SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปญหา
                                                               ั
                   โจทย์ปญหา PBL 1 เรือง ประวัตและขันตอนการเขียนโปรแกรม
                          ั              ่        ิ ้
             รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบืองต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
                                            ้

สมาชิกในกลุ่ม
   1. นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ       เลขที่ 21
   2. นางสาวธนยา คูนีรัตน์ เลขที่ 23
   3. นางสาวสุมิตรา บุษบา เลขที่ 24




ภารกิจ
1.กลุ่มของนักเรียนพบปัญหาจากสถานการณ์นี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด และต้องแก้ปัญหานี้อย่างไร (1 คะแนน)
2.จากสถานการณ์ปัญหา ที่กล่าวมาแล้วนั้น นักเรียนสามารถอธิบายถึงประวัติและจุดเด่นของภาษาซี (2
คะแนน)
3.กรณีที่นักเรี ยนจะเลือกเป็นตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มต้นจากศึกษาตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบ
คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์ก่อน แล้วจึงเลือกเป็นตัวแปลภาษา พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ (2 คะแนน)
ตอนที่ 1
    หัวข้อปัญหา ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
    ทาความเข้าใจปัญหา ภาษาซีมีจุดเริ่มต้นอย่างไรและตัวแปรภาษาของภาษาซี
    - สิ่งที่ต้องการรู้ 1.ภาษาซีมีจุดเริ่มต้นอย่างไรและเหตุใดภาษาซีจึงได้รับความนิยมนามาใช้เขียนโปรแกรม
                        2.ถ้าสมมติว่านักเรียนเป็นคอมพิวเตอร์นักเรียนจะเลือกเป็นตัวแปลภาษาแบบใดระหว่าง
         คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์เพราะเหตุใด
    - วิธีการหาคาตอบ 1.ปรึกษากันในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กันสืบค้นปัญหาต่าง ๆ
                             2.สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ
แหล่งข้อมูล 1. www.lks.ac.th/anchalee/c_born.htm
              2. www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm
การศึกษาค้นคว้า / แก้ปญหา
                                                                  ั
       ชื่อสมาชิก   การแบ่ง                                    แหล่งข้อมูล/อ้างอิง
                     หน้าที่
   นางสาวจิ ร ะ สื บ ค้ น www.lks.ac.th/anchalee/c_born.htm
   ภรณ์ นนท์พละ ข้อมูล
   นางสาวธนยา พิมพ์            -
   คูนีรัตน์
   นางสาวสุมิตรา สื บ ค้ น www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm
   บุษบา          ข้อมูล
ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ
           1.ปัญหาจากสถานการณ์ข้างต้นมีสาเหตุมาจากการที่เราได้เรียนเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาซี เริ่มต้นจึงต้องรู้
หรือศึกษาประวัติเกี่ยวกับโปรแกรมก่อน ดังนั้นเราจึงเกิดปัญหาข้างต้นขึ้นคือภาษาซี มีจุดเริ่มต้นอย่างไร แล้วทาไมถึงนิยม
นามาใช้เขียนโปรแกรม และอีกอย่างภาษาซีมีตัวแปลภาษา 2 แบบคือ คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์ แล้วจึงเกิดคาถามข้อ
ที่2ขึ้น
           2.ประวัติของภาษาซีเริ่มต้นมาจาก ศักยภาพและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพรหลาย จึงทาให้มีผู้คิดค้นพัฒนา
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีขึ้น คือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratories) ประเทศ
สหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ.1972และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยูนิกส์ ซึ่งใช้กันแพร่หลายในระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาระดับต่า (Low-Level Language) จึงทาให้นักพัฒนา
โปรแกรมสามารถที่จะกาหนดรายละเอียดของโปรแกรมให้เข้าถึงการทางานในส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ให้มากที่สุดเพื่อให้
เกิดความเร็ว ในการทางานสูงสุดและในขณะเดียวกันภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษาระดับสูง (High-Level Language) ทาให้
ผู้พัฒนาสามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ต้องการได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องคานึงถึงฮาร์ดแวร์ใด ๆ
ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นาย Bjarne Stroustrup นักวิจัย
และพัฒนาของศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratiories) ได้พัฒนาภาษา C++ (ซีพลัสพลัส) ขึ้นมา โดยที่ภาษา C++ มี
ความสามารถในการทางานได้ทุกอย่างเหมือนกับภาษาซี ซึ่งมีรูปแบบและโครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกัน แต่ภาษา C++ ใช้
หลักการออกแบบโปแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Design) ในขณะที่ภาษาซีใช้หลักการออกแบบโปรแกรมแบบโมดูลาร์
(Modular Design) และภาษาซีก็มีจุดเด่น คือ เป็นภาษาที่มีความเร็วในการทางานสูงใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง มีโครงสร้างที่
ชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างดี
           3. ตัวแปลภาษาของภาษาซีมี 2 แบบ Compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรม
ที่มนุษย์เขียนขึ้นไปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า
คอมไพล์ (compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้วทาการแปลผลทีเดียว นอกจากคอมไพเลอร์
แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่าอินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่ง
เสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการแปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้ ถ้าเรา
เป็นคอมพิวเตอร์เราจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ เพราะจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้ว
ทาการแปลผลทีเดียว เป็นการประหยัดเวลาและรวดเร็วต่อการประมวลผล

