SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน
ที่มีภำวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเครื่อง เอ อี ดี
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ (สพฉ.)
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน
ที่มีภำวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเครื่อง เอ อี ดี
กองบรรณำธิกำร :
คณะท�ำงำนจัดท�ำมำตรฐำนคู่มือและหลักสูตรเกี่ยวกับกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน
ที่มีภำวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันด้วยเครื่องฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้ำแบบ
อัตโนมัติ (AED) สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย :
สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ (สพฉ.)
อำคำรเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว 84 พรรษำ
88/40 หมู่ที่ 4 สำธำรณสุข ซอย 6 ถนนติวำนนท์
ต�ำบลตลำดขวัญ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทรศัพท์ 0 2872 1669 โทรสำร 0 2872 1601- 6
www.niems.go.th www.facebook.com/niem1669
ISBN : 978-616-7951-29-4
พิมพ์ครั้งที่ 1 : พ.ศ. 2559
จ�ำนวนพิมพ์ : 10,000 เล่ม
พิมพ์ที่ : บริษัท ศรีเมืองกำรพิมพ์ จ�ำกัด
5/37-41 ถนนรองเมือง ซอย 5 แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 0 2214 4660 โทรสำร 0 2612 4509
สถำนกำรณ์ฉุกเฉิน เป็นสิ่งที่สำมำรถเกิดขึ้นได้โดยที่เรำไม่ได้
คำดกำรณ์ไว้ล่วงหน้ำซึ่งอำจเป็นอันตรำยถึงชีวิตกำรให้ควำมช่วยเหลือ
ต่อผู้ประสบกับสถำนกำรณ์ฉุกเฉินจึงถือว่ำเป็นสิ่งส�ำคัญพื้นฐำนในกำร
ช่วยเหลือคนที่คุณรักหรือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ท่ำนควรเรียนรู้เรื่อง
กำรแจ้งเหตุเพื่อขอควำมช่วยเหลือกำรช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐำนรวมถึง
กำรใช้เครื่อง เอ อี ดี (AED) ระหว่ำงที่ทีมกู้ชีพยังเดินทำงไปไม่ถึง
อย่ำงไรก็ตำมกำรใช้เครื่อง เอ อี ดี (AED) ในประเทศไทยถือ
เป็นเรื่องใหม่ ส�ำหรับประชำชนที่จ�ำเป็นจะต้องใช้เครื่องดังกล่ำวควร
ด�ำเนินกำรช่วยเหลือภำยใต้ค�ำแนะน�ำของแพทย์หรือตำมค�ำแนะน�ำจำก
ผู้ปฏิบัติกำรฉุกเฉินผ่ำนสำยด่วน1669และหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำคู่มือฉบับนี้
จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับประชำชนทั่วไปให้น�ำไปปฏิบัติในกำรช่วยชีวิต
ผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภำวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเครื่อง เอ อี ดี เพื่อเพิ่มโอกำส
กำรรอดชีวิตของประชำชนที่หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันนอกโรงพยำบำลได้
นำยแพทย์อนุชำ เศรษฐเสถียร
เลขำธิกำรสถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ
ค�ำน�ำ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 3
สำรบัญ
• ค�ำน�ำ 3
• กำรแจ้งเหตุฉุกเฉิน 1669 5
• แนวทำงกำรให้กำรช่วยเหลือจำก 1669 5
• ระบบปฏิบัติกำรกำรแพทย์ฉุกเฉิน 6
• อำกำรฉุกเฉิน 7
• กำรช่วยชีวิตฉุกเฉิน 8
• กำรช่วยฟื้นคืนชีพ 9
• แผนผังกำรช่วยชีวิตฉุกเฉิน 10 ขั้นตอน 20
• เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้ำชนิดอัตโนมัติ (เอ อี ดี) 22
• เอกสำรอ้ำงอิง 23
• ค�ำสั่งสถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ ที่ 2/2559 24
เรื่อง แต่งตั้งคณะท�ำงำนฯ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี4
กำรแจ้งเหตุฉุกเฉิน ผู้แจ้งเหตุควรให้ข้อมูลดังนี้
1. ผู้ป่วย ผู้บำดเจ็บเป็นอะไร/มีอำกำรอย่ำงไร/รู้สึกตัว/รู้สติ
ตื่น พูดได้หรือไม่
2. ผู้ป่วยหรือผู้บำดเจ็บอยู่ที่ไหน
3. หมำยเลขโทรศัพท์ของผู้แจ้งเหตุ
4. ชื่อผู้แจ้งเหตุ
กำรแจ้งเหตุฉุกเฉิน 1669
แนวทำงกำรให้กำรช่วยเหลือจำก 1669
เจบปวยฉุกเฉิน
อุบัติเหตุ
ฉุกเฉิน
ไม่ฉุกเฉิน
ประสำนพำหนะฉุกเฉิน
ออกปฏิบัติกำร
ให้ค แนะน ระหว่ำง ะ
น ส่งโรงพยำบำล
ประสำนให้พำหนะฉุกเฉิน
น ส่งโรงพยำบำล
ที่ใกล้ที่สุดและเหมำะสม
ให้ค แนะน
โทร 1669
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 5
ระบบปฏิบัติกำรกำรแพทย์ฉุกเฉิน
ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ
หน่วยปฏิบัติการ
การแพทย์ฉุกเฉิน
ศูนย์รับแจ้งเหตุฯ ประสานให้
พาหนะฉุกเฉินออกปฏิบัติการ
พาหนะฉุกเฉินออกปฏิบัติการ
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยฉุกเฉิน
โรงพยาบาล
หมายเลข 1669 สำหรับเรียกใช้
บริการการแพทย์ฉุกเฉิน
การดูแลฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ
การรายงาน
เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี6
อำกำรฉุกเฉินที่ควรแจ้งเหตุมีดังนี้
1. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่หำยใจ
2. มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันทำงเดินหำยใจ
3. หำยใจเร็วและเหนื่อยหอบอย่ำงรุนแรง และหำยใจมีเสียงดัง
4. ชักต่อเนื่องไม่หยุด
5. อำกำรชักในหญิงในตั้งครรภ์
6. งูพิษกัด และมีอำกำรหนังตำตกหรือหำยใจล�ำบำก
7. ถูก/โดนไฟไหม้ ได้รับสำรพิษ สัตว์มีพิษกัดต่อย
8. ได้รับบำดเจ็บที่ดวงตำ และกำรมองเห็นลดลงฉับพลัน
9. เจ็บหน้ำอกอย่ำงรุนแรง
10. แขนขำอ่อนแรงซีกเดียวอย่ำงฉับพลัน
11. ปวดท้องคลอดที่มีน�้ำเดินร่วมกับมีเลือดออกทำงช่องคลอด
12. บำดแผลโดนยิงที่ศีรษะ หรือล�ำคอ หรือหน้ำอก หรือท้อง
13. บำดแผลโดนแทงที่ล�ำคอ หรือหน้ำอก หรือท้อง
14. บำดแผลที่มีเลือดไหลออกปริมำณมำก และห้ำมเลือดไหล
ไม่หยุด
15. มีอำกำรเหงื่อแตก ตัวเย็น จำกกำรเสียเลือดมำก
16. บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุเช่นอุบัติเหตุจรำจรตกจำกที่สูงจมน�้ำ
ไฟฟ้ำช็อต
อำกำรฉุกเฉิน
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 7
กำรช่วยชีวิตฉุกเฉิน
1
เออีดี
โทร.1669
2
ดอ
3
เออีดีี
จัดท�ำโดย:สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ
ตรวจสอบเนื้อหำโดย:คณะกรรมกำรมำตรฐำนกำรช่วยชีวิตสมำคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย(เมษำยน2559)
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี8
1. ปลอดภัยไว้ก่อน
โดยตรวจสอบควำมปลอดภัยก่อนเข้ำช่วยเหลือ ถ้ำอยู่ใน
สถำนกำรณ์ไม่ปลอดภัย เช่น ไฟฟ้ำช๊อต ไฟไหม้ ตึกถล่ม
ห้ำม เข้ำไปช่วยเหลือโดยเด็ดขำด
กำรช่วยฟื้นคืนชีพ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 9
2. ปลุกเรียก ตบไหล่
ตรวจสอบดูว่ำผู้ป่วยหมดสติหรือไม่โดยตบที่ไหล่ทั้งสองข้ำง
พอที่จะปลุกคนหลับให้ตื่น ซึ่งอำจพูดว่ำ
“คุณ คุณ เป็นอย่างไรบ้าง”
พร้อมจัดท่ำผู้ป่วยให้นอนหงำยรำบบนพื้นที่แข็ง
หำกผู้ป่วยตื่นหรือรู้สึกตัวหรือหำยใจเองได้ให้จัดท่ำนอนตะแคง
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี10
3. โทร 1669
เรียกขอควำมช่วยเหลือจำกผู้อื่น ซึ่งอำจพูดว่ำ
“ช่วยด้วย มีคนหมดสติ”
และโทร 1669 หรือให้คนอื่นโทรก็ได้
พร้อมกับน�ำเครื่อง เอ อี ดี (AED) มำ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 11
