรือน ใช้ในทางเกษตร (วอ.)
• ข้อความไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค & ผลเสียต่อสังคมส่วนรวม
* ข้อความเท็จ/เกินจริง & ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสาคัญ
- จาคุกไม่เกิน 6 เดือน/ปรับไม่เกิน 50,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ
- ถ้าผิดซ้าอีก จาคุกไม่เกิน 1 ปี/ปรับไม่เกิน 100,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ
* สนับสนุนโดยตรง/อ้อมให้ทาผิดกม.หรือขัดศีลธรรม นาไปสู่ความ
เสื่อมเสียวัฒนธรรมของชาติ/ทาให้แตกแยก/ เสื่อมสามัคคีในหมู่ปชช.
- จาคุกไม่เกิน 3 เดือน/ปรับไม่เกิน 30,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ
ห้ามโฆษณาเครื่องสาอาง/วัตถุอันตราย
&
วัตถุ
อันตราย
โทร.
02 590-7300-1
02 590-7304
รู้ทันโฆษณาอย่างไร?
รู้จักหา
ข้อมูล
www.fda.moph.go.th
www.oryor.com
สื่อต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต
ถามผู้รู้
รู้ช่องทาง
ร้องเรียน
- สายด่วน อย.1556/ตู้ปณ.1556 ปณฝ.สธ.นนทบุรี
11004 -
email: complain@fda.moph.go.th หรือ
1556@fda.moph.go.th
- ศูนย์เฝ้ าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(ศรร.) โทร. 02-5907354-5 หรือโทรสาร 02-5918472
- มาด้วยตนเองที่ อย./ ที่สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
- กองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับการ
คุ้มครองผู้บริโภค (บก.ปคบ.) ตู้ปณ. 459 ปณศ.สามเสนใน
2.
3.
1.
www.fda.moph.go.th
www.oryor.com
http://www.facebook.com/fdathai

More Related Content

What's hot

โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพเนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพGawewat Dechaapinun
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocciJutaratDew
 
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางหลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางVorawut Wongumpornpinit
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยสิปป์แสง สุขผล
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาNadeeya Benlateh
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายThanyamon Chat.
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 

What's hot (20)

โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพเนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
เนื้อหาบท5 การตรวจฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
Gram-Positive cocci
Gram-Positive cocciGram-Positive cocci
Gram-Positive cocci
 
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางหลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเน็ตวิทยาศาสตร์ปี 53 พร้อมเฉลย
 
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยาแนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
แนวข้อสอบสอวน.ชีววิทยา
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
พันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลายพันธุกรรมและความหลากหลาย
พันธุกรรมและความหลากหลาย
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Viewers also liked

แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritisUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนSosad ByKok
 
ผังงาน(Flowchart)
ผังงาน(Flowchart)ผังงาน(Flowchart)
ผังงาน(Flowchart)Dai Punyawat
 
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภูเรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภูconsumernblp
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for ImmunityPha C
 

Viewers also liked (20)

แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
แนวทางการจัดบริการสำหรับผู้สูงอายุเฉพาะกลุ่ม โดย รพ.สต.
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
Medical Management in OsteoarthritisOsteoarthritis
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
Business Model Canvas Tools
Business Model Canvas ToolsBusiness Model Canvas Tools
Business Model Canvas Tools
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
 
Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016Cpn corporate report q1 2016
Cpn corporate report q1 2016
 
ผังงาน(Flowchart)
ผังงาน(Flowchart)ผังงาน(Flowchart)
ผังงาน(Flowchart)
 
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยงใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
ใครเป็นใครในการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
Ten types innovation
Ten types innovationTen types innovation
Ten types innovation
 
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภูเรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
เรื่องร้องเรียน หนองบัวลำภู
 
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้าการรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
การรับมือข้อร้องเรียนของลูกค้า
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016
 
Service design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcService design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdc
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for Immunity
 
ATMinHealthcare
ATMinHealthcareATMinHealthcare
ATMinHealthcare
 
Handbook medical conversation
Handbook medical conversationHandbook medical conversation
Handbook medical conversation
 

Similar to กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.

คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacyatit604
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาhutchzup
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...Arthit Suriyawongkul
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1Utai Sukviwatsirikul
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นThiti Wongpong
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย. (20)

คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
Advertising literacy
Advertising literacyAdvertising literacy
Advertising literacy
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
 
50
5050
50
 
50
5050
50
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
 
อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บท3
บท3บท3
บท3
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทยการนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
การนำร้านยาคุณภาพเข้าระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.

  • 1. 1
  • 2. ประเด็น/หัวข้อ 2 1. สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554 3. การกากับดูแลการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพของ อย.
  • 4. 2.สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถิติการเฝ้ าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ จากข้อมูลของศูนย์เฝ้ าระวังและรับร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ สานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2555 - กันยายน 2556 พบว่ามีโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายจานวน 9,008ราย 2
  • 5. 1.สถานการณ์ปัญหาโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ การขยายตัวของสื่อใหม่ เช่น วิทยุชุมชน ทีวีดาวเทียม เคเบิ้ลทีวี ฯลฯ ขยายตัวของสื่อใหม่ ทั้งวิทยุชุมชนที่มีมากกว่า 7,700 สถานี รวมถึง เคเบิลและทีวีดาวเทียมกว่า 1,000 ช่องที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ มากกว่า 14 ล้านครัวเรือน ซึ่งส่วนใหญ่สื่อเหล่านี้เป็นแหล่งโฆษณาสินค้า ที่ผิดกฎหมาย 3 วิทยุชมชน 7,700 สถานี ทีวีดาวเทียม 1,000 ช่อง เข้าถึง 14 ล้านครัวเรือน
  • 6. 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554 ขอให้ อย. /สคบ./สานักอัยการสูงสุด/บก.ปคบ. ร่วมกันดาเนินการ1 1. สนับสนุนการจัดทาฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลการอนุญาตการโฆษณา ข้อมูลโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 2. ปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหา โฆษณาที่ผิดกฎหมาย 3. จัดทากลไกหรือช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน 4. เฝ้ าระวัง จัดการ ดาเนิ นคดีกับโฆษณาที่ผิดกฎหมายอย่าง เคร่งครัดและมีประสิทธิภาพ 5. พัฒนาระบบให้คาปรึกษาการดาเนินคดีแก่พนักงานเจ้าหน้าที่
  • 7. 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ) ขอให้ กสทช. ดาเนินการ ดังนี้ 1. ประกาศและบังคับใช้หลักเกณฑ์การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณายา อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. กาหนดให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการฯ จัดสรรเวลา แก่หน่วยงานหรือ องค์กรคุ้มครองผู้บริโภคได้นาเสนอข้อมูลให้เท่าทันการโฆษณายา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. สนับสนุนงบประมาณ เพื่อการพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค 4. พัฒนามาตรการและกลไกในการเฝ้ าระวังและกากับดูแลด้านจริยธรรม ของผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการฯ 2