More Related Content

What's hot

โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1Jaruwank
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2คำชี้แจงใบงานที่ 1.2
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2ms word2010 homework
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภpiraya suklap
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6Nat Ty
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานBest Tanakorn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jakkrapong Bantawang
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานThanawut Rattanadon
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01TeerapatSrilom
 

What's hot (19)

471
471471
471
 
โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1โจทย์ปัญหา Pbl 1
โจทย์ปัญหา Pbl 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2คำชี้แจงใบงานที่ 1.2
คำชี้แจงใบงานที่ 1.2
 
Pbl7.2
Pbl7.2Pbl7.2
Pbl7.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Plan3
Plan3Plan3
Plan3
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภนางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
นางสาวพิรญาณ์ สุขลาภ
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
 
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มโครงร่างโครงงาน
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
 
2562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat012562 final-project teerapat01
2562 final-project teerapat01
 

Similar to ใบงานPbl1

โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดnattapon Arsapanom
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม nattapon Arsapanom
 
โจทย์ปัญหาPbl1
โจทย์ปัญหาPbl1โจทย์ปัญหาPbl1
โจทย์ปัญหาPbl1namthip2539
 

Similar to ใบงานPbl1 (20)

โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ดโจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง  การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
โจทย์ปัญหา Pbl 8.1เรื่อง การรับข้อมู]ทางคีย์บอร์ด
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
โจทย์ปัญหา PBL 3 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
1236363
12363631236363
1236363
 
Pbl4.1
Pbl4.1 Pbl4.1
Pbl4.1
 
งานPbl 3
งานPbl 3งานPbl 3
งานPbl 3
 
Pbl5
Pbl5Pbl5
Pbl5
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
โจทย์ปัญหาPbl1
โจทย์ปัญหาPbl1โจทย์ปัญหาPbl1
โจทย์ปัญหาPbl1
 

More from Sumitrazaza

More from Sumitrazaza (7)

Pbl8.2
Pbl8.2Pbl8.2
Pbl8.2
 
Pbl6
Pbl6Pbl6
Pbl6
 
Pbl4.1
Pbl4.1Pbl4.1
Pbl4.1
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2ใบงานPbl1.2
ใบงานPbl1.2
 

