SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทที่ 5
การสรุป อภิปรายผลโครงงาน และข้อเสนอแนะ
โครงงานเรื่องการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่องอิศรญาณภาษิต สาหรับ
นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 เป็นโครงงานที่จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลมาแก้ปัญหาที่เกิด
ในชั้นเรียนภาษาไทยเรื่องอิศรญาณภาษิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดการสอนรายบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซึ่งผู้จัดทาโครงการได้นาชุดการสอนนี้ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
โรงเรียนสิงห์สมุทร อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยได้ดาเนินการทดลองออกเป็น 3 ขั้น
ขั้นที่1 การทดสอบกลุ่มเล็กแบบ 1:1 กับนักเรียนจานวน 3 คน เพื่อปรับปรุงบทเรียน
ขั้นที่2 การทดสอบกลุ่มเล็กแบบ 1:3 กับนักเรียนจานวน 9 คน เพื่อปรับปรุงบทเรียน
ขั้นที่3 การทดสอบภาคสนามกับนักเรียนจานวน 30 คน
ซึ่งในการทดสอบแต่ละขั้นนักเรียนจะต้องลองใช้ชุดการสอนแบบรายบุคคลเรื่องอิศรญาณภาษิต แล้ว
ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท และแบบทดสอบหลังเรียน
1. การสรุปผลโครงงาน
การพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่อง อิศรญาณภาษิต สาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(E1/E2) เท่ากับ 80.11 / 79.78 ซึ่งมีค่าตามที่กาหนดไว้
คือ 0.50 ขึ้นไป จากการทดลองจึงพบว่าชุดการสอนรายบุคคลมีประสิทธ์ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้
2. การอภิปรายผลโครงงาน
ชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่อง อิศรญาณภาษิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3
มีความเหมาะสมที่นักเรียนสามารถนพไปศึกษาด้วยตนเองได้ และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของ
นักเรียนนอกเหนือจากเวลาเรียนในห้อง และจากการทดสอบครั้งนี้พบว่าชุดการสอนมีประสิทธิภาพด้าน
กระบวนการสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย และด้านผลลัพธ์ต่ากว่าเกณฑ์เล็กน้อย แต่สามารถยอมรับได้ที่ระดับ
นัยสาคัญที่0.50 โดยสาเหตุที่ชุดการสอนมีประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้เกิดจาก
1. การทดสอบจัดขึ้นที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนสิงห์สมุทร ซึ่งนักเรียนที่ได้รับ
การทดสอบทุกคนจะถูกจัดให้นั่งอยู่ในห้องเดียวกัน บางครั้งจึงเกิดการซักถามกันในระหว่างการทาแบบฝึกหัด
และแบบทดสอบ อีกทั้งการพูดคุยยังทาให้นักเรียนคนอื่นเสียสมาธิ
2. ในระหว่างการทาแบบทดสอบมีนักเรียนบางคนย้อนกลับไปเปิดเนื้อหาในชุดการสอนดูเมื่อไม่
สามารถทาแบบทดสอบได้
3. เนื้อหาในชุดการสอนโดยเฉพาะบทที่ 2 ซึ่งเป็นส่วนการวิเคราะห์คาประพันธ์นั้นมีเนื้อหามาก
ที่สุด ซึ่งส่งผลให้นักเรียนบางคนเกิดอาการเบื่อหน่ายได้
3. ข้อเสนอแนะ
1. ครูผู้สอนควรส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองโดยนาชุดการสอนแบบรายบุคคลให้
นักเรียนนาไปใช้นอกชั้นเรียน โดยเฉพาะกับเด็กที่มีผลการเรียนต่า ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลาในการศึกษาเนื้อหา
นานกว่านักเรียนคนอื่น เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้น
2. การควบคุมชั้นเรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ควรจะต้องทาให้เข้มงวดกว่าปกติ
โดยเฉพาะการทุจริตซึ่งจะบ่มเพาะอุปนิสัยที่ไม่ดีแก่ผู้เรียนได้
3. ควรพัฒนาสื่อการสอนในรูปแบบอื่นเพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกสื่อที่ใช้ได้ตามคามพอใจเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนให้มากขึ้นไปอีก
4. ควรนาหลักการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลไปใช้กับการเรียนการสอนในหัวข้ออื่นๆของ
วิชาภาษาไทยที่มีปัญหาเหมือนกับเรื่องอิศรญาณภาษิตซึ่งมีเนื้อหามาก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียน

More Related Content

Similar to Unit5

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3Krudoremon
 
บทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรีบทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรี8752584
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKo Kung
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง8752584
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่Aon Narinchoti
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อChongnang Shosa
 
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำบทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำSikarinDatcharern
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 

Similar to Unit5 (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรีบทคัดย่อครูราตรี
บทคัดย่อครูราตรี
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
 
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลังRahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
Rahe model เรื่อง เลขยกกำลัง
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่บทคัดย่อใหม่
บทคัดย่อใหม่
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำบทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)บทคัดย่อ(เอนก)
บทคัดย่อ(เอนก)
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
4mat
4mat4mat
4mat
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 