  • 8. 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ) ขอให้ อย. ดาเนินการ ดังนี้ 1. จัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาโฆษณา ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ทางวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต และสื่ออื่นๆอย่าง รอบด้าน ด้วยกระบวนการที่มีส่วนร่วมจากหน่วยงานทุกระดับให้แล้วเสร็จ ภายใน 1 ปี และนาเสนอเพื่อรับรองในสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 2. เร่งดาเนินการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับ กฎหมายการโฆษณา ตระหนักในเรื่องการใช้สิทธิผู้บริโภค รวมทั้งพัฒนา กระบวนการรู้เท่าทัน 3
  • 9. 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ) ขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บูรณาการการเฝ้ าระวังโฆษณายา อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4 ขอให้ อปท. ทุกระดับ จัดตั้งกลไกการควบคุมและเฝ้ าระวังการโฆษณาแบบมีส่วนร่วม สนับสนุนงบประมาณ และการดาเนินงานขององค์กรภาคีเครือข่ายใน พื้นที่ 5 ขอให้องค์กรวิชาชีพสื่อสารมวลชน โฆษณาและการตลาด กาหนดมาตรการ และแนวทางการกากับดูแล จริยธรรม จรรยาบรรณในการสื่อสารเรื่องยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพสู่ ผู้บริโภค โดยคานึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นสาคัญ 6
  • 10. 2. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2554(ต่อ) ให้มีองค์การอิสระเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และขอให้รัฐสนับสนุนการทาหน้าที่เฝ้ าระวังและตรวจสอบการ ดาเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการโฆษณายา อาหาร และผลิตภัณฑ์ สุขภาพ 7 ขอให้สมาชิกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เป็นผู้ร่วมในกระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ และเป็นเครือข่าย ควบคุม ศึกษา ตรวจสอบ เฝ้ าระวังวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต และสื่ออื่นๆ ทุกประเภทในพื้นที่ 8 ขอให้เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ รายงานความก้าวหน้าต่อสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5 9
  • 11. การพัฒนานโยบาย และโครงสร้างการบริหารจัดการ การบูรณาการกฎหมายระหว่างหน่วยงาน ปรับปรุงกฎระเบียบและ การบังคับใช้กฎหมายให้มีประสิทธิภาพ การพัฒนาศักยภาพวิชาชีพด้านสื่อเกี่ยวกับการโฆษณาผลิตภัณฑ์ สุขภาพ การสร้างและพัฒนาเครือข่าย กลไกการเฝ้ าระวังการโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 11 การพัฒนาระบบงานสนับสนุน เพื่อการเฝ้ าระวัง แก้ไข และป้ องกัน ปัญหาการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย กรอบยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาโฆษณา ที่ผิดกฎหมายของ ยา อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  • 12. มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ปี 2554 “การจัดการปัญหาโฆษณาที่ผิดกฎหมายของยา อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ทางวิทยุกระจายเสียง สื่อโทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต” 2. การ ปรับปรุง กฎหมายและ การบังคับใช้ 3. พัฒนาระบบรับ และจัดการเรื่อง ร้องเรียน 1. ระบบ ฐานข้อมูล และ การสือสาร 12 อย.ขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 4.ตัวชี้วัด เป้าหมาย และ แนวทางการ ดาเนินงาน คบส. ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2557
