SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รายงาน
เรื่องทางดวนสาระสนเทศกับอินเทอรเน็ต
เสนอ
ครู ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทําโดย
นางสาวนิรชา นุชยิ้มยองเลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปที่5/3
รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสํานักงานขั้นสูง
รหัสวิชา ง.30210
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2557
โรงเรียนเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
~ ก ~
คํานํา
รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอรของ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี เรื่องทางดวนสาระสนเทศกับอินเทอรเน็ตซึ่งมีองคความรูพื้นฐานที่สามารทําความ
เขาใจได ถารายงานเลมนี้ผิดพลาดประการใดขออภัยไว ณ. ที่นี้ดวย
จัดทําโดย
นางสาวนิรชา นุชยิ้มยอง
ชั้นม.5/3เลขที่38
~ ข ~
สารบัญ
สารบัญ1 ......................................................................................................................................................ข
สารบัญรูปภาพ1 ...........................................................................................................................................ค
ทางดวนสารสนเทศกับอินเตอรเน็ต1 .................................................................................................................1
ทางดวนสารสนเทศและอินเตอรเน็ต1 ............................................................................................................1
ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)................................................................................1
อินเตอรเน็ต (INTERNET).....................................................................................................................2
ระบบการแทนชื่อในอินเตอรเน็ต1 .................................................................................................................4
การติดตอเขากับอินเตอรเน็ต1......................................................................................................................7
การเชื่อมตอโดยตรง1 .............................................................................................................................7
การเชื่อมตอผานการหมุนโทรศัพท1 ..........................................................................................................8
บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล1 .................................................................................................9
จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail)..............................................................................................9
สัญลักษณและตัวยอในการสื่อสารดวยอีเมลล1 ............................................................................................ 10
การเขาใชเครื่องจากระยะไกล(Telnet)................................................................................................. 10
การขนถายไฟล (Ftp)......................................................................................................................... 11
กระดานขาว (Usenet)....................................................................................................................... 12
การพูดออนไลน (Talk) ....................................................................................................................... 12
บริการเกมสออนไลน1 .......................................................................................................................... 13