More from Inhyung Park

คำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจคำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจInhyung Park
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจInhyung Park
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯInhyung Park
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯInhyung Park
 

More from Inhyung Park (9)

Appendix
AppendixAppendix
Appendix
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
unit3
unit3unit3
unit3
 
คำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจคำศัพท์ที่น่าสนใจ
คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯงานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
งานชิ้นที่ 5 แหล่งทรัพยาการการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระฯ
 

Unit5

  • 1. บทที่ 5 การสรุป อภิปรายผลโครงงาน และข้อเสนอแนะ โครงงานเรื่องการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่องอิศรญาณภาษิต สาหรับ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 เป็นโครงงานที่จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลมาแก้ปัญหาที่เกิด ในชั้นเรียนภาษาไทยเรื่องอิศรญาณภาษิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดการสอนรายบุคคลที่มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซึ่งผู้จัดทาโครงการได้นาชุดการสอนนี้ไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนสิงห์สมุทร อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยได้ดาเนินการทดลองออกเป็น 3 ขั้น ขั้นที่1 การทดสอบกลุ่มเล็กแบบ 1:1 กับนักเรียนจานวน 3 คน เพื่อปรับปรุงบทเรียน ขั้นที่2 การทดสอบกลุ่มเล็กแบบ 1:3 กับนักเรียนจานวน 9 คน เพื่อปรับปรุงบทเรียน ขั้นที่3 การทดสอบภาคสนามกับนักเรียนจานวน 30 คน ซึ่งในการทดสอบแต่ละขั้นนักเรียนจะต้องลองใช้ชุดการสอนแบบรายบุคคลเรื่องอิศรญาณภาษิต แล้ว ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกหัดท้ายบท และแบบทดสอบหลังเรียน 1. การสรุปผลโครงงาน การพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่อง อิศรญาณภาษิต สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน(E1/E2) เท่ากับ 80.11 / 79.78 ซึ่งมีค่าตามที่กาหนดไว้ คือ 0.50 ขึ้นไป จากการทดลองจึงพบว่าชุดการสอนรายบุคคลมีประสิทธ์ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 2. การอภิปรายผลโครงงาน ชุดการสอนแบบรายบุคคลวิชาภาษาไทย เรื่อง อิศรญาณภาษิต สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 มีความเหมาะสมที่นักเรียนสามารถนพไปศึกษาด้วยตนเองได้ และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของ นักเรียนนอกเหนือจากเวลาเรียนในห้อง และจากการทดสอบครั้งนี้พบว่าชุดการสอนมีประสิทธิภาพด้าน กระบวนการสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย และด้านผลลัพธ์ต่ากว่าเกณฑ์เล็กน้อย แต่สามารถยอมรับได้ที่ระดับ นัยสาคัญที่0.50 โดยสาเหตุที่ชุดการสอนมีประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้เกิดจาก 1. การทดสอบจัดขึ้นที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนสิงห์สมุทร ซึ่งนักเรียนที่ได้รับ การทดสอบทุกคนจะถูกจัดให้นั่งอยู่ในห้องเดียวกัน บางครั้งจึงเกิดการซักถามกันในระหว่างการทาแบบฝึกหัด และแบบทดสอบ อีกทั้งการพูดคุยยังทาให้นักเรียนคนอื่นเสียสมาธิ
  • 2. 2. ในระหว่างการทาแบบทดสอบมีนักเรียนบางคนย้อนกลับไปเปิดเนื้อหาในชุดการสอนดูเมื่อไม่ สามารถทาแบบทดสอบได้ 3. เนื้อหาในชุดการสอนโดยเฉพาะบทที่ 2 ซึ่งเป็นส่วนการวิเคราะห์คาประพันธ์นั้นมีเนื้อหามาก ที่สุด ซึ่งส่งผลให้นักเรียนบางคนเกิดอาการเบื่อหน่ายได้ 3. ข้อเสนอแนะ 1. ครูผู้สอนควรส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองโดยนาชุดการสอนแบบรายบุคคลให้ นักเรียนนาไปใช้นอกชั้นเรียน โดยเฉพาะกับเด็กที่มีผลการเรียนต่า ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลาในการศึกษาเนื้อหา นานกว่านักเรียนคนอื่น เพื่อให้ผู้เรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้น 2. การควบคุมชั้นเรียนในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ควรจะต้องทาให้เข้มงวดกว่าปกติ โดยเฉพาะการทุจริตซึ่งจะบ่มเพาะอุปนิสัยที่ไม่ดีแก่ผู้เรียนได้ 3. ควรพัฒนาสื่อการสอนในรูปแบบอื่นเพื่อให้นักเรียนสามารถเลือกสื่อที่ใช้ได้ตามคามพอใจเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนให้มากขึ้นไปอีก 4. ควรนาหลักการพัฒนาชุดการสอนแบบรายบุคคลไปใช้กับการเรียนการสอนในหัวข้ออื่นๆของ วิชาภาษาไทยที่มีปัญหาเหมือนกับเรื่องอิศรญาณภาษิตซึ่งมีเนื้อหามาก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียน