SlideShare a Scribd company logo
1 of 125
Download to read offline
คานา
หนังสือเล่มนี้ได้เรียบเรียงขึ้นมาเพื่อเป็นอนุสรณ์ในพิธี
พระราชทานเพลิงศพพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี
โชติปาโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระประสานสุข บ้านนาเมือง ตาบล
ไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา
๔ ส่วน คือ
๑. ชีวประวัติและปฏิปทา
๒. รูปภาพเหตุการณ์สาคัญของพระภาวนาวิศาลเถร
(หลวงปูุบุญมี โชติปาโล)
๓. พระธรรมเทศนาสมณกถาของพระเทพกวี (มนตรี
คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ที่ได้แสดงใน
พิธีบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์สตมวารศพ
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) เมื่อวันอาทิตย์
ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗
๔. ภาคผนวก ซึ่งประกอบด้วย การถ่ายทอดคาสอนของ
หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ตอน “ทาบุญนา (๒)” และ
บทกาพย์กลอนถวายแด่หลวงปูุบุญมี โชติปาโล
หนังสือเล่มนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อถวายการยกย่องพระเกียรติ
พระคุณพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) ที่ท่านได้
บาเพ็ญบุญ ประกอบคุณงามความดีเป็นเกียรติเป็นศรีแก่พระบวร
พุทธศาสนาและประเทศชาติบ้านเมือง คณะผู้จัดทาขอกราบ
ขอบพระคุณครูบาอาจารย์ญาติโยมทุกๆ ท่านที่เมตตาและกรุณา
ให้คาแนะนา รวมทั้งให้ข้อมูลที่สาคัญจากหลายๆ ส่วนที่เกี่ยวข้อง
และขอน้อมจิตอนุโมทนาต่อท่านผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์เพื่อ
เป็นทุนร่วมจัดพิมพ์หนังสือมา ณ โอกาสนี้
ขอบุญญานุภาพทั้งหลายในสากลโลก และขออานาจแห่ง
คุณแห่งพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงเป็นตบะเดชะ
พลวป๎จจัยให้ทุกๆ ท่านประสบความสุขความเจริญ ไพบูลย์
งอกงามในศาสนาธรรมคาสอนของสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมา
สัมพุทธเจ้า โปรดดลบันดาลให้ปวงข้าพเจ้าทั้งหลายได้ถึงมรรค ผล
นิพพาน ในป๎จจุบันและอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้น เทอญ…
คณะศิษยานุศิษย์
ผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
คานา
ชีวประวัติและปฏิปทา
รูปภาพเหตุการณ์สาคัญของพระภาวนาวิศาลเถร
(หลวงปูุบุญมี โชติปาโล)
พระธรรมเทศนาสมณกถา ของพระเทพกวี
(มนตรี คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
ภาคผนวก
- การถ่ายทอดคาสอนของหลวงปูุบุญมี โชติปาโล
ตอน “ทาบุญนา (๒)”
- บทกาพย์กลอนถวายหลวงปูุบุญมี โชติปาโล
ชีวประวัติและปฏิปทา
พระภาวนาวิศาลเถร
(หลวงปู่บุญมี โชติปาโล)
• ชาติภูมิ
“พระภาวนาวิศาลเถร” หรือ “หลวงปูุบุญมี โชติปาโล” มี
นามเดิมว่า บุญมี นามสกุล กุศลคุณ เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์
พุทธศักราช ๒๔๕๒ ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปี
ระกา ซึ่งตรงกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา
ณ บ้านเลขที่ ๑๓๖ หมู่ที่ ๒ บ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอ
เมือง จังหวัดอุบลราชธานี โยมบิดาชื่อ นายกุ กุศลคุณ โยมมารดา
ชื่อ นางเลื่อน กุศลคุณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๑๐
คน เป็นชาย ๔ คน หญิง ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนโต มีรายชื่อ
ตามลาดับดังนี้
(๑) พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล)
(๒) นางสมบูรณ์ มูลมั่ง
(๓) นายเผ่า กุศลคุณ
(๔) นางสอน เนื่องเฉลิม
(๕) นายเลิศ กุศลคุณ
(๖) นางก้าน กุศลคุณ
(๗) นายเผย กุศลคุณ
(๘) นางอูบแก้ว ยอดกุล
(๙) นางคาหล้า ทัศนาลักษณ์
(๑๐) นางคามั่น แก้วตา
ป๎จจุบันยังมีชีวิตอยู่คนเดียวเท่านั้น คือ นางคามั่น แก้วตา
หลวงปูุบุญมีท่านเคยเล่าให้ฟ๎งถึงเหตุผลที่ชื่อว่า บุญมี นั้น
มีอยู่ว่า ก่อนที่โยมมารดาของท่านจะตั้งครรภ์ ได้ฝ๎นว่า หลวงปูุ
สีทา ชยเสโน ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงของหลวงปูุได้เอาพร้ามาให้ แต่พร้า
ด้ามนั้นเป็นสนิมไปหมด ในนิมิตนั้นโยมมารดาท่านได้ถามหลวงปูุ
สีทาว่า “เอาพร้าขี้เมี่ยง (เป็นสนิม) นี้มาให้ทาไม ใช้ประโยชน์อะไร
ก็ไม่ได้” หลวงปูุสีทาได้บอกว่า “ให้เอาไปฝน (ลับมีด) เสียก่อนจึง
จะใช้การได้”
เมื่อโยมมารดาจะคลอด ก็เกิดอาการเจ็บท้อง (เจ็บครรภ์)
อยู่นานเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ความทราบถึงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ข้าหลวงต่างพระองค์ สาเร็จราชการ
มณฑลอีสาน ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของหลวงปูุสีทา ชยเสโน พระองค์จึง
ได้เสด็จพร้อมกับหลวงปูุสีทา ชยเสโน มาเยี่ยมดูอาการโยมมารดา
ว่าเป็นเพราะอะไรจึงคลอดยากเย็นหนักหนา ครั้นถึงเวลาเที่ยงตรง
ในสมัยนั้นไม่มีเครื่องบอกเวลาเหมือนในป๎จจุบัน มีการบอกเวลา
โดยการยิงปืนใหญ่เป็นสัญญาณ พอสิ้นเสียงปืนใหญ่ โยมมารดาก็
คลอดทารกเพศชายออกมาเป็นเวลาเที่ยงพอดี และเสด็จในกรม
ทรงมีรับสั่งว่า “เด็กชายคนนี้ชะรอยจะเป็นผู้มีบารมีมาเกิด จะดีจะ
ชั่วเพียงใดก็ไม่อาจรู้ได้ ขอให้ชื่อว่า บุญมี นะ” และมีรับสั่งให้โยม
บิดาของหลวงปูุห่อพันตัวแล้วนาไปลอดใต้ท้องช้าง กลับไปกลับมา
๓ ครั้งเพื่อเป็นสิริมงคล หลวงปูุจึงได้ชื่อว่า “บุญมี” ตั้งแต่บัดนั้น
เป็นต้นมา
หลวงปูุบุญมีในวัยเด็กนั้นมีสุขภาพร่างกายบอบบาง ไม่
แข็งแรง เป็นเด็กที่เลี้ยงยาก เจ็บไข้อยู่บ่อยๆ สามวันดีสี่วันไข้
ตลอดเวลา จนชาวบ้านที่ผ่านไปมาที่เป็นหญิงจะแวะเวียนเอานม
มาให้กินเพราะสงสาร รวมทั้งเอาด้ายมาผูกคอและแขนให้เป็น
จานวนมากมาย เพื่อหวังให้สุขภาพร่างกายของเด็กชายบุญมี
แข็งแรงยิ่งขึ้น ผีจะได้ไม่มารบกวน แต่ก็ไม่ค่อยได้ผลมากนัก จาก
คาบอกเล่าของ นางคามั่น แก้วตา ผู้เป็นน้องสาวคนสุดท้อง เล่าว่า
“หลวงปูุเล่าให้ฟ๎งว่า ตอนเมื่อเกิดมานั้น มีผิวที่บอบบางมาก
มองเห็นฮอดไส้ในท้อง ตัวกะน้อย”
แม้โยมมารดาได้ประคับประคองเลี้ยงดูเป็นอย่างดี แต่ก็ยัง
เป็นห่วงลูกอยู่ตลอดเวลาว่าเป็นคนไม่ค่อยแข็งแรง ไม่อยากให้ไป
ทามาหาเลี้ยงชีพที่เป็นงานหนักและอยู่ห่างไกล จึงบอกหลวงปูุว่า
“ลูกเอ๋ยบวชแล้วอย่าสึกนะ” จากคาพูดนี่เอง ทาให้หลวงปูุบุญมี
ราลึกอยู่เสมอว่า จะเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อทดแทนพระคุณ
พ่อแม่
• การศึกษา
หลวงปูุบุญมี ได้ศึกษาเล่าเรียนทั้งทางโลกและทางธรรม
ตลอดจนการศึกษาพิเศษ ดังนี้
ปีพุทธศักราช ๒๔๖๕ จบชั้นประโยคประถมศึกษาปีที่ ๔
จากโรงเรียนประชาบาล ในจังหวัดอุบลราชธานี (ทั้งนี้ โรงเรียน
บ้านนาเมือง ก่อตั้งเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๘๓)
ปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก (น.ธ.เอก)
จากสานักเรียนวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) ตาบลในเมือง
อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ด้านการศึกษาพิเศษ หลวงปูุบุญมียังได้ศึกษาเล่าเรียน
อักษรขอม อักษรธรรม อักษรไทยน้อย(ลาว) จนเกิดทักษะ
มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอ่านออกเขียนได้อย่างชานาญ
นอกจากนั้นหลวงปูุยังมีความสามารถทางด้านการใช้ภาษาผญา
ภาษิตอีสาน เป็นอย่างดี สามารถนาเอามาใช้ในทางเทศนาธรรม
และคาสอนของหลวงปูุ จนเป็นที่ประทับใจและสร้างศรัทธาแก่ลูก
ศิษย์ลูกหาที่ได้ฟ๎งพระธรรมเทศนาทุกคน เช่น “ทางเป็นเค้าอย่า
กวดหนามปก อย่าไปเทียวทางฮกปุาดงเสือฮ้าย เสือบายเจ้าบ่มีผู้
ซ่อย บัดห่าจ่อยบ่มีผู้ซ้าผู้แล”, “ให้เจ้าฟ๎นเฮือไว้หลายลาแฮท่า ให้
เจ้าหม่าข่าวไว้หลายมื้อแขกสิโฮม” และ “ไฟไหม้ปุาจั่งเห็นหน้าหนู
ฝนตกมาจั่งเห็นกะปู” ฯลฯ
• การบรรพชาและการอุปสมบท
ในขณะเรียนชั้นประถมศึกษา โยมมารดาได้พาหลวงปูุ
บุญมีไปฝากเป็นลูกศิษย์วัดกับ หลวงปูุสีทา ชยเสโน (ซึ่งเป็นหลวง
ลุง) ณ วัดบูรพา ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ทาให้ท่านได้มีโอกาสกราบนมัสการรับใช้ใกล้ชิด พระอาจารย์เสาร์
กันตสีโล และพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ซึ่งท่านอาจารย์ทั้งสองได้
แวะเวียนมากราบนมัสการเยี่ยมหลวงปูุสีทา ชยเสโน
พระอุป๎ชฌาย์ใหญ่ฝุายวิป๎สสนาธุระในสมัยนั้นอยู่เสมอ เมื่อสิ้น
หลวงปูุสีทา ชยเสโน ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๘ โยมมารดาจึงนาไป
บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) จังหวัด
อุบลราชธานี และในระหว่างบรรพชาเป็นสามเณรนั้น
พระอาจารย์มั่นได้เมตตานาสามเณรบุญมีติดตามไปจาพรรษาที่
จังหวัดสกลนครด้วย สามเณรบุญมีจึงมีโอกาสได้เรียนรู้ ซึมซับ
ปฏิปทาจริยาวัตรของพระวิป๎สสนาจารย์อย่างใกล้ชิดตั้งแต่เยาว์วัย
ถือได้ว่าท่านเป็นศิษย์ของพระอาจารย์มั่นอีกองค์หนึ่ง เมื่ออายุครบ
๒๐ ปี หลวงปูุบุญมีได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัด
ศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม) จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่
๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๔ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่า
เดือน ๖ ปีมะแม จุลศักราช ๑๒๙๓ และตรงกับวันสาคัญทาง
พระพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชา โดยมี พระเดชพระคุณ
พระศาสนดิลก (เสน ชิตเสโน) เป็นพระอุป๎ชฌาย์, พระมหาสว่าง
เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์เพ็ง เป็นพระ
อนุศาสนาจารย์ ได้รับนามฉายาว่า “โชติปาโล” อันมีความหมาย
เป็นมงคลว่า “ผู้มีแสงสว่างในธรรม”
• ช่วงชีวิตสมณเพศ
หลังจากอุปสมบท หลวงปูุบุญมีได้มีโอกาสกราบนมัสการ
ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) ซึ่งเป็นพระ
เถระผู้ใหญ่ผู้มีคุณูปการต่อกิจการคณะสงฆ์ภาคอีสาน และท่านเจ้า
คุณฯ ก็ได้เมตตาต่อหลวงปูุบุญมี โดยอนุญาตให้ติดตามท่านไปอยู่
จาพรรษา ณ วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร และวัด
เขาพระงาม (วัดสิริจันทรนิมิต วรวิหาร) ตาบลเขาพระงาม อาเภอ
เมือง จังหวัดลพบุรี อีกด้วย ในช่วงชีวิตสมณเพศของหลวงปูุบุญมี
ท่านได้ออกจาริกธุดงค์ไปในสถานที่ต่างๆ ครั้งหนึ่งท่านได้ออก
จาริกไปพร้อมกับ พระอาจารย์มหาสว่าง ซึ่งเป็นพระ
กรรมวาจาจารย์ของท่าน โดยจาริกไปประเทศพม่า ลาว เวียดนาม
และเลยไปถึงประเทศจีน เมื่อกลับจากประเทศจีน หลวงปูุบุญมี
ท่านได้ช่วย พระอาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม สร้างวัดปุาสาลวัน
ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา อีกวัดหนึ่ง
นอกจากนี้หลวงปูุบุญมียังได้มีศรัทธาร่วมสร้างวัดอโศการาม
อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับ ท่านพ่อลี ธัมมธโร เพื่อ
เป็นศูนย์วิป๎สสนากรรมฐานแก่พุทธศาสนิกชน และยังได้ร่วมกับ
พระอาจารย์ฝ๎้น อาจาโร สร้างวัดปุาสุทธาวาส อาเภอเมือง จังหวัด
สกลนคร เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ
รวมทั้งได้ร่วมกับ พระอาจารย์ดี ฉันโน สร้างวัดภูเขาแก้ว อาเภอ
พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี อีกวัดหนึ่งด้วย
ปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ หลวงปูุบุญมีเดินทางกลับมายัง
จังหวัดอุบลราชธานี และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสระ
ประสานสุข โดยท่านได้ทาการพัฒนาก่อสร้างวัดสืบต่อจาก
พระเดชพระคุณพระศาสนดิลก (เสน ชิตเสโน) เจ้าอาวาสวัดศรี
ทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) ซึ่งเป็นผู้นาพาในการสร้างวัดสระ
ประสานสุขและเป็นพระอุป๎ชฌาย์ของท่าน หลวงปูุบุญมีได้พัฒนา
วัดสระประสานสุขซึ่งเป็นวัดบ้านเกิดของท่านให้มีความ
เจริญรุ่งเรืองเป็นที่น่าเลื่อมใสศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนในจังหวัด
อุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียงทั่วไปเรื่อยมาตามลาดับ
• ผลงานด้านการพัฒนาวัด
วัดสระประสานสุข เดิมชื่อ วัดบ้านนาเมือง ตั้งอยู่ห่างจาก
ตัวเมืองไปประมาณ ๕ กิโลเมตร สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช
๒๔๗๐ โดยการนาพาของ พระเดชพระคุณพระศาสนดิลก
(เสน ชิตเสโน) เจ้าอาวาสวัดศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม) ซึ่งเป็นผู้
บุกเบิกและวางรากฐานก่อสร้างมาตั้งแต่ต้น จนกระทั่งหลวงปูุ
บุญมีได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ ท่านจึง
ได้เริ่มวางแผนและดาเนินการพัฒนาวัดโดยได้รับความร่วมมือจาก
ชาวบ้านญาติโยมผู้เลื่อมใสศรัทธา จนมีความเจริญรุ่งเรือง
ตามลาดับ วัดมีเนื้อที่ประมาณ ๗๕ ไร่ ผลงานด้านการพัฒนาวัด
สระประสานสุข ที่หลวงปูุบุญมีได้ริเริ่มและดาเนินการก่อสร้าง
ถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัด เพื่อให้วัดเป็นศาสนสถานที่เป็นแหล่ง
รวมใจของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป มีดังนี้
ปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ หลวงปูุบุญมี ได้เป็นผู้นาศรัทธา
ชาวบ้านก่อสร้าง ศาลาการเปรียญ ขนาดใหญ่ ในลักษณะทรง
ป๎้นหยา ภายในประดิษฐานพระประธานปางนาคปรกขนาดใหญ่
และรูปหล่อเหมือนพระเถราจารย์ชื่อดังอีกหลายองค์ที่หลวงปูุเป็น
ผู้นาศรัทธาชาวบ้านหล่อไว้เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้บูชาสักการะ
ศาลานาบุญ
ปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ หลวงปูุบุญมี ได้ออกแบบและเป็น
ประธานในการก่อสร้าง อุโบสถบนเรือสุพรรณหงส์ อันมี
ความหมายว่า จะเป็นพาหนะที่จะพาบรรดาพุทธศาสนิกชนผู้มีใจ
เป็นกุศลข้ามห้วงมหาสมุทรแห่งวัฏสงสารสู่ดินแดนมหานิพพานใน
ที่สุด ซึ่งอุโบสถที่หลวงปูุบุญมีได้สร้างขึ้นนี้ มีความสวยงาม
ตั้งตระหง่านโดดเด่นเป็นสง่า แปลกกว่าที่วัดอื่นๆ เพราะเป็น
อุโบสถอยู่บนเรือสุพรรณหงส์ประดับด้วยเซรามิคสีน้าตาลแดง
ขนาดใหญ่ ส่วนด้านหน้าอุโบสถประดิษฐาน รูปหล่อหลวงปูุบุญมี
โชติปาโล หากเข้าประตูวัดมาจะเป็นด้านหลังอุโบสถ ก่อให้เกิด
ความศรัทธาแก่ญาติโยมที่ได้เข้ามาทาบุญ ณ วัดสระประสานสุข
เป็นอย่างยิ่ง
ปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ หลวงปูุบุญมี ได้นาคณะศิษยานุศิษย์
สร้างหอระฆัง ๕ ชั้น ประดับด้วยเซรามิคสีน้าตาลแดง โดยมี
นายชุ่นเลี้ยง แซ่ล้อ และนางโชจิร แซ่เตียว (เสี่ยบุญชัย) รับเป็น
เจ้าภาพในการก่อสร้าง
วันที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๘ ทาพิธีเพื่อสร้าง
วิหารกลางน้าเรือธรรมนาคราช เวลาเที่ยงตรง และเมื่อวันที่ ๒๑
มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๙ ทาพิธีตอกเสาเข็มเวลาเที่ยงตรง
วิหารกลางน้าเรือธรรมนาคราช เป็นวิหารกลางน้าบนนาคราช
รูปร่างคล้ายเรือ ส่วนหัวเป็นนาคราช ๕ เศียร โดยทางเดินเข้า
วิหารกลางน้าเป็นทางเดินด้านหางของนาคราช ตั้งอยู่ด้านหลังของ
วัดและมีปลาอาศัยอยู่ในสระน้าใหญ่เป็นจานวนมาก
โดยพุทธศาสนิกชนได้นามาปล่อยไว้ ซึ่งหลวงปูุบอกว่าไม่อยากให้
เบียดเบียนซึ่งกันและกัน จึงไม่มีใครนาปลาที่สระน้าใหญ่ไปกิน
ทาให้ปลามีปริมาณมาก อีกทั้งทางวัดได้จัดบริการให้อาหารปลา
แล้วแต่ผู้มาทาบุญจะบริจาค
หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ประกอบพิธีเพื่อสร้างวิหารกลางน้าฯ
นอกจากนี้แล้วหลวงปูุบุญมียังได้สร้างศาสนสถานต่างๆ
ภายในวัดสระประสานสุข คือ วิหารโชติปาโล, กุฏิโชติปาโลนุสรณ์
ในลักษณะทรงไทย,กุฏิโชติธรรมในลักษณะทรงไทย,
หอสวดมนต์ ในลักษณะทรงไทย และที่สร้างความประทับใจเป็น
พิเศษให้แก่ชาวบ้านญาติโยมที่เดินทางมายังวัดสระประสานสุข
ก็คือ ซุ้มประตูทางเข้าด้านหน้าวัด(ประตูโขง) ที่หลวงปูุบุญมีได้
สร้างเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ๓ เศียร ที่ใหญ่โตมาก
สามารถมองเห็นตั้งตระหง่านโดดเด่นเป็นสง่ามาแต่ไกล นอกจากนี้
ท่านยังได้ตัดถนนเข้าหน้าวัด, สร้างและปรับปรุงห้องน้าห้องสุขาให้
เพียงพอกับชาวบ้านญาติโยมที่มาร่วมทาบุญในงานเทศกาลต่างๆ
รวมถึงการสร้างกาแพงคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งมีรูปสัตว์นานาชาติ
ล้อมรอบบริเวณวัด ตลอดจนปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์
และพื้นที่ภายในวัดทั้งหมดให้เหมาะสม เป็นระเบียบ เป็นสัดส่วน
สวยงาม ร่มรื่นไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด สมกับเป็นวัดสายปฏิบัติ
และสถานที่บาเพ็ญบุญ เป็นที่พึ่งพิงด้านจิตใจแก่พุทธศาสนิกชน
โดยทั่วไป
ประตูช้างสามเศียร (วัดสระประสานสุข)
---------------------
ประตูช้างสามเศียร ต้องพากเพียรถึงสร้างได้
ช้างนั้นเป็นสัตว์ใหญ่ พร้อมพาไปในที่ดี
ครั้งหนึ่งต้องลอดผ่าน จิตประสานคิดสิ่งดี
ศรัทธาในความดี นาชีวีผ่านพ้นภัย
หลวงปูุบุญมีสร้าง เป็นหนทางธรรมสู่ใจ
ตั้งจิตคิดขอได้ พร้อมตั้งใจให้เกิดจริง
ช้างใหญ่ในสามโลก สร้างประโยชน์ในทุกสิ่ง
สามเศียรยิ่งใหญ่จริง ลอดใจนิ่งยิ่งได้บุญ
ตั้งจิตภาวนา ลอดเข้ามาธรรมเกื้อหนุน
ธรรมะย่อมเป็นคุณ มากมีบุญทุนต่อไป
พระอินทร์ที่ทรงนั่ง จิตพร้อมสั่งได้ดั่งใจ
ขอเชิญลอดผ่านไป จะสุขใจนิรันดร์เอย
อนึ่ง เนื่องจากทางวัดมีอาณาเขตติดต่อกับเขตทหาร
อากาศ กองบินที่ ๒๑ ข้าราชการทหารอากาศจึงมีศรัทธามาร่วม
อุปสมบทและจาพรรษา ณ วัดสระประสานสุข ตลอดมา
• ด้านการปกครอง
หลวงปูุบุญมีท่านมีระเบียบการปกครองพระสงฆ์ในวัดให้
สอดคล้องกับกฎของมหาเถรสมาคม (มส.) อย่างเคร่งครัด โดยมี
กฎกติกาของวัดตามมติของคณะสงฆ์ภายในวัดเป็นผู้กาหนดขึ้นมา
เอง และที่เป็นกิจวัตรสาคัญที่หลวงปูุได้ริเริ่มและให้ปฏิบัติเป็น
ประจา คือ การจัดให้มีการปฏิบัติธรรมและเจริญสมาธิภาวนาทุก
วัน โดยเฉพาะวันพฤหัสบดี ณ ศาลาการเปรียญวัดสระประสานสุข
ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ น. เป็นต้นไป
• ผลงานด้านการทานุบารุงพระศาสนา
หลวงปูุบุญมี ไม่เพียงพัฒนาและก่อสร้างศาสนสถานใน
บริเวณวัดสระประสานสุข ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
ของหลวงปูุเท่านั้น ท่านยังได้มีจิตเมตตาในการมอบทุนทรัพย์
ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนการก่อสร้างอุโบสถ ศาลา
การเปรียญ กุฏิ และวิหารภายในวัดต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ
เช่น
๑. สร้างพระพุทธรูปใหญ่ ณ วัดเขาพระงาม (วัดสิริจันทร
นิมิต วรวิหาร) อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ร่วมกับท่านเจ้าคุณ
พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) โดยใช้ไหกระเทียมใน
สมัยนั้นเป็นมวยผม (พระเกศ)
๒. สร้างพระนาคปรก ร่วมกับท่านพ่อลี ธัมมธโร
เจ้าอาวาสวัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ ในฐานะที่ท่านเป็น
สหธรรมิกกัน อีกทั้งท่านพ่อลียังเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีด้วย
๓. บูรณะมณฑปรอยพระพุทธบาท
๔. บูรณะศาลารัชมังคลาภิเษก ณ วัดสังกัสรัตนคีรี บน
ยอดเขาสะแกกรัง อาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
๕. สร้างพระพุทธรูปเนื้อโลหะ หน้าตักกว้าง ๓ เมตร
ประดิษฐาน ณ ศาลารัชมังคลาภิเษก
๖. ปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ หลวงปูุบุญมี ได้นาคณะศิษยานุ
ศิษย์ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปปางประทานพร สูง ๗ เมตร ๗๙
เซนติเมตร เนื้อโลหะทองเหลือง ถวายนามว่า “พระพุทธโชติปาละ
ชนะมาร”, สร้างพระสังกัจจายน์เป็นปูนป๎้น ขนาดหน้าตักกว้าง ๓
เมตร ถวายนามว่า “พระสังกัจจายน์โชติปาโล” และสร้างพระสิวลี
ถวายนามว่า “พระสิวลีโชติปาโล” เพื่อนาไปประดิษฐานไว้ ณ
วัดสังกัสรัตนคีรี บนยอดเขาสะแกกรัง อาเภอเมือง จังหวัด
อุทัยธานี ซึ่งเป็นสถานที่จัดงานประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะที่
ยิ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
๗. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างอุโบสถ วัดบ้านกุดมะฮง
อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร
๘. สร้างพระเจ้าใหญ่ และบูรณะหอระฆัง ณ วัดบ้านบ่อ
อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ
๙. สร้างพระพุทธรูปสูง ๓ เมตร ณ วัดถ้ากลองเพล อาเภอ
เมือง จังหวัดอุดรธานี
๑๐. สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิ สูง ๓ เมตร จานวน ๒
องค์ ณ เมืองเชียงรุ้ง ประเทศจีน
๑๑. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างวัดปุาภูถ้าพระ อาเภอเลิง
นกทา จังหวัดยโสธร
๑๒. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างวัดคอนสวรรค์ อาเภอเลิง
นกทา จังหวัดยโสธร
๑๓. ให้การอุปถัมภ์และช่วยเหลือวัดต่างๆ ในจังหวัด
อุบลราชธานี ได้แก่ วัดบ้านก้านเหลือง, วัดบ้านตาแย, วัดบ้าน
หนองหว้า, วัดบ้านหนองมุก, วัดสาราญนิเวศน์, วัดบ้านระเว,
วัดบ้านนาจาน, วัดบ้านดอนจืด, วัดบ้านด้ามพร้า, วัดบ้านปลาดุก
น้อย, วัดบ้านยางลุ่ม, วัดปุาอาเภอม่วงสามสิบ, วัดบ้านกุดลาด,
วัดบ้านกระโสบ และวัดบ้านหมากมี่ (วัดบ้านขนุน) เป็นต้น
นอกจากนั้นหลวงปูุบุญมียังรับกิจนิมนต์ไปแสดงธรรม
เทศนาตามสถานที่ต่างๆ โดยไม่เลือกปฏิบัติ เป็นกิจวัตรที่ท่านได้
ปฏิบัติเป็นประจาจนทาให้ญาติโยมเลื่อมใสศรัทธา และมาร่วม
ทาบุญจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ
• ผลงานด้านสาธารณประโยชน์
นอกจากภารกิจในการบริหารจัดการวัดสระประสานสุข
และวัดวาอารามต่างๆ แล้ว หลวงปูุบุญมียังมีจิตเมตตาบริจาค
เงินทุนสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันแก่โรงเรียนที่ขาดแคลน,
มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจนขาดแคลนทุน
ทรัพย์ ปีละ ๒๐ ทุน, บริจาควัสดุต่อเติมและก่อสร้างอาคารเรียน
ให้กับโรงเรียน, สร้างรั้วกาแพงให้กับโรงเรียนบ้านนาเมือง ซึ่งเป็น
โรงเรียนเก่าแก่ของบ้านนาเมือง เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ประโยชน์
ทางด้านการศึกษาต่อไป นอกจากนั้นหลวงปูุยังได้นาญาติโยม
ชาวบ้านนาเมือง ช่วยกันตัดถนนจากบ้านนาเมืองเชื่อมต่อไปยัง
บ้านดงหนองแสน ตาบลไร่น้อย เป็นระยะทาง ๓ กิโลเมตร โดย
ไม่ได้ใช้งบประมาณของทางราชการแต่อย่างใด เพื่อทาให้การ
สัญจรไปมาของชาวบ้านในละแวกนั้นสะดวกยิ่งขึ้น และกิจกรรม
สาคัญอีกประการหนึ่งที่หลวงปูุได้ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ คือ การไถ่
ชีวิตโค กระบือ โดยซื้อมาก่อนที่จะถูกนาไปยังโรงฆ่าสัตว์ แล้ว
นามาบริจาคให้กับชาวบ้านที่ยากจนได้เอาไปเลี้ยงเพื่อใช้แรงงาน
ประกอบอาชีพต่อไป
• ผลงานด้านสังคมสงเคราะห์
หลวงปูุบุญมี ท่านเป็นพระผู้มีเมตตาจิตแก่ญาติโยมและ
ประชาชนชาวจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียงทั่วไป
หลวงปูุเห็นความสาคัญของการช่วยเหลือคนไข้ที่ขาดแคลนตาม
โรงพยาบาล จึงได้บริจาคอุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ เช่น
เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องดูดเสมหะ เครื่องตรวจเลือด ให้กับ
โรงพยาบาลต่างๆ เช่น
๑. โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อาเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธานี
๒. โรงพยาบาลสาโรง อาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี
๓. โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อาเภอเดชอุดม จังหวัด
อุบลราชธานี
๔. โรงพยาบาลน้ายืน อาเภอน้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี
๕. โรงพยาบาลดอนมดแดง อาเภอดอนมดแดง จังหวัด
อุบลราชธานี
๖. โรงพยาบาลเขมราฐ อาเภอเขมราฐ จังหวัด
อุบลราชธานี
๗. โรงพยาบาลทุกอาเภอในจังหวัดศรีสะเกษ
๘. โรงพยาบาลจังหวัดเชียงใหม่
นอกจากนั้นในวันทาบุญคล้ายวันเกิดของหลวงปูุบุญมี
ท่านได้มอบทุนการศึกษา เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การศึกษา
รวมทั้งให้ทานแก่เด็กพิการในจังหวัดอุบลราชธานี ให้ทานวัวที่ไถ่
ชีวิตมาจากโรงฆ่าสัตว์ให้กับชาวบ้านที่ยากจนเป็นประจาทุกปี
บริจาคเสื้อผ้า ข้าวสารอาหารแห้งให้กับศูนย์ชาวเขาแม่ฟูาหลวง
ตลอดจนบริจาคอุปกรณ์เครื่องเขียนต่างๆ ให้กับชาวเขาในจังหวัด
เชียงใหม่ ให้ข้าราชการศูนย์หม่อนไหมจังหวัดอุบลราชธานี พัฒนา
สถานที่ต่างๆ และยังจัดหาแหล่งน้าดื่ม น้าใช้ ให้กับหมู่บ้านต่างๆ
ในจังหวัดอุบลราชธานี
• ผลงานด้านการเผยแผ่ธรรม
หลวงปูุบุญมี เป็นพระอริยสงฆ์ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพรหม
วิหาร ๔ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา จะเห็นได้จากเวลาที่
หลวงปูุฉันภัตตาหารเช้า จะมีผู้นาอาหารมาถวายเป็นจานวนมาก
เมื่อฉันเสร็จแล้ว หลวงปูุจะแบ่งป๎นอาหารที่เหลือนั้นให้กับทุกคนๆ
ให้นากลับไปเลี้ยงดูบุตรหลาน และพ่อแม่ที่อยู่ทางบ้านโดยทั่วถึง
กัน ญาติโยมที่นาอาหารไปถวายหลวงปูุต่างก็มีความอิ่มเอิบใจ
เพราะนอกจากเป็นการถวายทานแก่หลวงปูุแล้ว ยังได้ทาทานกับ
คนทั่วไปอีกทางหนึ่ง ซึ่งการให้อาหารนี้หลวงปูุให้โดยการโยนและ
ขว้างอาหารหรือสิ่งของให้กับคนที่ท่านต้องการให้ กระทั่งมีลูกศิษย์
ลูกหาเคยนมัสการถามหลวงปูุว่า “ทาไมจึงโยนและขว้างสิ่งของ
ให้” หลวงปูุบอกว่า “เป็นการเตือนสติสัมปชัญญะประจาตัวอยู่
ตลอดเวลา”
นอกจากการอบรมสั่งสอนแก่ญาติโยมที่มากราบไหว้ และ
ทาบุญที่วัดแล้ว หลวงปูุยังได้ออกเทศนา ปาฐกถาธรรม และ
สนทนาธรรมแก่ประชาชนทั่วไป ตามสถานที่ราชการ โรงเรียน
หมู่บ้านต่างๆ มาโดยตลอด
• ทางด้านหลักธรรมและคาสอน
หลวงปูุบุญมีท่านเป็นอริยสงฆ์ที่มีปฏิปทาและศีลาจริยวัตร
อันงดงาม ชอบธรรม เดินทางสายกลางอันเป็นข้อปฏิบัติธุดงควัตร
สายพระกรรมฐานอย่างเสมอต้นเสมอปลาย เจริญรอยตาม
หลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ และพ่อแม่ครูบาอาจารย์
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์
สิริจันโท), พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และท่านเจ้าคุณพระศาสน
ดิลก (เสน ชิตเสโน) ซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ของหลวงปูุ มาโดยตลอด
หลักธรรมคาสอนของหลวงปูุจึงมีคุณค่าอย่างยิ่ง และมีคาผญา
ภาษิตอีสานแทรกอยู่ทุกครั้ง ทาให้เข้าใจง่าย รู้ถึงคุณค่าของ
หลักธรรมและคาสอนของพระพุทธองค์
นอกจากนี้ท่านยังเน้นการอบรมสั่งสอนให้รู้คุณของพระ
แก้ว ๒ องค์ คือ บิดา มารดา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ในบ้านที่ทุกคน
ควรกราบไหว้บูชาตลอดกาล สอนให้ทุกคนบาเพ็ญตนตามหลัก
กุศลสมาทาน สอนให้รู้จักศาสนากับสังคมไทย การประหยัดและ
อดออมตามหลักพระพุทธศาสนา สาหรับการปฏิบัติธรรม ท่าน
สอนให้ปฏิบัติธรรมเป็นกิจวัตรประจาวัน โดยการนั่งสมาธิภาวนา
ทุกครั้ง ในเทศกาลวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆ ท่านจะให้
บาเพ็ญทานบารมี สมาทานศีล ปฏิบัติภาวนาเพื่อถวายเป็นพระ
ราชกุศลแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์
ทุกครั้ง
• บุคคลตัวอย่างของจังหวัดอุบลราชธานี
หลวงปูุบุญมีท่านเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีโดยกาเนิด
เกิดที่บ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ครั้นเมื่ออุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ได้อุทิศตนเป็นสงฆ์สาวกของ
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาหน้าที่สืบทอดและเผยแผ่
หลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ตลอดชีวิตในสมณเพศ หลวงปูุ
บุญมีท่านได้ทาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจังหวัดอุบลราชธานี
ที่บ้านเกิดเมืองนอนของท่าน เห็นได้จากการเริ่มต้นพัฒนาวัดสระ
ประสานสุข จากวัดปุาธรรมดาให้เจริญรุ่งเรืองมาตามลาดับจนเป็น
วัดปฏิบัติที่มีชื่อเสียง ญาติโยมประชาชนจากทั่วทุกสารทิศมีจิต
เลื่อมใสศรัทธาเดินทางมากราบนมัสการหลวงปูุกันอย่าง
ไม่ขาดสาย
เมื่อครั้งที่จังหวัดอุบลราชธานีได้จัดงานสมโภชเฉลิมฉลอง
การก่อตั้งเมืองอุบลราชธานีครบ ๒๐๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๕
มีการจัดทาหนังสือที่ระลึกชื่อว่า อุบลราชธานี ๒๐๐ ปี โดยได้มี
การคัดเลือกและรวบรวมประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญ
บุคคลตัวอย่าง ที่เป็นชาวอุบลราชธานีโดยกาเนิดและได้ทา
ประโยชน์นาความเจริญมาสู่จังหวัดอุบลราชธานี ในครั้งนั้น พระ
ครูไพโรจน์ รัตโนบล(หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) เจ้าอาวาสวัดสระ
ประสานสุข ท่านได้รับคัดเลือกและยกย่องให้เป็นพระสงฆ์ที่น่า
เคารพนับถือทางด้านพระเถระสายวิป๎สสนาธุระในจังหวัด
อุบลราชธานี จึงถือได้ว่าท่านเป็นพระสงฆ์ตัวอย่างที่ชาวจังหวัด
อุบลราชธานีสมควรยกย่องให้เป็น “พระดีศรีอุบล” และเป็น
“พระดีศรีแผ่นดิน” ที่ชาวไทยทั่วประเทศสมควรเอาเป็นตัวอย่าง
ตลอดไป
ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู
สัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ที่พระครูไพโรจน์ รัตโนบล
ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อน
สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอาราม
หลวงชั้นพิเศษในราชทินนามเดิม
ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณ
ศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระภาวนาวิศาลเถร ฝุายวิป๎สสนา เป็น
เกียรติคุณตลอดไป
• การอาพาธและการรักษา
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้เจริญในธรรม
และพรรษายุกาลด้วยดีตลอดมา ถึง ๙๕ ปี ได้อาพาธด้วยโรคชรา
ปอดอักเสบ และมีโรคแทรกซ้อนมาตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม
๒๕๔๖ ท่านได้รับการดูแลรักษาจากคณะแพทย์พยาบาล
ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และศรัทธาสาธุชน ศิษยานุศิษย์ เป็นอย่างดียิ่ง
ตลอดมา โดยได้พักรักษาอาการอาพาธอยู่ที่วัดภายในกุฏิ
วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระเจ้า
วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ เสด็จ
เป็นการส่วนพระองค์เยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปูุบุญมี
โชติปาโล ทรงมีพระราชปฏิสันฐานสอบถามอาการอาพาธกับ
หลวงปูุเป็นระยะ แม้หลวงปูุบุญมีจะทูลตอบถวายพระองค์ไม่ได้
แต่ก็ได้แสดงออกถึงความปิติ กับตอบทางสีหน้า พร้อมยกแขน
แสดงถึงการรับรู้เรื่องที่ทรงพระกรุณารับสั่งถาม เวลา ๑๑.๑๕ น.
พระภาวนาวิศาลเถร(บุญมี โชติปาโล) ได้ถึงแก่การมรณภาพ
ละสังขารลงด้วยอาการอันสงบ รวมสิริอายุ ๙๕ ปี ๓ เดือน ๙ วัน
๗๔ พรรษา
โดยมีพระบรมวงศานุวงศ์ที่เสด็จวัดสระประสานสุข
(วัดบ้านนาเมือง) เพื่อกราบนมัสการพระภาวนาวิศาลเถร(หลวงปูุ
บุญมี โชติปาโล) ดังต่อไปนี้
วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม
มกุฎราชกุมาร
วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม
มกุฎราชกุมาร พร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์
พระวรชายาฯ
วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์
เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์
เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
รูปภาพเหตุการณ์สาคัญ
พระภาวนาวิศาลเถร
(หลวงปูุบุญมี โชติปาโล)
ปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ ได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์
เป็นพระครูสัญญบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์
“พระครูไพโรจน์ รัตโนบล”
เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ในวโรกาสมหามงคลเฉลิม
พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ในราชทินนามที่
“พระภาวนาวิศาลเถร พระราชาคณะ ฝุายวิป๎สสนาธุระ”
เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ)
โปรดให้ฉายภาพที่ตาหนักที่ประทับ และอาราธนา
หลวงปูุบุญมี เมื่อมีศาสนกิจที่กรุงเทพมหานคร
ให้ค้างแรม ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
"สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา
สังฆปริณายก และ หลวงปู่บุญมี โชติปาโล : กัลยาณมิตรด้วย
ความเมตตา" เชื่อว่าพุทธศาสนิกชนคนไทยคงจะเคยได้เห็นภาพ
ต่อไปนี้ที่ทรงคุณค่าอย่างยิ่ง เป็นการแสดงถึงความมีกัลยาณมิตร
ด้วยความเมตตาระหว่างสมเด็จพระสังฆราชฯ และ หลวงปูุบุญมี
โชติปาโล
ภาพข้างต้นเป็นภาพเมื่อครั้งพิธีพุทธาภิเษกเสร็จสิ้น
หลวงปูุบุญมีได้ลุกจากอาสนะสงฆ์ที่นั่งอยู่ แล้วเดินตรงเข้ามาหา
ยืนต่อเบื้องพระพักตร์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ
โดยมิได้ทรุดกายลงกราบ พร้อมกับเอาผ้าขนหนูผืนน้อยที่ไว้
สาหรับเช็ดหน้าเช็ดปากลูบไล้เช็ดตามพระวรกาย ตั้งแต่พระเศียร
(หัว) พระพักตร์ (หน้า) วนไปวนมาอยู่หลายรอบ เสร็จแล้วลงมาที่
พระพาหา (ไหล่) พระกร (แขน) และพระอุระ (หน้าอก) อย่างที่ไม่
มีใครนึกฝ๎นหรือคาดคิดมาก่อน สร้างความตกตะลึงพรึงเพริดให้
บังเกิดขึ้นแก่ศิษย์อุป๎ฏฐากของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ
พระสังฆราชฯ และทุกๆ คนที่ไม่ทราบความนัยเป็นอย่างยิ่ง และ
เมื่อเห็นทุกๆ คน (ยกเว้นแต่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ
พระสังฆราชฯ) บังเกิดความสงสัยแปลกใจอย่างเต็มที่ ศิษย์ติดตาม
หลวงปูุบุญมีจึงกราบทูลชี้แจงในอริยาการดังนั้นมาทีเดียวว่า
"หลวงปูุกาลังทาพิธีต่อพระชนมายุถวายแด่ฝุาพระบาทอยู่ขอรับ
กระหม่อม" เมื่อถึงที่สุดแห่งการพิธี หลวงปูุบุญมีได้ก้มลงกราบที่
พระอุระ (หน้าอก) โดยมิได้พูดอะไรออกมาแม้แต่คาเดียว ขณะที่
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ เองก็มิได้ออกพระ
วาจา หรือแสดงอาการหลบเลี่ยงอย่างไม่สบพระทัยแต่อย่างใด
ทั้งสิ้น จากนั้นหลวงปูุบุญมีก็ได้กุมพระหัตถ์ของสมเด็จพระญาณ
สังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ขึ้นอธิษฐานเหมือนหนึ่งจะถวายพระ
พรให้ทรงพระเจริญด้วยพระชนมายุยิ่งยืนนานกว่า ๑๐๐
พระวัสสา ค้าชูบูชาคุณบวรพระพุทธศาสนาให้สถาพรสืบต่อไป
ตราบชั่วจิรกาลเป็นป๎จฉิมวาระ (อ้างอิงจาก Facebook กลุ่ม
“พระอรหันต์ สายหลวงปูุมั่น” หลวงปูุบุญมี โชติปาโล)
ก้มกราบสมเด็จพระสังฆราช
ได้บุญมากชาตินี้ดีนักหนา
สักการะน้อมเกล้าไหว้วันทา
เป็นบุญญาค่ายิ่งจริงอย่างเห็น
จิตงดงามตามธรรมนาชีวี
บุญมากมีดีคิดจิตบาเพ็ญ
ร่วมสานธรรมทาดีมิว่างเว้น
ไม่ยากเย็นเข็ญใจได้ร่วมธรรม
ทุกชีวิตจิตผูกต่างเกี่ยวข้อง
ต่างเกี่ยวดองต้องจิตมิตรน้อมนา
บุญเกื้อหนุนคุณค่าพาหาธรรม
เป็นประจาทาดีบุญมีเอย
จึงประจักษ์ได้ว่าความมีกัลยาณมิตรด้วยความเมตตาซึ่งกัน
และกันระหว่างสมเด็จพระสังฆราชฯ และ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล
ข้างต้นนั้น เป็นสิ่งที่ประเสริฐยิ่งนัก เพราะความ "เมตตา" เป็นพระ
ธรรมข้อแรกของพรหมวิหาร ๔ ที่เราชาวพุทธศาสนิกชนคนไทย
ควรต้องมีให้กันมากๆ และเมื่อมีความเป็นกัลยาณมิตรกันแล้วจะ
ทาให้เกิดความเมตตาต่อกันและกันมากยิ่งๆ ขึ้นไป
กัลยาณมิตร เมตตาจิตคิดเรื่องดี
เมตตาให้มากมี ส่งผลดีมีต่อกัน
ข้อแรกพรหมวิหาร จิตประสานส่งให้กัน
เมตตาที่สร้างสรรค์ จะสุขสันต์ป๎นส่งบุญ
เมตตาค้าจุนโลก ไม่ทุกข์โศกมีเกื้อกูล
เมตตาย่อมเป็นคุณ ได้เจือจุนบุญต่อไป
เริ่มต้นจิตเมตตา ธรรมนาพามาสู่ใจ
ค่อยทาทุกวันไป จะสุขใจทุกเช้าเย็น
เมตตากันทุกคน เกิดเป็นคนจิตบาเพ็ญ
เมตตาไม่ยากเย็น จิตต้องเห็นธรรมเข้ามา
แค่ยิ้มเริ่มต้นได้ ยิ้มจากใจได้เมตตา
ลองทาทุกเวลา เกิดคุณค่าในจิตใจ
เมตตาน้อมดวงจิต เนรมิตขึ้นทันใด
เมตตานั้นยิ่งใหญ่ ต้องทาไว้ได้บุญเอย
งานอายุวัฒนะหลวงปูุบุญมี โชติปาโล พระครูอุดมสังฆกิจ เจ้าอาวาสวัดก้านเหลืองสรง
น้าถวายหลวงปูุบุญมี โชติปาโล
หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านโปรดสัตว์บิณฑบาตวันออกพรรษาตักบาตร
เทโวโรหะนะเป็นประจาทุกปีไม่เคยขาด
หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านจะทาพิธีแผ่เมตตาปล่อยไก่ ปลา วัน และสัตว์อื่นอีกเป็น
จานวนมาก พร้อมทั้งท่านจะทาน้ามนต์ให้ศิษยานุศิษย์ที่มาหาทุกๆ คน น้าพุทธมนต์นี้ท่านจะทา
เฉพาะวันเสาร์เวลา ๐๗.๓๐ น. เท่านั้น
หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านแผ่เมตตาปล่อยสัตว์ทุกๆ เช้าวันเสาร์
ณ วัดสระประสานสุข
วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๙ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ทาพิธีเวลาเที่ยงตรง เพื่อสร้าง
หอพระบาตรสวรรค์ ณ ตรงโนนดิน ด้านทิศตะวันออกของวัดสระประสานสุข
พระธรรมเทศนาสมณกถา
พระเทพกวี (มนตรี คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหา
สีมาราม แสดงในการทรงบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์
สตมวารศพพระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล)อดีตเจ้าอาวาส
วัดระประสานสุขตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
ณ ศาลาบาเพ็ญกุศล วัดสระประสานสุข เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๒
กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗
พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)
ขอถวายพระพรเจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล
พระชนม์สุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราช
สมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บัดนี้ จักรับพระราชทาน
ถวายพระธรรมเทศนาสนองพระเดชพระคุณประดับพระป๎ญญา
บารมี ถ้ารับพระราชทานถวายวิสัชชนาไป มิได้ถูกต้องตามโวหาร
อรรถาธิบายในพระธรรมเทศนา ณ บทใดบทหนึ่งก็ดี ขอเดชะ
พระเมตตาคุณ พระกรุณาคุณ พระขันติคุณ ทรงพระกรุณาโปรด
พระราชทานอภัยแก่อาตมาผู้มีสติป๎ญญาน้อย ขอถวายพระพร…
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส
โย จ สเมติ ปาปานิ อณฺถฺสานิ สพฺพโส
มิตตฺตา หิ ปาปาน สมโณติ ปวุจฺจติ
บัดนี้ จักรับพระราชทานถวายพระธรรมเทศนา ใน
สมณกถา สนองพระเดชพระคุณ ประดับพระป๎ญญาบารมีอนุรูป
แก่พระราชกุศลราศีทักษิณานุประทานกิจ ที่สมเด็จบรมบพิตร
พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ได้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์อุทิศศพ
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระ
ประสานสุข ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งได้
ถึงแก่มรณภาพครบ ๑๐๐ วัน ในวันนี้
การพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์ ที่ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทาน เป็นพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ
พระราชสุขประโยชน์เกียรติคุณอันแผ่ไพศาลแก่พสกนิกรทุกถ้วน
หน้า เป็นพระราชกุศลธรรมจริยาอาจิณปฏิบัติ ที่ทรงปฏิบัติ
บาเพ็ญเสมอมา เป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมหา
ที่สุดมิได้
นับแต่กาลถึงมรณภาพของพระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี
โชติปาโล) สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้าทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานน้าหลวงสรงศพ พระราชทานหีบทองทึบ
ประดิษฐานศพ พระราชทานพวงมาลาหน้าศพ ทรงรับศพ
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ไว้ในพระบรมราชานุ
เคราะห์โดยตลอดเป็นพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ หาที่สุดมิได้
เป็นเกียรติยศอันสูงยิ่งที่ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานแด่
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) เป็นอย่างยิ่ง
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) นามเดิม บุญมี
นามสกุล กุศลคุณ เกิด ณ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช
๒๔๕๒ ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปีระกา ซึ่งตรง
กับวันสาคัญในทางพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา ณ บ้านเลขที่
๑๓๖ หมู่ ๒ ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โยม
บิดาชื่อ นายกุ โยมมารดา ชื่อ นางเลื่อน กุศลคุณ
ปฐมวัย ท่านได้รับการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
จากโรงเรียนบ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัด
อุบลราชธานี ต่อมาโยมมารดาได้นาไปฝากหลวงปูุสีทา ชยเสโน ซึ่ง
เป็นญาติ เพื่อเป็นศิษย์ปฏิบัติและศึกษาปฏิบัติธรรม ท่านจึงได้มี
โอกาสพบเห็นและกราบนมัสการหลวงปูุเสาร์ กนฺตสีโล และพระ
อาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ซึ่งท่านอาจารย์ทั้งสองได้แวะเวียนมากราบ
นมัสการหลวงปูุสีทา ชยเสโน ซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ และ อาจารย์
ใหญ่ฝุายวิป๎สสนา ในสมัยนั้น
เมื่อหลวงปูุสีทา ชยเสโน ได้ถึงแก่มรณภาพลง โยมมารดา
ได้พาท่านไปถวายตัวบวชเป็นสามเณร ที่วัดศรีทอง (วัดศรีอุบล
รัตนาราม) ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อ
ศึกษาปริยัติธรรมและสามารถสอบนักธรรม ตรี โท เอก ได้ที่สานัก
เรียนวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
นอกจากนั้น ท่านยังมีความสามารถพิเศษ ได้ศึกษาอักษร
ขอมสามารถอ่านออกเขียนได้ และยังมีความชานาญในการอ่าน
หนังสือขอมสมัยโบราณ และมีความสามารถทางด้านการใช้
ภาษาผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างดี สามารถนามาใช้ในการเทศนา
สั่งสอน เป็นคาสอนเป็นที่ประทับใจและเกิดศรัทธาแก่ผู้ได้ฟ๎ง
พระธรรมเทศนาคาสอนของท่านเป็นอย่างมาก
ในระหว่างที่เป็นสามเณร ท่านได้รับความเมตตาจากพระ
อาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้เมตตานาท่านไปอยู่จาพรรษากับท่านที่
จังหวัดสกลนคร จึงเป็นเหตุให้ท่านได้ใกล้ชิด ได้ปฏิบัติวัตรถวาย
อุปฐากและศึกษาปฏิบัติธรรมอย่างใกล้ชิดกับพระอาจารย์มั่น
ภูริทตฺโต เป็นอย่างมาก เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี ท่านได้รับการ
อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดศรีทอง เมื่อวันศุกร์ ขึ้น
๑๕ ค่า เดือน ๖ ปีมะแม ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๕ พฤษภาคม
พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งตรงกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา คือ
วันวิสาขบูชา โดยมีพระศาสนดิลก (เสน ชยเสโน) เป็นพระ
อุป๎ชฌาย์ พระมหาสว่าง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์
เพ็ง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ว่า โชติปาโล
หลังจากอุปสมบทแล้ว ท่านได้มีโอกาสพบและกราบ
นมัสการพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ซึ่งเป็น
พระเถรผู้ใหญ่ในวงการคณะสงฆ์ ท่านได้รับความเมตตา ให้ตาม
ท่านไปอยู่จาพรรษาที่วัดบรมนิวาสและที่วัดเขาพระงาม (วัดสิริ
จันทรนิมิต) อีกด้วย
หลังจากนั้นท่านได้ออกจาริกธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ
เพื่อแสวงหาความสงบ ความหลุดพ้นแห่งจิตใจท่านได้ออกจาริกไป
พร้อมกับพระอาจารย์พระมหาสว่าง ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของท่าน
โดยจาริกไปประเทศพม่า ลาว เขมร เวียดนาม และจีน
เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศไทยแล้ว ท่านได้เดินทางไป
ช่วยพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม (พระญาณวิศิษฎ์) สร้างวัดปุา
สาลวัน อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งแต่เดิมเป็นปุาช้า
สาลวัน ที่ปฏิบัติบาเพ็ญธรรมของพระอาจารย์ทั้งหลาย
ต่อมาได้ร่วมกับ หลวงพ่อลี ธมฺมธโร (พระวิสุทธิธรรมรังสี
คัมภีร์เมธาจารย์) สร้างวัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อ
เป็นศูนย์วิป๎สสนากัมฐาน และได้ร่วมกับพระอาจารย์ฝ๎้น อาจาโร
สร้างวัดปุาสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่
พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ทั้งได้ร่วมกับพระอาจารย์ดี ฉนฺโน สร้าง
วัดภูเขาแก้ว อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี อีกวัด
หนึ่งด้วย
ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ ท่านได้กลับมายังจังหวัด
อุบลราชธานี ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสระ
ประสานสุขสืบต่อจากพระศาสนดิลกซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ ท่านได้
เริ่มพัฒนาวัดสระประสานสุข (วัดบ้านนาเมือง) ซึ่งเป็นวัดบ้านเกิด
ของท่าน จนมีความมั่นคงเจริญรุ่งเรืองเป็นที่ศรัทธาและเลื่อมใสแก่
ศรัทธาสาธุชน ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัด
ใกล้เคียงทั่วไป โดยที่วัดมีอาณาเขตติดกับเขตทหารอากาศ
กองบินที่ ๒๑ จึงเป็นเหตุให้ข้าราชการทหารอากาศได้เข้าวัด
ทาบุญ ตลอดทั้งมีศรัทธาอุปสมบทจาพรรษา ณ วัดสระประสาน
สุขนี้ตลอดมา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานสมณศักดิ์ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ เป็นพระครูสัญญา
บัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎ์ ที่พระครูไพโรจน์ รัตโนบล
ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อน
สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอาราม
หลวงชั้นพิเศษในราชทินนามเดิม
ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณ
ศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่ พระภาวนาวิศาลเถร ฝุายวิป๎สสนา
เป็นเกียรติคุณตลอดไป
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้เจริญในธรรม
และพรรษายุกาลด้วยดีตลอดมา ถึง ๙๕ ปี ได้อาพาธด้วยโรคชรา
ปอดอักเสบ และมีโรคแทรกซ้อนมาตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม
๒๕๔๖ ท่านได้รับการดูแลรักษาจากคณะแพทย์พยาบาล
ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และศรัทธาสาธุชน ศิษยานุศิษย์ เป็นอย่างดียิ่ง
ตลอดมา โดยได้พักรักษาอาการอาพาธอยู่ที่วัดภายในกุฏิ
วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระเจ้าวรวงศ์
เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ เสด็จเป็นการ
ส่วนพระองค์เยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปูุบุญมี โชติปาโล ทรงมี
พระราชปฏิสันฐานสอบถามอาการอาพาธกับหลวงปูุเป็นระยะ
แม้หลวงปูุบุญมีจะทูลตอบถวายพระองค์ไม่ได้ แต่ก็ได้แสดงออกถึง
ความปิติ กับตอบทางสีหน้า พร้อมยกแขนถึงการรับรู้ถึงเรื่องที่ทรง
พระกรุณารับสั่งถาม เวลา ๑๑.๑๕ น. พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี
โชติปาโล) ได้ถึงแก่การมรณภาพละสังขารลงด้วยอาการอันสงบ
รวมสิริอายุ ๙๕ ปี ๓ เดือน ๙ วัน ๗๔ พรรษา
พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้ประกอบ
กรณียกิจ สมฐานะภาวะของสมณะในพระพุทธศาสนาอย่าง
สมบูรณ์โดยแท้ต้องตามพุทธภาษิตที่ได้ยกเป็น บทอุทเทสว่า
โย จ สเมติ ปาปานิ อณฺถฺสานิ สพฺพโส
มิตตฺตา หิ ปาปาน สมโณติ ปวุจฺจติ
แปลความว่า ผู้ใดระงับบาปน้อยใหญ่ได้โดยประการทั้งปวง
ท่านเรียกผู้นั้นว่าสมณะ เพราะเป็นผู้ระงับ
คาว่าสมณะ แปลว่า ผู้สงบ หมายถึง นักบวชผู้สละการ
ครองเรือนออกบวชถือเพศบรรพชิตถือเพศพระหรือสมณะถือศีล
วัตรปฏิบัติตนมุ่งสู่ความสงบแห่งจิตใจสงบระงับกิเลส บาปธรรม
อันเป็นของโลกิยวิสัยเสียให้ได้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียก สาวก
บริษัท และบรรพชิต ว่า สมณะ เพราะมาละบาป อกุศล ทุจริต
และระงับบาปอกุศลต่างๆ เสียได้
บาป ได้แก่ ความชั่ว ความเศร้าหมอง มีสภาพทาให้จิตใจ
เศร้าหมอง ขุ่นมัว ทาจิตใจให้ตกต่า บาปเมื่อมีอานาจครอบงา
จิตใจของบุคคลได้แล้วย่อมชักนาบุคคลให้กระทา พูดและคิด
ในทางที่ผิดเสื่อมทราม และเศร้าหมองเป็นไปเพื่อทาลายความสงบ
สุข ก่อความทุกข์เดือดร้อนทั้งแก่ตนและผู้อื่น
บาปนั้นเกิดจากการกระทา ทางกาย ทางวาจา และทางใจ
ที่เป็นอกุศลทุจริต เป็นความประพฤติผิดก่อความทุกข์ยาก
เดือดร้อนเวรภัย และเศร้าหมอง ผู้ประพฤติบาปกรรมเป็นผู้เศร้า
หมอง เป็นผู้ประพฤติผิด ไม่ว่าผู้นั้นจะอยู่ในเพศภาวะใดก็ตาม ก็ได้
ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติผิด และจะต้องได้รับผลกรรมของบาปนั้นๆ
เมื่อบาปกรรมนั้นเองให้ผล
การทาล้างผลาญหรือการเบียดเบียนทรมานชีวิตจิตใจของ
บุคคลอื่นสัตว์อื่นด้วยศาสตราวุธหรือด้วยกายก็ตาม การถือเอา
สิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ด้วยอาการอันเป็นโจรก็ตาม แม้การ
ประพฤติผิดในทางประเวณี ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความแตกร้าวในหมู่
มนุษย์ก็ตาม การเข้าไปกล่าวร้ายว่าร้ายผู้อื่นด้วยวาจาก็ตาม
เหล่านี้ก็จัดว่าเป็นบาปอกุศลทุจริต เป็นการฆ่าการเบียดเบียนทั้ง
โดยตรงและโดยอ้อม ผู้ประพฤติเช่นนี้ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ฆ่าผู้
เบียดเบียน ผู้เข้าไปทาลายล้างผลาญผู้อื่นสัตว์อื่นให้ทุกข์ยาก
เดือดร้อน ส่วนบุคคลผู้มีเมตตาเป็นวิหารธรรมเป็นปกติอัธยาศัย
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)

More Related Content

What's hot

กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)Tongsamut vorasan
 
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
บาลี 23 80
บาลี 23 80บาลี 23 80
บาลี 23 80Rose Banioki
 
ปุลากง
ปุลากงปุลากง
ปุลากงSunnywimp
 
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาพุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาNaronglit Kunsiri
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tongsamut vorasan
 
เมตตาของหลวงปู่
เมตตาของหลวงปู่เมตตาของหลวงปู่
เมตตาของหลวงปู่Samthor Dee
 
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔Tongsamut vorasan
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธleemeanshun minzstar
 

What's hot (16)

กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
3 32++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๖
 
หนังสือสวดธัมมจักรกัปปวัตนสูตร Dhammajak babmerainam
หนังสือสวดธัมมจักรกัปปวัตนสูตร Dhammajak babmerainamหนังสือสวดธัมมจักรกัปปวัตนสูตร Dhammajak babmerainam
หนังสือสวดธัมมจักรกัปปวัตนสูตร Dhammajak babmerainam
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 
บาลี 23 80
บาลี 23 80บาลี 23 80
บาลี 23 80
 
ปุลากง
ปุลากงปุลากง
ปุลากง
 
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนาพุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
พุทธประวัติเบื้องต้น-พระพุทธศาสนา
 
ประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏานประเทศภูฏาน
ประเทศภูฏาน
 
Learn good
Learn goodLearn good
Learn good
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
เมตตาของหลวงปู่
เมตตาของหลวงปู่เมตตาของหลวงปู่
เมตตาของหลวงปู่
 
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
2 22++พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๔
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
 

Similar to พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)

เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาพัน พัน
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21Krusangworn
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิตTongsamut vorasan
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 

Similar to พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล) (20)

เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์กุหลาบ สายประดิษฐ์
กุหลาบ สายประดิษฐ์
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิตพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   ธรรมนูญชีวิต
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ธรรมนูญชีวิต
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdfภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
ภิกขุปาฏิโมกข์ 3 ภาษา (บาลี , ไทย , โรมัน).pdf
 
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
บรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรมบรรณานุกรมพฤติกรรม
บรรณานุกรมพฤติกรรม
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 

พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)