  • 13.
  • 14. 14 เป็ นเลขานุการของคณะกรรมการพระราชบัญญัติ พิจารณาและให้ความเห็นชอบ ตามประกาศกระทรวง เสนอลงนามโดยรัฐมนตรี และประกาศบังคับใช้ ตามกฎหมาย จานวน ๙ ฉบับ ได้แก่ (๑) พระราชบัญญัติอาหาร (๒) พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ (๓) พระราชบัญญัติยา (๔) พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง (๕) พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ (๖) พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท (๗) พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (๘) พระราชกาหนดป้ องการการใช้สารระเหย (๙) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
  • 16. -ยา (ฆท. xxx/255x หรือ ฆศ. xxx/255x): โฆษณายาแผน โบราณ/ยาแผนปัจจุบันที่ไม่ใช่ยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษ - อาหาร (ฆอ. xxx/255x): โฆษณาคุณประโยชน์/คุณภาพ/ สรรพคุณอาหาร - เครื่องมือแพทย์ (ฆพ. xxx/255x): โฆษณาเพื่อประโยชน์ทาง การค้า & ส่งเสริมการขาย แม้จะไม่ได้โฆษณาขายเครื่องมือ แพทย์โดยตรง ก็ต้องได้รับความเห็นชอบจาก อย. ก่อน ก่อนโฆษณา ยา อาหาร เครื่องมือแพทย์ต้องได้รับอนุญาตจาก - เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา หรือ - นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ภายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ยาอาหารอาหาร เครื่องมือ แพทย์ ขอบเขตของการโฆษณา (1)
  • 17. ขอบเขตของการโฆษณา (2) • ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง/ วัตถุอันตราย เป็นผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา แต่จะต้องอยู่ในขอบเขตของกฎหมายของ สคบ. ซึ่งกาหนด ไม่ให้โฆษณาโอ้อวด หลอกลวง เป็นเท็จ หรือทาให้เข้าใจ ผิดในสาระสาคัญ เครื่องสาอาง วัตถุอันตราย
  • 18. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร(1)  จัดเป็ นอาหารที่ใช้รับประทานโดยตรงนอกเหนือจากการ รับประทานอาหารหลักตามปกติเพื่อเสริมสารบางอย่าง  มีจุดมุ่งหมายสาหรับบุคคลทั่วไปที่มีสุขภาพปกติ  มิใช่สาหรับผู้ป่ วย  เด็กและสตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน  ไม่ทาให้เข้าใจว่ารับประทานผลิตภัณฑ์ฯเพียงอย่างเดียว จะทาให้สุขภาพร่างกายดีขึ้นได้ ต้องให้ข้อมูลเพิ่มว่า  ต้องบริโภคอาหารหลักให้ครบส่วน  ออกกาลังกายและการพักผ่อนที่เหมาะสมด้วย
  • 19. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร(2)  รูปลักษณ์ใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ยา แต่ “ไม่ใช่ยา”  ห้ามโฆษณาเผยแพร่ให้เกิดความเข้าใจผิดว่าสามารถ บาบัด บรรเทา รักษา ป้ องกันโรคหรือความเจ็บป่ วยใด ๆ  ไม่อนุญาตให้กล่าวอ้างหรือรับรองคุณภาพคุณประโยชน์ โดยบุคคล องค์กร หรือหน่วยงานใด ๆ  เอกสารวิชาการ บทความ หรือคอลัมน์สุขภาพ ที่ระบุว่า สารที่สกัดจากธรรมชาติช่วยรักษาโรค  ปริมาณสารที่ออกฤทธิ์ในผลิตภัณฑ์ยังมีปริมาณไม่ถึงขนาดที่ใช้ ในการป้ องกัน บาบัด หรือรักษาโรคได้
  • 20. • โฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต/ไม่ตรงตามที่ได้รับอนุญาต - ปรับไม่เกิน 5,000 บาท • โฆษณาสรรพคุณในลักษณะเป็นเท็จ/หลอกให้หลงเชื่อ - จาคุกไม่เกิน 3 ปี/ปรับไม่เกิน 30,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ • ฝ่าฝืนคาสั่งระงับการโฆษณา - จาคุกไม่เกิน 2 ปี/ปรับไม่เกิน 20,000 บาท/ปรับวันละ 500 บาท-1,000 บาท ตลอดเวลาที่ฝ่าฝืน (โทร. 02 590-7175, 02 590-7216) บทลงโทษเกี่ยวกับการโฆษณาอาหาร อาหาร