4. ประเมินผู้หมดสติ
ตรวจดูว่ำผู้ป่วยหำยใจหรือไม่ หำกไม่รู้สึกตัว
ไม่หำยใจ หรือหำยใจเฮือก ต้องรีบกดหน้ำอก
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี12
5. กดหน้าอก
กำรกดหน้ำอกท�ำตำมขั้นตอนดังนี้
1. จัดท่ำให้ผู้ป่วยนอนหงำยโดยผู้ช่วยเหลือนั่งคุกเข่ำ
อยู่ด้ำนข้ำงของผู้ป่วย
2. วำงส้นมือข้ำงหนึ่งตรงครึ่งล่ำงกระดูกหน้ำอก
3. วำงมืออีกข้ำงวำงทับประสำนกันไว้ แขนสองข้ำง
เหยียดตรง โดยให้แนวแขนตั้งฉำกกับหน้ำอกของผู้ป่วย
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 13
4. เริ่มท�ำกำรกดหน้ำอกด้วยควำมลึกอย่ำงน้อย 5
เซนติเมตร ด้วยควำมเร็ว 100-120 ครั้งต่อนำที โดยให้
ส้นมือสัมผัสกับหน้ำอกของผู้ป่วยตลอดกำรกดหน้ำอก
5. ถ้ำมีหน้ำกำกเป่ำปำก เป่ำปำกผ่ำนหน้ำกำก 2 ครั้ง
สลับกับกำรกดหน้ำอก30ครั้งโดยนับ“หนึ่งและสองและ
สำม และสี่ .....และสิบ สิบเอ็ด สิบสอง สิบสำม.........ยี่สิบ
ยีบเอ็ด (ยี่สิบเอ็ด) ยีบสอง (ยี่สิบสอง).........ยีบเก้ำ สำมสิบ”
6. ถ้ำไม่มีหน้ำกำกเป่ำปำก หรือไม่เคยฝึกเป่ำปำก
ให้ท�ำกำรกดหน้ำอกอย่ำงเดียว อย่ำงต่อเนื่อง
7. กระท�ำกำรกดหน้ำอกและเป่ำปำกอย่ำงต่อเนื่อง
จนกว่ำทีมกู้ชีพจะไปถึงที่เกิดเหตุ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี14
6. เมื่อเครื่อง เอ อี ดี (AED) มาถึง
1. เปิดเครื่อง
2. ถอดเสื้อผู้ป่วยออก
3. ถ้ำตัวเปียกน�้ำ ให้เช็ดน�้ำออกก่อน
แล้วติดแผ่นน�ำไฟฟ้ำ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 15
7. ติดแผ่นน�าไฟฟ้า
ติดแผ่นน�ำไฟฟ้ำบริเวณใต้กระดูกไหปลำร้ำ
ด้ำนขวำ และชำยโครงด้ำนซ้ำย (ตามภาพ)
หลังจำกนั้นไม่สัมผัสตัวผู้ป่วย
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี16
8. ปฏิบัติตามค�าแนะน�าของเครื่อง เอ อี ดี (AED)
1. หำกเครื่องเอ อี ดี (AED) แปลผลว่ำไม่ต้อง
ช๊อกไฟฟ้ำหัวใจ ให้กดหน้ำอกต่อไป
2. หำกเครื่องสั่งให้ช๊อกไฟฟ้ำหัวใจ ผู้ช่วยเหลือพูด
หรือตะโกนว่ำ “ถอยห่าง/ห้ามสัมผัสตัวผู้ป่วย”
3. กดปุ่ม ช๊อกตำมเครื่องสั่ง
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 17
9. กดหน้าอกต่อหลังท�าการ
ช๊อกไฟฟ้าหัวใจแล้วทันที
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี18
10. ส่งต่อ
เมื่อทีมกู้ชีพมำถึง
1. ทีมกู้ชีพจะท�ำกำรซักประวัติจำกผู้ช่วยเหลือ
2. อะไรที่ผู้ช่วยเหลือได้ท�ำให้ผู้ป่วย
3. ทีมกู้ชีพจะน�ำส่งผู้ป่วยไปโรงพยำบำลที่ใกล้ที่สุด
และเหมำะสม
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 19
เอด
รดอด
ใหตรวจดูความปลอดภัย
กอนเขาไปชวยเหลือ
เชนระวังอุบัติเหตุไฟฟาชอต
เรี
ปลุกเรียกดวยเสียงดัง
พรอมตบที่ไหล2ขาง
หากผูปวยตื่นหรือรูสึกตัว
หรือหายใจเองได
ใหจัดทานอนตะแคง
ดออเอ
ทำCPRตอเนื่อง
ปฏิบัติตามคำแนะนำ
ของเครื่องAED
จนกวาทีมกูชีพจะมาถึง
อ
สงตอผูปวยใหกับทีมกูชีพ
เพื่อนำสงโรงพยาบาล
รีเ
ดทโดรทเรอเอโดรรรรรีทโรรเททเ9
โทร.1669
ขอความชวยเหลือโทร.1669
หรือใหคนอื่นโทรใหพรอมกับ
นำเครื่องAED(เออีดี)มา
ด
ติดแผนนำไฟฟาบริเวณ
ใตกระดูกไหปลาราดานขวา
และชายโครงดานซาย(ตามภาพตัวอยาง)
หลังจากนั้นไมสัมผัสตัวผูปวย
เรอ
หากเครื่องสั่งใหชอกไฟฟา
ใหกดปุมชอกตามเครื่องสั่ง
และกดหนาอกหลังทำการชอกแลวทันที
หากเครื่องไมสั่งชอกใหทำการกดหนาอกตอ
รเด
หากไมรูสึกตัวไมหายใจ
หรือหายใจเฮือก
เอ
เดเรอ
เมื่อเครื่องAEDมาถึง
ถอดเสื้อออกและเปดเครื่อง
**ถาเปยกน้ำใหเช็ดน้ำกอนติดแผนนำไฟฟา
ดอ
จัดทาใหผูปวยนอนหงาย
วางสันมือขางหนึ่งตรงครึ่งลางกระดูกหนาอก
และวางมืออีกขางทับประสานกันไว
เริ่มการกดหนาอก(CPR)ดวยความลึกอยางนอย
5ซ.ม.ในอัตราเร็ว100-120ครั้ง/นาที
ีอ6
“เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้ำชนิดอัตโนมัติ” เอ อี ดี
(Automated External Defibrillator, AED)
เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพำชนิดหนึ่ง สำมำรถวินิจฉัยภำวะ
หัวใจเต้นผิดจังหวะที่เป็นอันตรำยถึงชีวิต ชนิดเวนทริคูลำร์ฟิบริลเลชัน
(ภำวะหัวใจห้องล่ำงเต้นแผ่วระรัว)และเวนทริคูลำร์แทคีคำร์เดีย(ภำวะ
หัวใจห้องล่ำงเต้นเร็วผิดปกติ)ได้โดยอัตโนมัติและสำมำรถให้กำรรักษำ
ด้วยกำรช็อกไฟฟ้ำกระตุกหัวใจได้โดยใช้กระแสไฟฟ้ำหยุดรูปแบบกำร
เต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ เพื่อเปิดโอกำสให้หัวใจกลับมำเต้นใหม่ใน
จังหวะที่ถูกต้อง
เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้ำชนิดอัตโนมัติ (เอ อี ดี)
ปัจจุบันหำกสังเกตให้ดีจะเห็นตู้กระจกเล็ก ๆ ติดตั้งอยู่ในที่สำธำรณะ
ทั้งในและต่ำงประเทศ โดยมีอักษรใหญ่เขียนว่ำ AED
ตัวอย่ำงเครื่องเออีดี (AED)
ตู้เออีดี (AED)
ในที่สาธารณะ
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี22
เอกสำรอ้ำงอิง
คณะอนุกรรมกำรมำตรฐำนกำรช่วยชีวิต (Thai Resuscitation
Council)สมำคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรม
รำชูปถัมภ์.เอกสำรเผยแพร่.กรุงเทพมหำนคร:สมำคมแพทย์
โรคหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมรำชูปถัมภ์, 2558.
สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉินแห่งชำติ. คู่มืออำสำฉุกเฉินชุมชน 1669.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหำนคร : สถำบันกำรแพทย์ฉุกเฉิน
แห่งชำติ, 2557.
American Heart Association. ไฮไลท์ของแนวทำงกำรนวดหัวใจ
ผำยปอดกู้ชีพ (CPR) และกำรดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจหลอดเลือด
ในภำวะฉุกเฉิน (ECC) ของ American Heart Association
(AHA)ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2558.กรุงเทพมหำนคร:American
Heart Association, 2558.
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 23
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี24
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี 25
คู่มือส�ำหรับประชำชนในกำรช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ด้วยเครื่อง เอ อี ดี26
บันทึก
บันทึก

More Related Content

What's hot

Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
taem
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
Benjapron Seesukong
 

What's hot (20)

Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
คลื่น (Wave) (ไฟล์ .Pdf)
 
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopitโรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
โรคของหู คอ จมูก Pradit roongpiboonsopit
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
DHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.pptDHFสอนปี2561.ppt
DHFสอนปี2561.ppt
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบการพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
เครื่องมือและอุปกรณ์ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ1
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเครื่อง เอ อี ดี