  • 1.
  • 2. คานา หนังสือเล่มนี้ได้เรียบเรียงขึ้นมาเพื่อเป็นอนุสรณ์ในพิธี พระราชทานเพลิงศพพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระประสานสุข บ้านนาเมือง ตาบล ไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา ๔ ส่วน คือ ๑. ชีวประวัติและปฏิปทา ๒. รูปภาพเหตุการณ์สาคัญของพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) ๓. พระธรรมเทศนาสมณกถาของพระเทพกวี (มนตรี คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ที่ได้แสดงใน พิธีบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์สตมวารศพ พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) เมื่อวันอาทิตย์ ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ๔. ภาคผนวก ซึ่งประกอบด้วย การถ่ายทอดคาสอนของ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ตอน “ทาบุญนา (๒)” และ บทกาพย์กลอนถวายแด่หลวงปูุบุญมี โชติปาโล
  • 3. หนังสือเล่มนี้จึงจัดทาขึ้นเพื่อถวายการยกย่องพระเกียรติ พระคุณพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) ที่ท่านได้ บาเพ็ญบุญ ประกอบคุณงามความดีเป็นเกียรติเป็นศรีแก่พระบวร พุทธศาสนาและประเทศชาติบ้านเมือง คณะผู้จัดทาขอกราบ ขอบพระคุณครูบาอาจารย์ญาติโยมทุกๆ ท่านที่เมตตาและกรุณา ให้คาแนะนา รวมทั้งให้ข้อมูลที่สาคัญจากหลายๆ ส่วนที่เกี่ยวข้อง และขอน้อมจิตอนุโมทนาต่อท่านผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์เพื่อ เป็นทุนร่วมจัดพิมพ์หนังสือมา ณ โอกาสนี้ ขอบุญญานุภาพทั้งหลายในสากลโลก และขออานาจแห่ง คุณแห่งพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงเป็นตบะเดชะ พลวป๎จจัยให้ทุกๆ ท่านประสบความสุขความเจริญ ไพบูลย์ งอกงามในศาสนาธรรมคาสอนของสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมา สัมพุทธเจ้า โปรดดลบันดาลให้ปวงข้าพเจ้าทั้งหลายได้ถึงมรรค ผล นิพพาน ในป๎จจุบันและอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้น เทอญ… คณะศิษยานุศิษย์ ผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ หน้า คานา ชีวประวัติและปฏิปทา รูปภาพเหตุการณ์สาคัญของพระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) พระธรรมเทศนาสมณกถา ของพระเทพกวี (มนตรี คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ภาคผนวก - การถ่ายทอดคาสอนของหลวงปูุบุญมี โชติปาโล ตอน “ทาบุญนา (๒)” - บทกาพย์กลอนถวายหลวงปูุบุญมี โชติปาโล
  • 5. ชีวประวัติและปฏิปทา พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปู่บุญมี โชติปาโล) • ชาติภูมิ “พระภาวนาวิศาลเถร” หรือ “หลวงปูุบุญมี โชติปาโล” มี นามเดิมว่า บุญมี นามสกุล กุศลคุณ เกิดเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๕๒ ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปี ระกา ซึ่งตรงกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา ณ บ้านเลขที่ ๑๓๖ หมู่ที่ ๒ บ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอ เมือง จังหวัดอุบลราชธานี โยมบิดาชื่อ นายกุ กุศลคุณ โยมมารดา ชื่อ นางเลื่อน กุศลคุณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๑๐ คน เป็นชาย ๔ คน หญิง ๖ คน ท่านเป็นบุตรคนโต มีรายชื่อ ตามลาดับดังนี้ (๑) พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) (๒) นางสมบูรณ์ มูลมั่ง (๓) นายเผ่า กุศลคุณ (๔) นางสอน เนื่องเฉลิม (๕) นายเลิศ กุศลคุณ (๖) นางก้าน กุศลคุณ (๗) นายเผย กุศลคุณ
  • 6. (๘) นางอูบแก้ว ยอดกุล (๙) นางคาหล้า ทัศนาลักษณ์ (๑๐) นางคามั่น แก้วตา ป๎จจุบันยังมีชีวิตอยู่คนเดียวเท่านั้น คือ นางคามั่น แก้วตา หลวงปูุบุญมีท่านเคยเล่าให้ฟ๎งถึงเหตุผลที่ชื่อว่า บุญมี นั้น มีอยู่ว่า ก่อนที่โยมมารดาของท่านจะตั้งครรภ์ ได้ฝ๎นว่า หลวงปูุ สีทา ชยเสโน ซึ่งมีศักดิ์เป็นลุงของหลวงปูุได้เอาพร้ามาให้ แต่พร้า ด้ามนั้นเป็นสนิมไปหมด ในนิมิตนั้นโยมมารดาท่านได้ถามหลวงปูุ สีทาว่า “เอาพร้าขี้เมี่ยง (เป็นสนิม) นี้มาให้ทาไม ใช้ประโยชน์อะไร ก็ไม่ได้” หลวงปูุสีทาได้บอกว่า “ให้เอาไปฝน (ลับมีด) เสียก่อนจึง จะใช้การได้” เมื่อโยมมารดาจะคลอด ก็เกิดอาการเจ็บท้อง (เจ็บครรภ์) อยู่นานเป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ความทราบถึงพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ข้าหลวงต่างพระองค์ สาเร็จราชการ มณฑลอีสาน ซึ่งเป็นลูกศิษย์ของหลวงปูุสีทา ชยเสโน พระองค์จึง ได้เสด็จพร้อมกับหลวงปูุสีทา ชยเสโน มาเยี่ยมดูอาการโยมมารดา ว่าเป็นเพราะอะไรจึงคลอดยากเย็นหนักหนา ครั้นถึงเวลาเที่ยงตรง ในสมัยนั้นไม่มีเครื่องบอกเวลาเหมือนในป๎จจุบัน มีการบอกเวลา โดยการยิงปืนใหญ่เป็นสัญญาณ พอสิ้นเสียงปืนใหญ่ โยมมารดาก็ คลอดทารกเพศชายออกมาเป็นเวลาเที่ยงพอดี และเสด็จในกรม
  • 7. ทรงมีรับสั่งว่า “เด็กชายคนนี้ชะรอยจะเป็นผู้มีบารมีมาเกิด จะดีจะ ชั่วเพียงใดก็ไม่อาจรู้ได้ ขอให้ชื่อว่า บุญมี นะ” และมีรับสั่งให้โยม บิดาของหลวงปูุห่อพันตัวแล้วนาไปลอดใต้ท้องช้าง กลับไปกลับมา ๓ ครั้งเพื่อเป็นสิริมงคล หลวงปูุจึงได้ชื่อว่า “บุญมี” ตั้งแต่บัดนั้น เป็นต้นมา หลวงปูุบุญมีในวัยเด็กนั้นมีสุขภาพร่างกายบอบบาง ไม่ แข็งแรง เป็นเด็กที่เลี้ยงยาก เจ็บไข้อยู่บ่อยๆ สามวันดีสี่วันไข้ ตลอดเวลา จนชาวบ้านที่ผ่านไปมาที่เป็นหญิงจะแวะเวียนเอานม มาให้กินเพราะสงสาร รวมทั้งเอาด้ายมาผูกคอและแขนให้เป็น จานวนมากมาย เพื่อหวังให้สุขภาพร่างกายของเด็กชายบุญมี แข็งแรงยิ่งขึ้น ผีจะได้ไม่มารบกวน แต่ก็ไม่ค่อยได้ผลมากนัก จาก คาบอกเล่าของ นางคามั่น แก้วตา ผู้เป็นน้องสาวคนสุดท้อง เล่าว่า “หลวงปูุเล่าให้ฟ๎งว่า ตอนเมื่อเกิดมานั้น มีผิวที่บอบบางมาก มองเห็นฮอดไส้ในท้อง ตัวกะน้อย” แม้โยมมารดาได้ประคับประคองเลี้ยงดูเป็นอย่างดี แต่ก็ยัง เป็นห่วงลูกอยู่ตลอดเวลาว่าเป็นคนไม่ค่อยแข็งแรง ไม่อยากให้ไป ทามาหาเลี้ยงชีพที่เป็นงานหนักและอยู่ห่างไกล จึงบอกหลวงปูุว่า “ลูกเอ๋ยบวชแล้วอย่าสึกนะ” จากคาพูดนี่เอง ทาให้หลวงปูุบุญมี ราลึกอยู่เสมอว่า จะเข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อทดแทนพระคุณ พ่อแม่
  • 8. • การศึกษา หลวงปูุบุญมี ได้ศึกษาเล่าเรียนทั้งทางโลกและทางธรรม ตลอดจนการศึกษาพิเศษ ดังนี้ ปีพุทธศักราช ๒๔๖๕ จบชั้นประโยคประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนประชาบาล ในจังหวัดอุบลราชธานี (ทั้งนี้ โรงเรียน บ้านนาเมือง ก่อตั้งเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๘๓) ปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก (น.ธ.เอก) จากสานักเรียนวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ด้านการศึกษาพิเศษ หลวงปูุบุญมียังได้ศึกษาเล่าเรียน อักษรขอม อักษรธรรม อักษรไทยน้อย(ลาว) จนเกิดทักษะ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถอ่านออกเขียนได้อย่างชานาญ นอกจากนั้นหลวงปูุยังมีความสามารถทางด้านการใช้ภาษาผญา ภาษิตอีสาน เป็นอย่างดี สามารถนาเอามาใช้ในทางเทศนาธรรม และคาสอนของหลวงปูุ จนเป็นที่ประทับใจและสร้างศรัทธาแก่ลูก ศิษย์ลูกหาที่ได้ฟ๎งพระธรรมเทศนาทุกคน เช่น “ทางเป็นเค้าอย่า กวดหนามปก อย่าไปเทียวทางฮกปุาดงเสือฮ้าย เสือบายเจ้าบ่มีผู้ ซ่อย บัดห่าจ่อยบ่มีผู้ซ้าผู้แล”, “ให้เจ้าฟ๎นเฮือไว้หลายลาแฮท่า ให้
  • 9. เจ้าหม่าข่าวไว้หลายมื้อแขกสิโฮม” และ “ไฟไหม้ปุาจั่งเห็นหน้าหนู ฝนตกมาจั่งเห็นกะปู” ฯลฯ • การบรรพชาและการอุปสมบท ในขณะเรียนชั้นประถมศึกษา โยมมารดาได้พาหลวงปูุ บุญมีไปฝากเป็นลูกศิษย์วัดกับ หลวงปูุสีทา ชยเสโน (ซึ่งเป็นหลวง ลุง) ณ วัดบูรพา ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ทาให้ท่านได้มีโอกาสกราบนมัสการรับใช้ใกล้ชิด พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล และพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ซึ่งท่านอาจารย์ทั้งสองได้ แวะเวียนมากราบนมัสการเยี่ยมหลวงปูุสีทา ชยเสโน พระอุป๎ชฌาย์ใหญ่ฝุายวิป๎สสนาธุระในสมัยนั้นอยู่เสมอ เมื่อสิ้น หลวงปูุสีทา ชยเสโน ในปีพุทธศักราช ๒๔๖๘ โยมมารดาจึงนาไป บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) จังหวัด อุบลราชธานี และในระหว่างบรรพชาเป็นสามเณรนั้น พระอาจารย์มั่นได้เมตตานาสามเณรบุญมีติดตามไปจาพรรษาที่ จังหวัดสกลนครด้วย สามเณรบุญมีจึงมีโอกาสได้เรียนรู้ ซึมซับ ปฏิปทาจริยาวัตรของพระวิป๎สสนาจารย์อย่างใกล้ชิดตั้งแต่เยาว์วัย ถือได้ว่าท่านเป็นศิษย์ของพระอาจารย์มั่นอีกองค์หนึ่ง เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี หลวงปูุบุญมีได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัด ศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม) จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๔ ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่า
  • 10. เดือน ๖ ปีมะแม จุลศักราช ๑๒๙๓ และตรงกับวันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชา โดยมี พระเดชพระคุณ พระศาสนดิลก (เสน ชิตเสโน) เป็นพระอุป๎ชฌาย์, พระมหาสว่าง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์เพ็ง เป็นพระ อนุศาสนาจารย์ ได้รับนามฉายาว่า “โชติปาโล” อันมีความหมาย เป็นมงคลว่า “ผู้มีแสงสว่างในธรรม”
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22. • ช่วงชีวิตสมณเพศ หลังจากอุปสมบท หลวงปูุบุญมีได้มีโอกาสกราบนมัสการ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) ซึ่งเป็นพระ เถระผู้ใหญ่ผู้มีคุณูปการต่อกิจการคณะสงฆ์ภาคอีสาน และท่านเจ้า คุณฯ ก็ได้เมตตาต่อหลวงปูุบุญมี โดยอนุญาตให้ติดตามท่านไปอยู่ จาพรรษา ณ วัดบรมนิวาส ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร และวัด เขาพระงาม (วัดสิริจันทรนิมิต วรวิหาร) ตาบลเขาพระงาม อาเภอ เมือง จังหวัดลพบุรี อีกด้วย ในช่วงชีวิตสมณเพศของหลวงปูุบุญมี ท่านได้ออกจาริกธุดงค์ไปในสถานที่ต่างๆ ครั้งหนึ่งท่านได้ออก จาริกไปพร้อมกับ พระอาจารย์มหาสว่าง ซึ่งเป็นพระ กรรมวาจาจารย์ของท่าน โดยจาริกไปประเทศพม่า ลาว เวียดนาม และเลยไปถึงประเทศจีน เมื่อกลับจากประเทศจีน หลวงปูุบุญมี ท่านได้ช่วย พระอาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม สร้างวัดปุาสาลวัน ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา อีกวัดหนึ่ง นอกจากนี้หลวงปูุบุญมียังได้มีศรัทธาร่วมสร้างวัดอโศการาม อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ร่วมกับ ท่านพ่อลี ธัมมธโร เพื่อ เป็นศูนย์วิป๎สสนากรรมฐานแก่พุทธศาสนิกชน และยังได้ร่วมกับ พระอาจารย์ฝ๎้น อาจาโร สร้างวัดปุาสุทธาวาส อาเภอเมือง จังหวัด สกลนคร เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ
  • 23. รวมทั้งได้ร่วมกับ พระอาจารย์ดี ฉันโน สร้างวัดภูเขาแก้ว อาเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี อีกวัดหนึ่งด้วย ปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ หลวงปูุบุญมีเดินทางกลับมายัง จังหวัดอุบลราชธานี และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสระ ประสานสุข โดยท่านได้ทาการพัฒนาก่อสร้างวัดสืบต่อจาก พระเดชพระคุณพระศาสนดิลก (เสน ชิตเสโน) เจ้าอาวาสวัดศรี ทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) ซึ่งเป็นผู้นาพาในการสร้างวัดสระ ประสานสุขและเป็นพระอุป๎ชฌาย์ของท่าน หลวงปูุบุญมีได้พัฒนา วัดสระประสานสุขซึ่งเป็นวัดบ้านเกิดของท่านให้มีความ เจริญรุ่งเรืองเป็นที่น่าเลื่อมใสศรัทธาแก่พุทธศาสนิกชนในจังหวัด อุบลราชธานี และจังหวัดใกล้เคียงทั่วไปเรื่อยมาตามลาดับ • ผลงานด้านการพัฒนาวัด วัดสระประสานสุข เดิมชื่อ วัดบ้านนาเมือง ตั้งอยู่ห่างจาก ตัวเมืองไปประมาณ ๕ กิโลเมตร สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๗๐ โดยการนาพาของ พระเดชพระคุณพระศาสนดิลก (เสน ชิตเสโน) เจ้าอาวาสวัดศรีทอง(วัดศรีอุบลรัตนาราม) ซึ่งเป็นผู้ บุกเบิกและวางรากฐานก่อสร้างมาตั้งแต่ต้น จนกระทั่งหลวงปูุ บุญมีได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสเมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ ท่านจึง ได้เริ่มวางแผนและดาเนินการพัฒนาวัดโดยได้รับความร่วมมือจาก
  • 24. ชาวบ้านญาติโยมผู้เลื่อมใสศรัทธา จนมีความเจริญรุ่งเรือง ตามลาดับ วัดมีเนื้อที่ประมาณ ๗๕ ไร่ ผลงานด้านการพัฒนาวัด สระประสานสุข ที่หลวงปูุบุญมีได้ริเริ่มและดาเนินการก่อสร้าง ถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัด เพื่อให้วัดเป็นศาสนสถานที่เป็นแหล่ง รวมใจของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป มีดังนี้ ปีพุทธศักราช ๒๕๑๕ หลวงปูุบุญมี ได้เป็นผู้นาศรัทธา ชาวบ้านก่อสร้าง ศาลาการเปรียญ ขนาดใหญ่ ในลักษณะทรง ป๎้นหยา ภายในประดิษฐานพระประธานปางนาคปรกขนาดใหญ่ และรูปหล่อเหมือนพระเถราจารย์ชื่อดังอีกหลายองค์ที่หลวงปูุเป็น ผู้นาศรัทธาชาวบ้านหล่อไว้เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้บูชาสักการะ ศาลานาบุญ
  • 25. ปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ หลวงปูุบุญมี ได้ออกแบบและเป็น ประธานในการก่อสร้าง อุโบสถบนเรือสุพรรณหงส์ อันมี ความหมายว่า จะเป็นพาหนะที่จะพาบรรดาพุทธศาสนิกชนผู้มีใจ เป็นกุศลข้ามห้วงมหาสมุทรแห่งวัฏสงสารสู่ดินแดนมหานิพพานใน ที่สุด ซึ่งอุโบสถที่หลวงปูุบุญมีได้สร้างขึ้นนี้ มีความสวยงาม ตั้งตระหง่านโดดเด่นเป็นสง่า แปลกกว่าที่วัดอื่นๆ เพราะเป็น อุโบสถอยู่บนเรือสุพรรณหงส์ประดับด้วยเซรามิคสีน้าตาลแดง ขนาดใหญ่ ส่วนด้านหน้าอุโบสถประดิษฐาน รูปหล่อหลวงปูุบุญมี
  • 27. ปีพุทธศักราช ๒๕๓๒ หลวงปูุบุญมี ได้นาคณะศิษยานุศิษย์ สร้างหอระฆัง ๕ ชั้น ประดับด้วยเซรามิคสีน้าตาลแดง โดยมี นายชุ่นเลี้ยง แซ่ล้อ และนางโชจิร แซ่เตียว (เสี่ยบุญชัย) รับเป็น เจ้าภาพในการก่อสร้าง
  • 28. วันที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๓๘ ทาพิธีเพื่อสร้าง วิหารกลางน้าเรือธรรมนาคราช เวลาเที่ยงตรง และเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๙ ทาพิธีตอกเสาเข็มเวลาเที่ยงตรง วิหารกลางน้าเรือธรรมนาคราช เป็นวิหารกลางน้าบนนาคราช รูปร่างคล้ายเรือ ส่วนหัวเป็นนาคราช ๕ เศียร โดยทางเดินเข้า วิหารกลางน้าเป็นทางเดินด้านหางของนาคราช ตั้งอยู่ด้านหลังของ วัดและมีปลาอาศัยอยู่ในสระน้าใหญ่เป็นจานวนมาก
  • 29. โดยพุทธศาสนิกชนได้นามาปล่อยไว้ ซึ่งหลวงปูุบอกว่าไม่อยากให้ เบียดเบียนซึ่งกันและกัน จึงไม่มีใครนาปลาที่สระน้าใหญ่ไปกิน ทาให้ปลามีปริมาณมาก อีกทั้งทางวัดได้จัดบริการให้อาหารปลา แล้วแต่ผู้มาทาบุญจะบริจาค หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ประกอบพิธีเพื่อสร้างวิหารกลางน้าฯ
  • 30. นอกจากนี้แล้วหลวงปูุบุญมียังได้สร้างศาสนสถานต่างๆ ภายในวัดสระประสานสุข คือ วิหารโชติปาโล, กุฏิโชติปาโลนุสรณ์ ในลักษณะทรงไทย,กุฏิโชติธรรมในลักษณะทรงไทย, หอสวดมนต์ ในลักษณะทรงไทย และที่สร้างความประทับใจเป็น พิเศษให้แก่ชาวบ้านญาติโยมที่เดินทางมายังวัดสระประสานสุข ก็คือ ซุ้มประตูทางเข้าด้านหน้าวัด(ประตูโขง) ที่หลวงปูุบุญมีได้ สร้างเป็นรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ๓ เศียร ที่ใหญ่โตมาก สามารถมองเห็นตั้งตระหง่านโดดเด่นเป็นสง่ามาแต่ไกล นอกจากนี้ ท่านยังได้ตัดถนนเข้าหน้าวัด, สร้างและปรับปรุงห้องน้าห้องสุขาให้ เพียงพอกับชาวบ้านญาติโยมที่มาร่วมทาบุญในงานเทศกาลต่างๆ รวมถึงการสร้างกาแพงคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งมีรูปสัตว์นานาชาติ
  • 31. ล้อมรอบบริเวณวัด ตลอดจนปรับปรุงสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ และพื้นที่ภายในวัดทั้งหมดให้เหมาะสม เป็นระเบียบ เป็นสัดส่วน สวยงาม ร่มรื่นไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด สมกับเป็นวัดสายปฏิบัติ และสถานที่บาเพ็ญบุญ เป็นที่พึ่งพิงด้านจิตใจแก่พุทธศาสนิกชน โดยทั่วไป
  • 32. ประตูช้างสามเศียร (วัดสระประสานสุข) --------------------- ประตูช้างสามเศียร ต้องพากเพียรถึงสร้างได้ ช้างนั้นเป็นสัตว์ใหญ่ พร้อมพาไปในที่ดี ครั้งหนึ่งต้องลอดผ่าน จิตประสานคิดสิ่งดี ศรัทธาในความดี นาชีวีผ่านพ้นภัย หลวงปูุบุญมีสร้าง เป็นหนทางธรรมสู่ใจ ตั้งจิตคิดขอได้ พร้อมตั้งใจให้เกิดจริง ช้างใหญ่ในสามโลก สร้างประโยชน์ในทุกสิ่ง สามเศียรยิ่งใหญ่จริง ลอดใจนิ่งยิ่งได้บุญ ตั้งจิตภาวนา ลอดเข้ามาธรรมเกื้อหนุน ธรรมะย่อมเป็นคุณ มากมีบุญทุนต่อไป พระอินทร์ที่ทรงนั่ง จิตพร้อมสั่งได้ดั่งใจ ขอเชิญลอดผ่านไป จะสุขใจนิรันดร์เอย
  • 33. อนึ่ง เนื่องจากทางวัดมีอาณาเขตติดต่อกับเขตทหาร อากาศ กองบินที่ ๒๑ ข้าราชการทหารอากาศจึงมีศรัทธามาร่วม อุปสมบทและจาพรรษา ณ วัดสระประสานสุข ตลอดมา • ด้านการปกครอง หลวงปูุบุญมีท่านมีระเบียบการปกครองพระสงฆ์ในวัดให้ สอดคล้องกับกฎของมหาเถรสมาคม (มส.) อย่างเคร่งครัด โดยมี กฎกติกาของวัดตามมติของคณะสงฆ์ภายในวัดเป็นผู้กาหนดขึ้นมา เอง และที่เป็นกิจวัตรสาคัญที่หลวงปูุได้ริเริ่มและให้ปฏิบัติเป็น ประจา คือ การจัดให้มีการปฏิบัติธรรมและเจริญสมาธิภาวนาทุก วัน โดยเฉพาะวันพฤหัสบดี ณ ศาลาการเปรียญวัดสระประสานสุข ตั้งแต่เวลา ๑๙.๐๐ น. เป็นต้นไป • ผลงานด้านการทานุบารุงพระศาสนา หลวงปูุบุญมี ไม่เพียงพัฒนาและก่อสร้างศาสนสถานใน บริเวณวัดสระประสานสุข ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ของหลวงปูุเท่านั้น ท่านยังได้มีจิตเมตตาในการมอบทุนทรัพย์ ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ สนับสนุนการก่อสร้างอุโบสถ ศาลา การเปรียญ กุฏิ และวิหารภายในวัดต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ เช่น
  • 34. ๑. สร้างพระพุทธรูปใหญ่ ณ วัดเขาพระงาม (วัดสิริจันทร นิมิต วรวิหาร) อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ร่วมกับท่านเจ้าคุณ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) โดยใช้ไหกระเทียมใน สมัยนั้นเป็นมวยผม (พระเกศ) ๒. สร้างพระนาคปรก ร่วมกับท่านพ่อลี ธัมมธโร เจ้าอาวาสวัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ ในฐานะที่ท่านเป็น สหธรรมิกกัน อีกทั้งท่านพ่อลียังเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีด้วย ๓. บูรณะมณฑปรอยพระพุทธบาท ๔. บูรณะศาลารัชมังคลาภิเษก ณ วัดสังกัสรัตนคีรี บน ยอดเขาสะแกกรัง อาเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ๕. สร้างพระพุทธรูปเนื้อโลหะ หน้าตักกว้าง ๓ เมตร ประดิษฐาน ณ ศาลารัชมังคลาภิเษก ๖. ปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ หลวงปูุบุญมี ได้นาคณะศิษยานุ ศิษย์ร่วมกันสร้างพระพุทธรูปปางประทานพร สูง ๗ เมตร ๗๙ เซนติเมตร เนื้อโลหะทองเหลือง ถวายนามว่า “พระพุทธโชติปาละ ชนะมาร”, สร้างพระสังกัจจายน์เป็นปูนป๎้น ขนาดหน้าตักกว้าง ๓ เมตร ถวายนามว่า “พระสังกัจจายน์โชติปาโล” และสร้างพระสิวลี ถวายนามว่า “พระสิวลีโชติปาโล” เพื่อนาไปประดิษฐานไว้ ณ วัดสังกัสรัตนคีรี บนยอดเขาสะแกกรัง อาเภอเมือง จังหวัด
  • 35. อุทัยธานี ซึ่งเป็นสถานที่จัดงานประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะที่ ยิ่งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ๗. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างอุโบสถ วัดบ้านกุดมะฮง อาเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ๘. สร้างพระเจ้าใหญ่ และบูรณะหอระฆัง ณ วัดบ้านบ่อ อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ๙. สร้างพระพุทธรูปสูง ๓ เมตร ณ วัดถ้ากลองเพล อาเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี ๑๐. สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิ สูง ๓ เมตร จานวน ๒ องค์ ณ เมืองเชียงรุ้ง ประเทศจีน ๑๑. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างวัดปุาภูถ้าพระ อาเภอเลิง นกทา จังหวัดยโสธร ๑๒. ให้อุปกรณ์ในการก่อสร้างวัดคอนสวรรค์ อาเภอเลิง นกทา จังหวัดยโสธร ๑๓. ให้การอุปถัมภ์และช่วยเหลือวัดต่างๆ ในจังหวัด อุบลราชธานี ได้แก่ วัดบ้านก้านเหลือง, วัดบ้านตาแย, วัดบ้าน หนองหว้า, วัดบ้านหนองมุก, วัดสาราญนิเวศน์, วัดบ้านระเว, วัดบ้านนาจาน, วัดบ้านดอนจืด, วัดบ้านด้ามพร้า, วัดบ้านปลาดุก น้อย, วัดบ้านยางลุ่ม, วัดปุาอาเภอม่วงสามสิบ, วัดบ้านกุดลาด, วัดบ้านกระโสบ และวัดบ้านหมากมี่ (วัดบ้านขนุน) เป็นต้น
  • 36. นอกจากนั้นหลวงปูุบุญมียังรับกิจนิมนต์ไปแสดงธรรม เทศนาตามสถานที่ต่างๆ โดยไม่เลือกปฏิบัติ เป็นกิจวัตรที่ท่านได้ ปฏิบัติเป็นประจาจนทาให้ญาติโยมเลื่อมใสศรัทธา และมาร่วม ทาบุญจากทุกจังหวัดทั่วประเทศ • ผลงานด้านสาธารณประโยชน์ นอกจากภารกิจในการบริหารจัดการวัดสระประสานสุข และวัดวาอารามต่างๆ แล้ว หลวงปูุบุญมียังมีจิตเมตตาบริจาค เงินทุนสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันแก่โรงเรียนที่ขาดแคลน, มอบทุนการศึกษาให้แก่นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจนขาดแคลนทุน ทรัพย์ ปีละ ๒๐ ทุน, บริจาควัสดุต่อเติมและก่อสร้างอาคารเรียน ให้กับโรงเรียน, สร้างรั้วกาแพงให้กับโรงเรียนบ้านนาเมือง ซึ่งเป็น โรงเรียนเก่าแก่ของบ้านนาเมือง เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษาต่อไป นอกจากนั้นหลวงปูุยังได้นาญาติโยม ชาวบ้านนาเมือง ช่วยกันตัดถนนจากบ้านนาเมืองเชื่อมต่อไปยัง บ้านดงหนองแสน ตาบลไร่น้อย เป็นระยะทาง ๓ กิโลเมตร โดย ไม่ได้ใช้งบประมาณของทางราชการแต่อย่างใด เพื่อทาให้การ สัญจรไปมาของชาวบ้านในละแวกนั้นสะดวกยิ่งขึ้น และกิจกรรม สาคัญอีกประการหนึ่งที่หลวงปูุได้ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ คือ การไถ่ ชีวิตโค กระบือ โดยซื้อมาก่อนที่จะถูกนาไปยังโรงฆ่าสัตว์ แล้ว
  • 37. นามาบริจาคให้กับชาวบ้านที่ยากจนได้เอาไปเลี้ยงเพื่อใช้แรงงาน ประกอบอาชีพต่อไป • ผลงานด้านสังคมสงเคราะห์ หลวงปูุบุญมี ท่านเป็นพระผู้มีเมตตาจิตแก่ญาติโยมและ ประชาชนชาวจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดใกล้เคียงทั่วไป หลวงปูุเห็นความสาคัญของการช่วยเหลือคนไข้ที่ขาดแคลนตาม โรงพยาบาล จึงได้บริจาคอุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องดูดเสมหะ เครื่องตรวจเลือด ให้กับ โรงพยาบาลต่างๆ เช่น ๑. โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อาเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ๒. โรงพยาบาลสาโรง อาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี ๓. โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช อาเภอเดชอุดม จังหวัด อุบลราชธานี ๔. โรงพยาบาลน้ายืน อาเภอน้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี ๕. โรงพยาบาลดอนมดแดง อาเภอดอนมดแดง จังหวัด อุบลราชธานี ๖. โรงพยาบาลเขมราฐ อาเภอเขมราฐ จังหวัด อุบลราชธานี ๗. โรงพยาบาลทุกอาเภอในจังหวัดศรีสะเกษ
  • 38. ๘. โรงพยาบาลจังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนั้นในวันทาบุญคล้ายวันเกิดของหลวงปูุบุญมี ท่านได้มอบทุนการศึกษา เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์การศึกษา รวมทั้งให้ทานแก่เด็กพิการในจังหวัดอุบลราชธานี ให้ทานวัวที่ไถ่ ชีวิตมาจากโรงฆ่าสัตว์ให้กับชาวบ้านที่ยากจนเป็นประจาทุกปี บริจาคเสื้อผ้า ข้าวสารอาหารแห้งให้กับศูนย์ชาวเขาแม่ฟูาหลวง ตลอดจนบริจาคอุปกรณ์เครื่องเขียนต่างๆ ให้กับชาวเขาในจังหวัด เชียงใหม่ ให้ข้าราชการศูนย์หม่อนไหมจังหวัดอุบลราชธานี พัฒนา สถานที่ต่างๆ และยังจัดหาแหล่งน้าดื่ม น้าใช้ ให้กับหมู่บ้านต่างๆ ในจังหวัดอุบลราชธานี • ผลงานด้านการเผยแผ่ธรรม หลวงปูุบุญมี เป็นพระอริยสงฆ์ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพรหม วิหาร ๔ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา จะเห็นได้จากเวลาที่ หลวงปูุฉันภัตตาหารเช้า จะมีผู้นาอาหารมาถวายเป็นจานวนมาก เมื่อฉันเสร็จแล้ว หลวงปูุจะแบ่งป๎นอาหารที่เหลือนั้นให้กับทุกคนๆ ให้นากลับไปเลี้ยงดูบุตรหลาน และพ่อแม่ที่อยู่ทางบ้านโดยทั่วถึง กัน ญาติโยมที่นาอาหารไปถวายหลวงปูุต่างก็มีความอิ่มเอิบใจ เพราะนอกจากเป็นการถวายทานแก่หลวงปูุแล้ว ยังได้ทาทานกับ คนทั่วไปอีกทางหนึ่ง ซึ่งการให้อาหารนี้หลวงปูุให้โดยการโยนและ
  • 39. ขว้างอาหารหรือสิ่งของให้กับคนที่ท่านต้องการให้ กระทั่งมีลูกศิษย์ ลูกหาเคยนมัสการถามหลวงปูุว่า “ทาไมจึงโยนและขว้างสิ่งของ ให้” หลวงปูุบอกว่า “เป็นการเตือนสติสัมปชัญญะประจาตัวอยู่ ตลอดเวลา” นอกจากการอบรมสั่งสอนแก่ญาติโยมที่มากราบไหว้ และ ทาบุญที่วัดแล้ว หลวงปูุยังได้ออกเทศนา ปาฐกถาธรรม และ สนทนาธรรมแก่ประชาชนทั่วไป ตามสถานที่ราชการ โรงเรียน หมู่บ้านต่างๆ มาโดยตลอด • ทางด้านหลักธรรมและคาสอน หลวงปูุบุญมีท่านเป็นอริยสงฆ์ที่มีปฏิปทาและศีลาจริยวัตร อันงดงาม ชอบธรรม เดินทางสายกลางอันเป็นข้อปฏิบัติธุดงควัตร สายพระกรรมฐานอย่างเสมอต้นเสมอปลาย เจริญรอยตาม หลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ และพ่อแม่ครูบาอาจารย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท), พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต และท่านเจ้าคุณพระศาสน ดิลก (เสน ชิตเสโน) ซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ของหลวงปูุ มาโดยตลอด หลักธรรมคาสอนของหลวงปูุจึงมีคุณค่าอย่างยิ่ง และมีคาผญา ภาษิตอีสานแทรกอยู่ทุกครั้ง ทาให้เข้าใจง่าย รู้ถึงคุณค่าของ หลักธรรมและคาสอนของพระพุทธองค์
  • 40. นอกจากนี้ท่านยังเน้นการอบรมสั่งสอนให้รู้คุณของพระ แก้ว ๒ องค์ คือ บิดา มารดา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ในบ้านที่ทุกคน ควรกราบไหว้บูชาตลอดกาล สอนให้ทุกคนบาเพ็ญตนตามหลัก กุศลสมาทาน สอนให้รู้จักศาสนากับสังคมไทย การประหยัดและ อดออมตามหลักพระพุทธศาสนา สาหรับการปฏิบัติธรรม ท่าน สอนให้ปฏิบัติธรรมเป็นกิจวัตรประจาวัน โดยการนั่งสมาธิภาวนา ทุกครั้ง ในเทศกาลวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆ ท่านจะให้ บาเพ็ญทานบารมี สมาทานศีล ปฏิบัติภาวนาเพื่อถวายเป็นพระ ราชกุศลแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ทุกครั้ง • บุคคลตัวอย่างของจังหวัดอุบลราชธานี หลวงปูุบุญมีท่านเป็นชาวจังหวัดอุบลราชธานีโดยกาเนิด เกิดที่บ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ครั้นเมื่ออุปสมบทเป็นพระภิกษุแล้ว ได้อุทิศตนเป็นสงฆ์สาวกของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาหน้าที่สืบทอดและเผยแผ่ หลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ตลอดชีวิตในสมณเพศ หลวงปูุ บุญมีท่านได้ทาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจังหวัดอุบลราชธานี ที่บ้านเกิดเมืองนอนของท่าน เห็นได้จากการเริ่มต้นพัฒนาวัดสระ
  • 41. ประสานสุข จากวัดปุาธรรมดาให้เจริญรุ่งเรืองมาตามลาดับจนเป็น วัดปฏิบัติที่มีชื่อเสียง ญาติโยมประชาชนจากทั่วทุกสารทิศมีจิต เลื่อมใสศรัทธาเดินทางมากราบนมัสการหลวงปูุกันอย่าง ไม่ขาดสาย เมื่อครั้งที่จังหวัดอุบลราชธานีได้จัดงานสมโภชเฉลิมฉลอง การก่อตั้งเมืองอุบลราชธานีครบ ๒๐๐ ปี ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๕ มีการจัดทาหนังสือที่ระลึกชื่อว่า อุบลราชธานี ๒๐๐ ปี โดยได้มี การคัดเลือกและรวบรวมประวัติและผลงานของบุคคลสาคัญ บุคคลตัวอย่าง ที่เป็นชาวอุบลราชธานีโดยกาเนิดและได้ทา ประโยชน์นาความเจริญมาสู่จังหวัดอุบลราชธานี ในครั้งนั้น พระ ครูไพโรจน์ รัตโนบล(หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) เจ้าอาวาสวัดสระ ประสานสุข ท่านได้รับคัดเลือกและยกย่องให้เป็นพระสงฆ์ที่น่า เคารพนับถือทางด้านพระเถระสายวิป๎สสนาธุระในจังหวัด อุบลราชธานี จึงถือได้ว่าท่านเป็นพระสงฆ์ตัวอย่างที่ชาวจังหวัด อุบลราชธานีสมควรยกย่องให้เป็น “พระดีศรีอุบล” และเป็น “พระดีศรีแผ่นดิน” ที่ชาวไทยทั่วประเทศสมควรเอาเป็นตัวอย่าง ตลอดไป ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครู สัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ที่พระครูไพโรจน์ รัตโนบล
  • 42. ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อน สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอาราม หลวงชั้นพิเศษในราชทินนามเดิม ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณ ศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่พระภาวนาวิศาลเถร ฝุายวิป๎สสนา เป็น เกียรติคุณตลอดไป • การอาพาธและการรักษา พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้เจริญในธรรม และพรรษายุกาลด้วยดีตลอดมา ถึง ๙๕ ปี ได้อาพาธด้วยโรคชรา ปอดอักเสบ และมีโรคแทรกซ้อนมาตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ท่านได้รับการดูแลรักษาจากคณะแพทย์พยาบาล ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และศรัทธาสาธุชน ศิษยานุศิษย์ เป็นอย่างดียิ่ง ตลอดมา โดยได้พักรักษาอาการอาพาธอยู่ที่วัดภายในกุฏิ วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระเจ้า วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ เสด็จ เป็นการส่วนพระองค์เยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปูุบุญมี โชติปาโล ทรงมีพระราชปฏิสันฐานสอบถามอาการอาพาธกับ หลวงปูุเป็นระยะ แม้หลวงปูุบุญมีจะทูลตอบถวายพระองค์ไม่ได้ แต่ก็ได้แสดงออกถึงความปิติ กับตอบทางสีหน้า พร้อมยกแขน
  • 43. แสดงถึงการรับรู้เรื่องที่ทรงพระกรุณารับสั่งถาม เวลา ๑๑.๑๕ น. พระภาวนาวิศาลเถร(บุญมี โชติปาโล) ได้ถึงแก่การมรณภาพ ละสังขารลงด้วยอาการอันสงบ รวมสิริอายุ ๙๕ ปี ๓ เดือน ๙ วัน ๗๔ พรรษา โดยมีพระบรมวงศานุวงศ์ที่เสด็จวัดสระประสานสุข (วัดบ้านนาเมือง) เพื่อกราบนมัสการพระภาวนาวิศาลเถร(หลวงปูุ บุญมี โชติปาโล) ดังต่อไปนี้ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม มกุฎราชกุมาร วันที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยาม มกุฎราชกุมาร พร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
  • 44. วันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ วันที่ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
  • 47. เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ในวโรกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ในราชทินนามที่ “พระภาวนาวิศาลเถร พระราชาคณะ ฝุายวิป๎สสนาธุระ”
  • 48. เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ) โปรดให้ฉายภาพที่ตาหนักที่ประทับ และอาราธนา หลวงปูุบุญมี เมื่อมีศาสนกิจที่กรุงเทพมหานคร ให้ค้างแรม ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54. "สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก และ หลวงปู่บุญมี โชติปาโล : กัลยาณมิตรด้วย ความเมตตา" เชื่อว่าพุทธศาสนิกชนคนไทยคงจะเคยได้เห็นภาพ ต่อไปนี้ที่ทรงคุณค่าอย่างยิ่ง เป็นการแสดงถึงความมีกัลยาณมิตร ด้วยความเมตตาระหว่างสมเด็จพระสังฆราชฯ และ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล
  • 55.
  • 56.