  • 21. ฝ่ าฝืนคาสั่งระงับการโฆษณาอาหาร  มาตรา 42 เพื่อพิทักษ์ประโยชน์และความปลอดภัยของ ผู้บริโภค ให้ผู้อนุญาตมีอานาจสั่งเป็ นหนังสืออย่างใด อย่างหนึ่ง ดังนี้ (1) ให้ผู้ผลิต นาเข้า หรือผู้ทาการโฆษณา ระงับการโฆษณาอาหาร ที่เห็นว่าเป็ นการโฆษณาโดยฝ่ าฝืนมาตรา 41 (2) ให้ผู้ผลิต นาเข้า หรือจาหน่ายอาหาร หรือผู้ทาการโฆษณาอาหาร ระงับการผลิต การนาเข้า การจาหน่าย หรือการโฆษณาอาหาร ที่คณะกรรมการเห็นว่าอาหารดังกล่าวไม่มีคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณตามที่โฆษณา  ผู้ใดฝ่ าฝืนคาสั่งฯ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ และให้ปรับ เป็ นรายวันอีกวันละไม่น้อยกว่า 500บาท แต่ไม่เกิน 1,000 บาท ตลอดระยะเวลาที่ไม่ปฎิบัติตามคาสั่ง
  • 22. ห้ามโฆษณายา (1) • โอ้อวดว่าสามารถบาบัด บรรเทา/รักษา/ป้องกันโรคหรือ ความเจ็บป่วยได้อย่างศักดิ์สิทธิ์หรือหายขาด • แสดงสรรพคุณอันเป็นเท็จ/เกินความจริง • ทาให้เข้าใจว่ามีตัวยา ซึ่งความจริงไม่มี/มีน้อย • ทาให้เข้าใจว่าเป็นยาทาให้แท้งลูก/ยาขับระดูอย่างแรง • ทาให้เข้าใจว่าเป็นยาบารุงกาม/ยาคุมกาเนิด • แสดงสรรพคุณยาอันตราย/ยาควบคุมพิเศษ • รับรองหรือยกย่องสรรพคุณโดยบุคคลอื่น • โฆษณาขายยา โดยวิธีแถมพก/ออกสลากรางวัล ยา
  • 23. ห้ามโฆษณายา(2) • แสดงสรรพคุณว่าสามารถรักษา - โรคเบาหวาน มะเร็ง อัมพาต วัณโรค โรคเรื้อน - โรคหรืออาการโรคของสมอง หัวใจ ปอด ตับ ม้าม ไต • ไม่สุภาพ/ร้องราทาเพลง/แสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย บทลงโทษ • หากฝ่าฝืนกฎหมาย - ปรับไม่เกิน 100,000 บาท • ถ้าฝ่าฝืนคาสั่งระงับโฆษณา - จาคุกไม่เกิน 3 เดือน/ปรับไม่เกิน 5,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ & ปรับ 500 บาท/วันจนกว่าปฏิบัติตามคาสั่ง โทร. 0-2590-7157, 0-2590-7168, 0-2590-7201 โทรสาร 0-2591-8463 ยา
  • 24. ประเภทเครื่องมือแพทย์ 1. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องขออนุญาตผลิต/นาเข้า(ผ. .../พ.ศ.) หรือ (น. .../พ.ศ.) ในเครื่องหมาย อย. & มีฉลาก (ไทย) 2. เครื่องมือแพทย์ที่ต้องมาแจ้งรายการละเอียดก่อนผลิต/ นาเข้า (จผ. .../พ.ศ.)(จน. .../พ.ศ.) & มีฉลาก (ไทย) 3. เครื่องมือแพทย์ทั่วไป (ไม่มีเครื่องหมาย อย./เลขใดๆ) ถุงยางอนามัย ถุงมือการแพทย์ ชุดตรวจHIVเพื่อวินิจฉัย คอนแทคเลนส์ เครื่องตรวจแอลกอฮอล์ฯ เต้านมเทียมฝังในร่างกาย เครื่องกระชับเต้านม อุปกรณ์ เพื่อกายภาพบาบัด เช่น เตียงไฟฟ้ า เก้าอี้ไฟฟ้ าสถิต เก้าอี้ไฟฟ้ า อุปกรณ์แม่เหล็ก cold-hot pack เครื่องนวด/สั่นสะเทือน เลเซอร์เพื่อกายภาพบาบัด TENs ฯลฯ เครื่องวัดความดันฯ กระบอกสุญญากาศ เครื่องช่วยฟัง กาวติดฟันปลอม กระบอก ฉีดอินซูลิน กระบอกฉีดยาใช้ได้ครั้งเดียว ชุดตรวจ HIV เพื่อการค้นว้า/วิจัย ฯลฯ
  • 25. การฝ่ าฝืนกฎหมาย  โฆษณาโดยไม่ได้รับอนุญาต (จาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับ ไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)  โฆษณาคุณประโยชน์เป็ นเท็จ เกินจริง (จาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)  ประกอบวิชาชีพเวชกรรมหรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ว่าพร้อมที่จะ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยมิได้เป็ นผู้ประกอบวิชาชีพเวช กรรม (จาคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ)  ประกอบกิจการสถานพยาบาลโดยมิได้รับอนุญาต (จาคุกไม่ เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) 25