ใบงานPbl1

  • 1. แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปญหา ั โจทย์ปญหา PBL 1 เรือง ประวัตและขันตอนการเขียนโปรแกรม ั ่ ิ ้ รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบืองต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ้ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวจิระภรณ์ นนท์พละ เลขที่ 21 2. นางสาวธนยา คูนีรัตน์ เลขที่ 23 3. นางสาวสุมิตรา บุษบา เลขที่ 24 ภารกิจ 1.กลุ่มของนักเรียนพบปัญหาจากสถานการณ์นี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด และต้องแก้ปัญหานี้อย่างไร (1 คะแนน) 2.จากสถานการณ์ปัญหา ที่กล่าวมาแล้วนั้น นักเรียนสามารถอธิบายถึงประวัติและจุดเด่นของภาษาซี (2 คะแนน) 3.กรณีที่นักเรี ยนจะเลือกเป็นตัวแปลภาษา นักเรียนควรเริ่มต้นจากศึกษาตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบ คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์ก่อน แล้วจึงเลือกเป็นตัวแปลภาษา พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ (2 คะแนน) ตอนที่ 1 หัวข้อปัญหา ประวัติและขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ทาความเข้าใจปัญหา ภาษาซีมีจุดเริ่มต้นอย่างไรและตัวแปรภาษาของภาษาซี - สิ่งที่ต้องการรู้ 1.ภาษาซีมีจุดเริ่มต้นอย่างไรและเหตุใดภาษาซีจึงได้รับความนิยมนามาใช้เขียนโปรแกรม 2.ถ้าสมมติว่านักเรียนเป็นคอมพิวเตอร์นักเรียนจะเลือกเป็นตัวแปลภาษาแบบใดระหว่าง คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์เพราะเหตุใด - วิธีการหาคาตอบ 1.ปรึกษากันในกลุ่ม แล้วแบ่งหน้าที่กันสืบค้นปัญหาต่าง ๆ 2.สืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ แหล่งข้อมูล 1. www.lks.ac.th/anchalee/c_born.htm 2. www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm
  • 2. การศึกษาค้นคว้า / แก้ปญหา ั ชื่อสมาชิก การแบ่ง แหล่งข้อมูล/อ้างอิง หน้าที่ นางสาวจิ ร ะ สื บ ค้ น www.lks.ac.th/anchalee/c_born.htm ภรณ์ นนท์พละ ข้อมูล นางสาวธนยา พิมพ์ - คูนีรัตน์ นางสาวสุมิตรา สื บ ค้ น www.lks.ac.th/kuanjit/Program_C/ProgramC_10.htm บุษบา ข้อมูล ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ 1.ปัญหาจากสถานการณ์ข้างต้นมีสาเหตุมาจากการที่เราได้เรียนเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาซี เริ่มต้นจึงต้องรู้ หรือศึกษาประวัติเกี่ยวกับโปรแกรมก่อน ดังนั้นเราจึงเกิดปัญหาข้างต้นขึ้นคือภาษาซี มีจุดเริ่มต้นอย่างไร แล้วทาไมถึงนิยม นามาใช้เขียนโปรแกรม และอีกอย่างภาษาซีมีตัวแปลภาษา 2 แบบคือ คอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์ แล้วจึงเกิดคาถามข้อ ที่2ขึ้น 2.ประวัติของภาษาซีเริ่มต้นมาจาก ศักยภาพและเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์ที่แพรหลาย จึงทาให้มีผู้คิดค้นพัฒนา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาซีขึ้น คือ นายเดนนิส ริทชี่ (Dennis Ritchie) ที่ศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratories) ประเทศ สหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ.1972และเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติการยูนิกส์ ซึ่งใช้กันแพร่หลายในระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ภาษาซีเป็นภาษาที่มีความใกล้เคียงกับภาษาระดับต่า (Low-Level Language) จึงทาให้นักพัฒนา โปรแกรมสามารถที่จะกาหนดรายละเอียดของโปรแกรมให้เข้าถึงการทางานในส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ให้มากที่สุดเพื่อให้ เกิดความเร็ว ในการทางานสูงสุดและในขณะเดียวกันภาษาซีก็ยังมีความเป็นภาษาระดับสูง (High-Level Language) ทาให้ ผู้พัฒนาสามารถที่จะพัฒนาโปรแกรมได้ โดยเน้นไปที่การแก้ปัญหาที่ต้องการได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องคานึงถึงฮาร์ดแวร์ใด ๆ ภาษาซีเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นาย Bjarne Stroustrup นักวิจัย และพัฒนาของศูนย์วิจัยเบล (Bell Laboratiories) ได้พัฒนาภาษา C++ (ซีพลัสพลัส) ขึ้นมา โดยที่ภาษา C++ มี ความสามารถในการทางานได้ทุกอย่างเหมือนกับภาษาซี ซึ่งมีรูปแบบและโครงสร้างของภาษาใกล้เคียงกัน แต่ภาษา C++ ใช้ หลักการออกแบบโปแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Design) ในขณะที่ภาษาซีใช้หลักการออกแบบโปรแกรมแบบโมดูลาร์ (Modular Design) และภาษาซีก็มีจุดเด่น คือ เป็นภาษาที่มีความเร็วในการทางานสูงใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง มีโครงสร้างที่ ชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างดี 3. ตัวแปลภาษาของภาษาซีมี 2 แบบ Compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหนึ่ง มีหน้าที่หลักคือการแปลภาษาโปรแกรม ที่มนุษย์เขียนขึ้นไปเป็นภาษาเครื่อง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซึ่งหลักการที่คอมไพเลอร์ใช้ เรียกว่า คอมไพล์ (compile) โดยจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้วทาการแปลผลทีเดียว นอกจากคอมไพเลอร์ แล้ว ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่าอินเตอร์พรีเตอร์ การอ่านและ แปลโปรแกรมทีละบรรทัด เมื่อแปลผลบรรทัดหนึ่ง เสร็จก็จะทางานตามคาสั่งในบรรทัดนั้น แล้วจึงทาการแปลผลตามคาสั่งในบรรทัดถัดไป หลักการที่อินเตอร์พรีเตอร์ใช้ ถ้าเรา เป็นคอมพิวเตอร์เราจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ เพราะจะทาการอ่านโปรแกรมภาษาซีทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบแล้ว ทาการแปลผลทีเดียว เป็นการประหยัดเวลาและรวดเร็วต่อการประมวลผล