  • 57. ภาพข้างต้นเป็นภาพเมื่อครั้งพิธีพุทธาภิเษกเสร็จสิ้น หลวงปูุบุญมีได้ลุกจากอาสนะสงฆ์ที่นั่งอยู่ แล้วเดินตรงเข้ามาหา ยืนต่อเบื้องพระพักตร์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ โดยมิได้ทรุดกายลงกราบ พร้อมกับเอาผ้าขนหนูผืนน้อยที่ไว้ สาหรับเช็ดหน้าเช็ดปากลูบไล้เช็ดตามพระวรกาย ตั้งแต่พระเศียร (หัว) พระพักตร์ (หน้า) วนไปวนมาอยู่หลายรอบ เสร็จแล้วลงมาที่ พระพาหา (ไหล่) พระกร (แขน) และพระอุระ (หน้าอก) อย่างที่ไม่ มีใครนึกฝ๎นหรือคาดคิดมาก่อน สร้างความตกตะลึงพรึงเพริดให้ บังเกิดขึ้นแก่ศิษย์อุป๎ฏฐากของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชฯ และทุกๆ คนที่ไม่ทราบความนัยเป็นอย่างยิ่ง และ เมื่อเห็นทุกๆ คน (ยกเว้นแต่องค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราชฯ) บังเกิดความสงสัยแปลกใจอย่างเต็มที่ ศิษย์ติดตาม หลวงปูุบุญมีจึงกราบทูลชี้แจงในอริยาการดังนั้นมาทีเดียวว่า "หลวงปูุกาลังทาพิธีต่อพระชนมายุถวายแด่ฝุาพระบาทอยู่ขอรับ กระหม่อม" เมื่อถึงที่สุดแห่งการพิธี หลวงปูุบุญมีได้ก้มลงกราบที่ พระอุระ (หน้าอก) โดยมิได้พูดอะไรออกมาแม้แต่คาเดียว ขณะที่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ เองก็มิได้ออกพระ วาจา หรือแสดงอาการหลบเลี่ยงอย่างไม่สบพระทัยแต่อย่างใด ทั้งสิ้น จากนั้นหลวงปูุบุญมีก็ได้กุมพระหัตถ์ของสมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ขึ้นอธิษฐานเหมือนหนึ่งจะถวายพระ
  • 58. พรให้ทรงพระเจริญด้วยพระชนมายุยิ่งยืนนานกว่า ๑๐๐ พระวัสสา ค้าชูบูชาคุณบวรพระพุทธศาสนาให้สถาพรสืบต่อไป ตราบชั่วจิรกาลเป็นป๎จฉิมวาระ (อ้างอิงจาก Facebook กลุ่ม “พระอรหันต์ สายหลวงปูุมั่น” หลวงปูุบุญมี โชติปาโล) ก้มกราบสมเด็จพระสังฆราช ได้บุญมากชาตินี้ดีนักหนา สักการะน้อมเกล้าไหว้วันทา เป็นบุญญาค่ายิ่งจริงอย่างเห็น จิตงดงามตามธรรมนาชีวี บุญมากมีดีคิดจิตบาเพ็ญ ร่วมสานธรรมทาดีมิว่างเว้น ไม่ยากเย็นเข็ญใจได้ร่วมธรรม ทุกชีวิตจิตผูกต่างเกี่ยวข้อง ต่างเกี่ยวดองต้องจิตมิตรน้อมนา บุญเกื้อหนุนคุณค่าพาหาธรรม เป็นประจาทาดีบุญมีเอย จึงประจักษ์ได้ว่าความมีกัลยาณมิตรด้วยความเมตตาซึ่งกัน และกันระหว่างสมเด็จพระสังฆราชฯ และ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ข้างต้นนั้น เป็นสิ่งที่ประเสริฐยิ่งนัก เพราะความ "เมตตา" เป็นพระ
  • 59. ธรรมข้อแรกของพรหมวิหาร ๔ ที่เราชาวพุทธศาสนิกชนคนไทย ควรต้องมีให้กันมากๆ และเมื่อมีความเป็นกัลยาณมิตรกันแล้วจะ ทาให้เกิดความเมตตาต่อกันและกันมากยิ่งๆ ขึ้นไป กัลยาณมิตร เมตตาจิตคิดเรื่องดี เมตตาให้มากมี ส่งผลดีมีต่อกัน ข้อแรกพรหมวิหาร จิตประสานส่งให้กัน เมตตาที่สร้างสรรค์ จะสุขสันต์ป๎นส่งบุญ เมตตาค้าจุนโลก ไม่ทุกข์โศกมีเกื้อกูล เมตตาย่อมเป็นคุณ ได้เจือจุนบุญต่อไป เริ่มต้นจิตเมตตา ธรรมนาพามาสู่ใจ ค่อยทาทุกวันไป จะสุขใจทุกเช้าเย็น เมตตากันทุกคน เกิดเป็นคนจิตบาเพ็ญ เมตตาไม่ยากเย็น จิตต้องเห็นธรรมเข้ามา แค่ยิ้มเริ่มต้นได้ ยิ้มจากใจได้เมตตา ลองทาทุกเวลา เกิดคุณค่าในจิตใจ เมตตาน้อมดวงจิต เนรมิตขึ้นทันใด เมตตานั้นยิ่งใหญ่ ต้องทาไว้ได้บุญเอย
  • 60. งานอายุวัฒนะหลวงปูุบุญมี โชติปาโล พระครูอุดมสังฆกิจ เจ้าอาวาสวัดก้านเหลืองสรง น้าถวายหลวงปูุบุญมี โชติปาโล หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านโปรดสัตว์บิณฑบาตวันออกพรรษาตักบาตร เทโวโรหะนะเป็นประจาทุกปีไม่เคยขาด
  • 61. หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านจะทาพิธีแผ่เมตตาปล่อยไก่ ปลา วัน และสัตว์อื่นอีกเป็น จานวนมาก พร้อมทั้งท่านจะทาน้ามนต์ให้ศิษยานุศิษย์ที่มาหาทุกๆ คน น้าพุทธมนต์นี้ท่านจะทา เฉพาะวันเสาร์เวลา ๐๗.๓๐ น. เท่านั้น หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ท่านแผ่เมตตาปล่อยสัตว์ทุกๆ เช้าวันเสาร์ ณ วัดสระประสานสุข
  • 62. วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๙ หลวงปูุบุญมี โชติปาโล ทาพิธีเวลาเที่ยงตรง เพื่อสร้าง หอพระบาตรสวรรค์ ณ ตรงโนนดิน ด้านทิศตะวันออกของวัดสระประสานสุข
  • 63.
  • 64.
  • 65.
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74. พระธรรมเทศนาสมณกถา พระเทพกวี (มนตรี คณิสฺสโร) วัดราชบพิธสถิตมหา สีมาราม แสดงในการทรงบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์ สตมวารศพพระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล)อดีตเจ้าอาวาส วัดระประสานสุขตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ณ ศาลาบาเพ็ญกุศล วัดสระประสานสุข เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ พระพรหมวิสุทธาจารย์ (มนตรี คณิสฺสโร)
  • 75. ขอถวายพระพรเจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนม์สุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราช สมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บัดนี้ จักรับพระราชทาน ถวายพระธรรมเทศนาสนองพระเดชพระคุณประดับพระป๎ญญา บารมี ถ้ารับพระราชทานถวายวิสัชชนาไป มิได้ถูกต้องตามโวหาร อรรถาธิบายในพระธรรมเทศนา ณ บทใดบทหนึ่งก็ดี ขอเดชะ พระเมตตาคุณ พระกรุณาคุณ พระขันติคุณ ทรงพระกรุณาโปรด พระราชทานอภัยแก่อาตมาผู้มีสติป๎ญญาน้อย ขอถวายพระพร… นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส โย จ สเมติ ปาปานิ อณฺถฺสานิ สพฺพโส มิตตฺตา หิ ปาปาน สมโณติ ปวุจฺจติ บัดนี้ จักรับพระราชทานถวายพระธรรมเทศนา ใน สมณกถา สนองพระเดชพระคุณ ประดับพระป๎ญญาบารมีอนุรูป แก่พระราชกุศลราศีทักษิณานุประทานกิจ ที่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ทรงบาเพ็ญพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์อุทิศศพ พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดสระ ประสานสุข ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งได้ ถึงแก่มรณภาพครบ ๑๐๐ วัน ในวันนี้
  • 76. การพระราชกุศลบรมราชานุเคราะห์ ที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทาน เป็นพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชสุขประโยชน์เกียรติคุณอันแผ่ไพศาลแก่พสกนิกรทุกถ้วน หน้า เป็นพระราชกุศลธรรมจริยาอาจิณปฏิบัติ ที่ทรงปฏิบัติ บาเพ็ญเสมอมา เป็นพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมหา ที่สุดมิได้ นับแต่กาลถึงมรณภาพของพระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้าทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานน้าหลวงสรงศพ พระราชทานหีบทองทึบ ประดิษฐานศพ พระราชทานพวงมาลาหน้าศพ ทรงรับศพ พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ไว้ในพระบรมราชานุ เคราะห์โดยตลอดเป็นพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ หาที่สุดมิได้ เป็นเกียรติยศอันสูงยิ่งที่ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานแด่ พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) เป็นอย่างยิ่ง พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) นามเดิม บุญมี นามสกุล กุศลคุณ เกิด ณ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๕๒ ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๓ ปีระกา ซึ่งตรง กับวันสาคัญในทางพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา ณ บ้านเลขที่ ๑๓๖ หมู่ ๒ ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โยม บิดาชื่อ นายกุ โยมมารดา ชื่อ นางเลื่อน กุศลคุณ
  • 77. ปฐมวัย ท่านได้รับการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จากโรงเรียนบ้านนาเมือง ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัด อุบลราชธานี ต่อมาโยมมารดาได้นาไปฝากหลวงปูุสีทา ชยเสโน ซึ่ง เป็นญาติ เพื่อเป็นศิษย์ปฏิบัติและศึกษาปฏิบัติธรรม ท่านจึงได้มี โอกาสพบเห็นและกราบนมัสการหลวงปูุเสาร์ กนฺตสีโล และพระ อาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ซึ่งท่านอาจารย์ทั้งสองได้แวะเวียนมากราบ นมัสการหลวงปูุสีทา ชยเสโน ซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ และ อาจารย์ ใหญ่ฝุายวิป๎สสนา ในสมัยนั้น เมื่อหลวงปูุสีทา ชยเสโน ได้ถึงแก่มรณภาพลง โยมมารดา ได้พาท่านไปถวายตัวบวชเป็นสามเณร ที่วัดศรีทอง (วัดศรีอุบล รัตนาราม) ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อ ศึกษาปริยัติธรรมและสามารถสอบนักธรรม ตรี โท เอก ได้ที่สานัก เรียนวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) นอกจากนั้น ท่านยังมีความสามารถพิเศษ ได้ศึกษาอักษร ขอมสามารถอ่านออกเขียนได้ และยังมีความชานาญในการอ่าน หนังสือขอมสมัยโบราณ และมีความสามารถทางด้านการใช้ ภาษาผญาภาษิตอีสานเป็นอย่างดี สามารถนามาใช้ในการเทศนา สั่งสอน เป็นคาสอนเป็นที่ประทับใจและเกิดศรัทธาแก่ผู้ได้ฟ๎ง พระธรรมเทศนาคาสอนของท่านเป็นอย่างมาก
  • 78. ในระหว่างที่เป็นสามเณร ท่านได้รับความเมตตาจากพระ อาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้เมตตานาท่านไปอยู่จาพรรษากับท่านที่ จังหวัดสกลนคร จึงเป็นเหตุให้ท่านได้ใกล้ชิด ได้ปฏิบัติวัตรถวาย อุปฐากและศึกษาปฏิบัติธรรมอย่างใกล้ชิดกับพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต เป็นอย่างมาก เมื่ออายุครบ ๒๐ ปี ท่านได้รับการ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมา วัดศรีทอง เมื่อวันศุกร์ ขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปีมะแม ซึ่งตรงกับวันที่ ๑๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕ ซึ่งตรงกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วันวิสาขบูชา โดยมีพระศาสนดิลก (เสน ชยเสโน) เป็นพระ อุป๎ชฌาย์ พระมหาสว่าง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ เพ็ง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ว่า โชติปาโล หลังจากอุปสมบทแล้ว ท่านได้มีโอกาสพบและกราบ นมัสการพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) ซึ่งเป็น พระเถรผู้ใหญ่ในวงการคณะสงฆ์ ท่านได้รับความเมตตา ให้ตาม ท่านไปอยู่จาพรรษาที่วัดบรมนิวาสและที่วัดเขาพระงาม (วัดสิริ จันทรนิมิต) อีกด้วย หลังจากนั้นท่านได้ออกจาริกธุดงค์ไปตามสถานที่ต่างๆ เพื่อแสวงหาความสงบ ความหลุดพ้นแห่งจิตใจท่านได้ออกจาริกไป พร้อมกับพระอาจารย์พระมหาสว่าง ซึ่งเป็นพระอาจารย์ของท่าน โดยจาริกไปประเทศพม่า ลาว เขมร เวียดนาม และจีน
  • 79. เมื่อเดินทางกลับมายังประเทศไทยแล้ว ท่านได้เดินทางไป ช่วยพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม (พระญาณวิศิษฎ์) สร้างวัดปุา สาลวัน อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งแต่เดิมเป็นปุาช้า สาลวัน ที่ปฏิบัติบาเพ็ญธรรมของพระอาจารย์ทั้งหลาย ต่อมาได้ร่วมกับ หลวงพ่อลี ธมฺมธโร (พระวิสุทธิธรรมรังสี คัมภีร์เมธาจารย์) สร้างวัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อ เป็นศูนย์วิป๎สสนากัมฐาน และได้ร่วมกับพระอาจารย์ฝ๎้น อาจาโร สร้างวัดปุาสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ทั้งได้ร่วมกับพระอาจารย์ดี ฉนฺโน สร้าง วัดภูเขาแก้ว อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี อีกวัด หนึ่งด้วย ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๐ ท่านได้กลับมายังจังหวัด อุบลราชธานี ได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดสระ ประสานสุขสืบต่อจากพระศาสนดิลกซึ่งเป็นพระอุป๎ชฌาย์ ท่านได้ เริ่มพัฒนาวัดสระประสานสุข (วัดบ้านนาเมือง) ซึ่งเป็นวัดบ้านเกิด ของท่าน จนมีความมั่นคงเจริญรุ่งเรืองเป็นที่ศรัทธาและเลื่อมใสแก่ ศรัทธาสาธุชน ประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัด ใกล้เคียงทั่วไป โดยที่วัดมีอาณาเขตติดกับเขตทหารอากาศ กองบินที่ ๒๑ จึงเป็นเหตุให้ข้าราชการทหารอากาศได้เข้าวัด
  • 80. ทาบุญ ตลอดทั้งมีศรัทธาอุปสมบทจาพรรษา ณ วัดสระประสาน สุขนี้ตลอดมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๔ เป็นพระครูสัญญา บัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎ์ ที่พระครูไพโรจน์ รัตโนบล ปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อน สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอาราม หลวงชั้นพิเศษในราชทินนามเดิม ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งสมณ ศักดิ์เป็นพระราชาคณะที่ พระภาวนาวิศาลเถร ฝุายวิป๎สสนา เป็นเกียรติคุณตลอดไป พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้เจริญในธรรม และพรรษายุกาลด้วยดีตลอดมา ถึง ๙๕ ปี ได้อาพาธด้วยโรคชรา ปอดอักเสบ และมีโรคแทรกซ้อนมาตั้งแต่วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๖ ท่านได้รับการดูแลรักษาจากคณะแพทย์พยาบาล ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และศรัทธาสาธุชน ศิษยานุศิษย์ เป็นอย่างดียิ่ง ตลอดมา โดยได้พักรักษาอาการอาพาธอยู่ที่วัดภายในกุฏิ วันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระเจ้าวรวงศ์ เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินัดดามาตุ เสด็จเป็นการ ส่วนพระองค์เยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปูุบุญมี โชติปาโล ทรงมี
  • 81. พระราชปฏิสันฐานสอบถามอาการอาพาธกับหลวงปูุเป็นระยะ แม้หลวงปูุบุญมีจะทูลตอบถวายพระองค์ไม่ได้ แต่ก็ได้แสดงออกถึง ความปิติ กับตอบทางสีหน้า พร้อมยกแขนถึงการรับรู้ถึงเรื่องที่ทรง พระกรุณารับสั่งถาม เวลา ๑๑.๑๕ น. พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้ถึงแก่การมรณภาพละสังขารลงด้วยอาการอันสงบ รวมสิริอายุ ๙๕ ปี ๓ เดือน ๙ วัน ๗๔ พรรษา พระภาวนาวิศาลเถร (บุญมี โชติปาโล) ได้ประกอบ กรณียกิจ สมฐานะภาวะของสมณะในพระพุทธศาสนาอย่าง สมบูรณ์โดยแท้ต้องตามพุทธภาษิตที่ได้ยกเป็น บทอุทเทสว่า โย จ สเมติ ปาปานิ อณฺถฺสานิ สพฺพโส มิตตฺตา หิ ปาปาน สมโณติ ปวุจฺจติ แปลความว่า ผู้ใดระงับบาปน้อยใหญ่ได้โดยประการทั้งปวง ท่านเรียกผู้นั้นว่าสมณะ เพราะเป็นผู้ระงับ คาว่าสมณะ แปลว่า ผู้สงบ หมายถึง นักบวชผู้สละการ ครองเรือนออกบวชถือเพศบรรพชิตถือเพศพระหรือสมณะถือศีล วัตรปฏิบัติตนมุ่งสู่ความสงบแห่งจิตใจสงบระงับกิเลส บาปธรรม อันเป็นของโลกิยวิสัยเสียให้ได้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียก สาวก บริษัท และบรรพชิต ว่า สมณะ เพราะมาละบาป อกุศล ทุจริต และระงับบาปอกุศลต่างๆ เสียได้
  • 82. บาป ได้แก่ ความชั่ว ความเศร้าหมอง มีสภาพทาให้จิตใจ เศร้าหมอง ขุ่นมัว ทาจิตใจให้ตกต่า บาปเมื่อมีอานาจครอบงา จิตใจของบุคคลได้แล้วย่อมชักนาบุคคลให้กระทา พูดและคิด ในทางที่ผิดเสื่อมทราม และเศร้าหมองเป็นไปเพื่อทาลายความสงบ สุข ก่อความทุกข์เดือดร้อนทั้งแก่ตนและผู้อื่น บาปนั้นเกิดจากการกระทา ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ที่เป็นอกุศลทุจริต เป็นความประพฤติผิดก่อความทุกข์ยาก เดือดร้อนเวรภัย และเศร้าหมอง ผู้ประพฤติบาปกรรมเป็นผู้เศร้า หมอง เป็นผู้ประพฤติผิด ไม่ว่าผู้นั้นจะอยู่ในเพศภาวะใดก็ตาม ก็ได้ ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติผิด และจะต้องได้รับผลกรรมของบาปนั้นๆ เมื่อบาปกรรมนั้นเองให้ผล การทาล้างผลาญหรือการเบียดเบียนทรมานชีวิตจิตใจของ บุคคลอื่นสัตว์อื่นด้วยศาสตราวุธหรือด้วยกายก็ตาม การถือเอา สิ่งของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ด้วยอาการอันเป็นโจรก็ตาม แม้การ ประพฤติผิดในทางประเวณี ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความแตกร้าวในหมู่ มนุษย์ก็ตาม การเข้าไปกล่าวร้ายว่าร้ายผู้อื่นด้วยวาจาก็ตาม เหล่านี้ก็จัดว่าเป็นบาปอกุศลทุจริต เป็นการฆ่าการเบียดเบียนทั้ง โดยตรงและโดยอ้อม ผู้ประพฤติเช่นนี้ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ฆ่าผู้ เบียดเบียน ผู้เข้าไปทาลายล้างผลาญผู้อื่นสัตว์อื่นให้ทุกข์ยาก เดือดร้อน ส่วนบุคคลผู้มีเมตตาเป็นวิหารธรรมเป็นปกติอัธยาศัย