  • 26. การโฆษณาเครื่องสาอาง  พระราชบัญญัติเครื่องสาอาง พ.ศ. 2535  ไม่ต้องขออนุญาตโฆษณา แต่ต้องอยู่ในสาระเพื่อความสะอาดและ สวยงามเท่านั้น  ต้องเป็ นไปตามมาตรา 47 ของ พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522  ขอความเห็นข้อความการโฆษณาเครื่องสาอาง ค่าธรรมเนียมสื่อ สิ่งพิมพ์ 3000 บาท ทางทีวี 5000 บาท ใช้เวลาดาเนินการ 20 วัน นับแต่วันที่ชาระเงิน  เลขที่ใบรับแจ้ง  10-1-5400001
  • 27. ข้อความที่ไม่ควรใช้โฆษณา  ที่สุด ยอด สุดยอด ชนะเลิศ เลิศเลอ ดีเลิศ ล้าเลิศ  แห่งแรก แห่งเดียว รายแรก ครั้งแรก อันดับ 1 พิเศษ  เยี่ยมยอด ยอดเยี่ยม สุดเหวี่ยง วิเศษ โดดเด่น 100%  ศักดิ์สิทธิ์ มหัศจรรย์ เด็ดขาด ฮีโร่ หนึ่งเดียว ปาฎิหาริย์  ผลเภสัชวิทยาต่อระบบภูมิคุ้มกัน และ metabolic action  ผลการตรวจวิเคราะห์
  • 28. บทลงโทษโฆษณาเครื่องสาอาง  พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522  มาตรา 47 ผู้ใดโดยเจตนาก่อให้เกิดความเข้าใจผิดใน แหล่งกาเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ หรือสาระสาคัญ ประการอื่นอันเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ไม่ว่าจะเป็ น ของตนเองหรือผู้อื่น โฆษณาหรือใช้ฉลากที่มีข้อความ อันเป็ นเท็จหรือข้อความที่รู้หรือควรรู้อยู่แล้วว่าอาจ ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด  ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ถ้าผู้กระทาผิดตาม วรรคหนึ่ง  กระทาผิดซ้าอีก ผู้กระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 29. ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย ผลิตภัณฑ์ป้ องกันกาจัดแมลงและสัตว์อื่น ผลิตภัณฑ์ ฆ่าเชื้อโรค ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาด ผลิตภัณฑ์ป้ องกัน กาจัด แมลง ฯลฯ มักพบว่าคาหรือข้อความซึ่งอวดอ้างเกินจริง ได้รับการอนุญาต ผลิตภัณฑ์ วอส.../.... ได้รับการอนุญาต ......./นาเข้า
  • 30. วัตถุอันตราย ตัวอย่างข ้อความที่ไม่อนุญาต • “ปลอดภัย” • “ไม่เป็นพิษ” • “ไม่เป็นอันตราย” • “ไร ้สารตกค ้าง” • “ได ้ผลเด็ดขาด” • “ได ้ผล 100%” • “ออกฤทธิ์แรง”
  • 31. เครื่อง สาอาง โทร. 02 590-7272 02 591-8490 • เกินเลยจากวัตถุประสงค์ เช่น - เพื่อความสวยงาม ความสะอาด บาบัด บรรเทา รักษา (คสอ.) - ใช้ในบ้านเรือน ใช้ในทางเกษตร (วอ.) • ข้อความไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค & ผลเสียต่อสังคมส่วนรวม * ข้อความเท็จ/เกินจริง & ที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสาคัญ - จาคุกไม่เกิน 6 เดือน/ปรับไม่เกิน 50,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ - ถ้าผิดซ้าอีก จาคุกไม่เกิน 1 ปี/ปรับไม่เกิน 100,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ * สนับสนุนโดยตรง/อ้อมให้ทาผิดกม.หรือขัดศีลธรรม นาไปสู่ความ เสื่อมเสียวัฒนธรรมของชาติ/ทาให้แตกแยก/ เสื่อมสามัคคีในหมู่ปชช. - จาคุกไม่เกิน 3 เดือน/ปรับไม่เกิน 30,000 บาท/ทั้งจาทั้งปรับ ห้ามโฆษณาเครื่องสาอาง/วัตถุอันตราย & วัตถุ อันตราย โทร. 02 590-7300-1 02 590-7304
  • 32. รู้ทันโฆษณาอย่างไร? รู้จักหา ข้อมูล www.fda.moph.go.th www.oryor.com สื่อต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ถามผู้รู้ รู้ช่องทาง ร้องเรียน - สายด่วน อย.1556/ตู้ปณ.1556 ปณฝ.สธ.นนทบุรี 11004 - email: complain@fda.moph.go.th หรือ 1556@fda.moph.go.th - ศูนย์เฝ้ าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรร.) โทร. 02-5907354-5 หรือโทรสาร 02-5918472 - มาด้วยตนเองที่ อย./ ที่สานักงานสาธารณสุขจังหวัด - กองบังคับการปราบปรามการกระทาผิดเกี่ยวกับการ คุ้มครองผู้บริโภค (บก.ปคบ.) ตู้ปณ. 459 ปณศ.สามเสนใน 2. 3. 1.