บริการคนหาขอมูล1 ................................................................................................................................. 13
Archie............................................................................................................................................ 14
WAIS (Wide Area Information Service)......................................................................................... 14
~ ค ~
Gogher........................................................................................................................................... 14
Veronica........................................................................................................................................ 14
WWW (World Wide Web)............................................................................................................. 15
โปรแกรมบราวเซอร (Browser) ............................................................................................................... 16
การประยุกตใชอินเตอรเน็ต1 ...................................................................................................................... 17
การนําเสนอสินคาและเสริมสรางภาพพจนบริษัท1 ..................................................................................... 18
ใหขอมูลกับนักลงทุน1 .......................................................................................................................... 18
หนังสือพิมพและวารสารอิเล็กทรอนิกส1 .................................................................................................. 18
เปดรานคาใหเชาที่1 ............................................................................................................................. 18
การสนับสนุนทางเทคนิค1 ..................................................................................................................... 18
ใหขอมูลขาวสารทั่ว ๆ ไปกับสาธารณะชน1 .............................................................................................. 19
เก็บรวบรวมขอมูลตลอดจนการเสนอขายขอมูล1 ....................................................................................... 19
การจําหนายสินคา1 ............................................................................................................................. 19
อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซทราเน็ต (EXTRANET) ........................................................................... 19
องคประกอบของอินทราเน็ต1 ................................................................................................................ 20
เอกซทราเน็ต (EXTRANET)................................................................................................................. 21
อางอิง1 ....................................................................................................................................................... ง
~ ค ~
สารบัญรูปภาพ
รูปที่ 1 ........................................................................................................................................................2
รูปที่ 2 ........................................................................................................................................................9
~ 1 ~
ทางดวนสารสนเทศกับอินเตอรเน็ต
ทางดวนสารสนเทศและอินเตอรเน็ต
ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)
ในปจจุบันนี้ผูใชหลายคนเขาใจวา ทางดวนสารสนเทศ (Information
Superhighway) กับ อินเตอรเน็ต (Internet) เปนสิ่งเดียวกัน แตในความเปนจริงนั้นทางดวน
สารสนเทศหรือที่เรียกสั้น ๆ วา ไอเวย (I-way) หมายถึง โครงสรางพื้นฐาน
(infrastructure) ของระบบโทรคมนาคมในการรับสงขอมูลดิจิตอลที่มีความเร็วและมีความ
เชื่อถือได ตลอดจนมีความปลอดภัยสูงพอที่จะรองรับขอมูลจํานวนมหาศาลจากผูใชทั้ง
ประเทศหรือแมกระทั่งโลก สวนอินเตอรเน็ตก็คือตนแบบของทางดวยสารสนเทศที่เกิดขึ้น
แลวในปจจุบันนั่นเอง
ทางดวนสารสนเทศจะเปนระบบคมนาคมสื่อสาร ที่สามารถใหบริการติดตอสื่อสารไดทุก
รูปแบบและรวดเร็ว สิ่งที่วิ่งอยูบนทางดวนสารสนเทศอาจเปนไดทั้งภาพ เสียง หรือขอมูล
สวนการติดตอสื่อสารสามารถเปนไดทั้งแบบโตตอบสองทางเชนเดียวกับการใชโทรศัพท
หรือแบบทางเดียวเชนเดียวกับการแพรภาพของสัญญาณโทรทัศนและการกระจายเสียง
ของสัญญาณวิทยุ แนวความคิดในการสรางทางดวนสารสนเทศก็คือการนําเอาเครือจาย
ของโทรศัพท โทรทัศน และคอมพิวเตอรมารวมกัน เพื่อเสริมจุดเดนและแกจุดดอยของแต
ละเครือขาย รวมทั้งมีการกําหนดวาสัญญาณที่ใชตองเปนสัญญาณแบบดิจิตอลเทานั้น
เพราะมีสัญญาณรบกวนนอยมาก
เมื่อมีทางดวนสารสนเทศ ในอนาคตสภาพบานเรือนและสํานักงานจะเปลี่ยนแปลงไป
กลาวคือ โทรศัพท โทรทัศน ตลอดจนเครื่องคอมพิวเตอร จะมีสายตอเชื่อมเขากับอุปกรณ
คอมพิวเตอรขนาดเล็กที่ใชแยกสัญญาณตาง ๆ ในการติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่น ๆ ทั่วโลก
อุปกรณนี้จะเชื่อมตอไปยัง หนวยบริการทองถิ่น (Local Service Provider) ซึ่งทําหนาที่
แทนชุมสายโทรศัพททองถิ่นในปจจุบัน และหนวยบริการทองถิ่นก็จะมีสายเชื่อมตอกับ
ทางดวนสารสนเทศที่ผานเมืองนั้น เครือขายทั้งหมดจะรวมกันเครือขายขนาดใหญที่
~ 2 ~
ครอบคลุมทั้งโลก ทําใหการติดตอสื่อสาร ตลอดจนการทําธุรกิจตาง ๆ สามารถกระทําได
โดยไมตองกาวออกจากบานหรือสํานักงานเลย
อินเตอรเน็ต (INTERNET)
อินเตอรเน็ตคือตัวอยางหนึ่งของทางดวนสารสนเทศที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และเปนทางดวน
ที่ไดรับความนิยมสูงสุด เนื่องจากเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปถึงศักยภาพในการเติบโตเปน
ชุมชนขนาดใหญของอินเตอรเน็ต โดยปจจุบันนี้อินเตอรเน็ตมีการเชื่อมตอระบบ
คอมพิวเตอรนับลานระบบและมีผูใชหลายสิบลานคน ซึ่งเทียบประชากรอินเตอรเน็ตใน
ปจจุบันไดกับประชากรของประเทศไทยทั้งประเทศ และที่สําคัญก็คือรายไดเฉลี่ยของ
ประชากรอินเตอรเน็ต จะสูงกวารายไดเฉลี่ยของประชากรประเทศใด ๆ ในโลก
อินเตอรเน็ตเปนเครือขายซึ่งเปนที่รวมของเครือขายยอย ๆ หรือกลาวไดวาเปน เครือขาย
ของเครือขาย (Network of Network) ซึ่งสื่อสารกันไดโดยใชโปรโตคอลแบบทีซีพี/ไอพี
(TCP/IP) ซึ่งทําใหคอมพิวเตอรตางชนิดกันเมื่อนํามาใชในเครือขายแลวสามารถ
แลกเปลี่ยนขอมูลกันได
รูปที่ 1
เหตุการณสําคัญ ๆ บนอินเตอรเน็ต
อินเตอรเน็ตเริ่มใชงานในปค.ศ.1969 ภายใตชื่อเรียกวา อารพาเน็ต (APRANET หรือ
Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเปนเครือขายทดลองตั้งขึ้นเชื่อม
~ 3 ~
ระหวางศูนยปฏิบัติการวิจัยของทหาร ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา
(Department of Defense หรือ DOD) กับศูนยปฏิบัติการวิจัยของมหาวิทยาลัยตาง ๆ ระบบ
อารพาเน็ตเปนเครือขายที่ประสบความสําเร็จอยางมาก ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก
มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หนวยงานของรัฐและเอกชนตาง ๆ มากมาย สิ่งที่นาสนใจของระบบ
อินเตอรเน็ตคือการถูกออกแบบมาใหไมตองมีศูนยกลางของการติดตอ ซึ่งการไมมี
ศูนยกลางควบคุมนี้ ทําใหมีผูเขามารวมใชอินเตอรเน็ตมากมาย ระบบจึงเติบโตขึ้นโดยไมมี
ขีดจํากัด จนกระทั่งปจจุบันนี้เริ่มเกิดปญหาชองทางการสื่อสารผานอินเตอรเน็ตติดขัดบาง
แลว เชน จดหมายอินเตอรเน็ตที่เคยสงไดทันที ก็ตองรอเปนชั่วโมงเพราะไมมีชองทางการ
สื่อสารเพียงพอ เปนตน
บริการอินเตอรเน็ตแบงได 2 กลุม คือ
o บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล
เปนบริการซึ่งเกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารกันระหวางผูใช การเขาใช
งานเครื่องซึ่งอยูหางออกไป การขนถายไฟล และการแลกเปลี่ยน
ความเห็นหรือความรูระหวางผูใช เชน
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส
 เทลเน็ต (Telnet)
 ขนถายไฟล
 ยูสเน็ต (Usenet)
 การพูดคุยออนไลน (Talk)
 บริการเกมออนไลน
o บริการคนหาขอมูล
อินเตอรเน็ตชวยใหผูใชสามารถคนหาขอมูลตาง ๆ ที่ตองการไดอยาง
รวดเร็ว เนื่องจากในอินเตอรเน็ตมีเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูเชี่ยวชาญในดาน
ตาง ๆ จัดเก็บขอมูลเพื่อเผยแพรไวมากมาย ชวยใหประหยัดคาใชจายใน
การคนหาขอมูลไดมาก บริการเหลานี้ เชน
 Archie
 WAIS ( Wide Area Information Service )
~ 4 ~
 Gopher
 Veronica
 Mailing List
 WWW ( World Wide Web )
ระบบการแทนชื่อในอินเตอรเน็ต
คอมพิวเตอรในอินเตอรเน็ตติดตอกันโดยใชโปรโตคอลแบบ ทีซีพี (Transmission Control) และไอพี
(Internet Protocal) ซี่งเรียกรวม ๆ กันวา ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) และมีการใชหลักการเครือขายแบบเพคเกต
สวิทช (packet - switching network) นั่นคือเพคเกตหรือกลุมขอมูลจะถูกแบงออกเปนกลุม ๆ และสงไปยัง
ปลายทางโดยใชเสนทางตาง ๆ กัน ตามแตปลายทางที่กําหนด โดยเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออยูกับ
เครือขายจะตองมีหมายเลขประจําตัวเครื่องใหเครื่องคอมพิวเตอรอื่น ๆ อางอิงถึงกันได หมายเลขประจํา
เครื่องคอมพิวเตอรในอินเตอรเน็ตเรียกวา หมายเลขไอพี (IP address) โดยคําวาไอพีมายอมาจากอินเตอรเน็ต
โปรโตคอล (Internet Protocal) หมายเลขไอพีจะเปนหมายเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต หมายเลขชุดนี้จะถูก
แบงเปน 4 สวน สวนละ 8 บิต เทา ๆ กัน ในการอางถึงก็จะแปลงเลขนั้นเปนเลขฐานสิบเพื่อความสะดวกให
ผูใชอางถึงไดงาย ดังนั้นตัวเลขในแตละสวนนี้จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 255 เทานั้น เชน 192.10.1.101 เปนตน
จะเห็นไดวาหมายเลขไอพีจดจําไดยาก ถาเครื่องในเครือขายมีจํานวนมากก็จะทําใหสับสนไดงาย จึงไดมีการ
แกปญหาโดยตั้งชื่อที่เปนตัวอักษรขึ้นมาแทนหมายเลขไอพี เพื่อชวยในการจดจํา นอกจากนี้ ในกรณีที่เครื่อง
เสียหรือตองการเปลี่ยนเครื่องที่ใหบริการจากเครื่องที่มีหมายเลขไอพีเปน 192.100.10.23 เปน 192.100.10.25
ผูดูแลระบบก็เพียงแตแกไขขอมูลในฐานขอมูลใหเครื่องใหมใชชื่อของเครื่องเดิมเทานั้น เครื่องใหมก็จะ
สามารถใหบริการไดทันทีโดยที่ไมตองยายฮารดแวรแตอยางไร และผูใชยังคงใชงานไดเหมือนเดิมโดยที่ไม
ตองแกไขอะไรทั้งสิ้น
ผูที่ตองการติดตั้งโฮสตคอมพิวเตอร (Host Computer) เพื่อเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต และใหบริการตาง ๆ
สามารถขอหมายเลขไอพีไดจาก Internet Nretwork Information Center ของ Network Solution
Incorporated (NSI) ที่รัฐเวอรจิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา สวนบริษัทที่ใหบริการอินเตอรเน็ตเรียกวา
หนวยงานไอเอสพี (Internet Service Provider หรือ ISP)
การแทนหมายเลขไอพีดวยชื่อคอมพิวเตอรที่ใหบริการนั้น เรียกวา ระบบชื่อโดเมน (Domain Name
System) หรือ ดีเอ็นเอส (DNS) โดยจะจัดเก็บชื่อและหมายเลขไอพีลงในฐานขอมูลแบบลําดับชั้นในเครื่อง
คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่พิเศษเรียกวาเซิรฟเวอรชื่อ โดเมน (Domain Name Server ) หนวยงานInterNIC (
Internet Network Information Center ) ไดกําหนดรหัส โดเมนระดับบนสุด (Top - Level Domain Name
~ 5 ~
) ใหเปนมาตรฐานใชรวมกันสําหรับหนวยงาน และประเทศตาง ๆ โดยโครงสรางขอมูลชื่อโดเมนระดับ
บนสุดจะบอกถึงประเภทขององคกร หรือชื่อประเทศที่เครือขายตั้งอยู ดังตาราง
รหัส
โดเมน
ใชสําหรับ ตัวอยาง
com กลุมธุรกิจการคา (Commercial organization) sun.com
edu สถาบันการศึกษา (Education institution) ucla.edu
gov
หนวยงานของรัฐบาลที่ไมใชหนวยงานทางทหาร
(Government agency)
nasa.gov
mil
หนวยงานทางทหาร (Department of Defence of Military
sites)
army.mil
net หนวยงานเกี่ยวกับเครือขาย (Network resource) isp.net
org หนวยงานที่ไมหวังผลกําไร (Provate organization) unesco.org
รหัสโดเมนแทนประเภทของหนวยงาน
ในกรณีที่เครือขายนั้นอยูนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จะใชชื่อยอของประเทศเปนชื่อโดเมนระดับบนสุด ดัง
ตัวอยางในตาราง
รหัสโดเมน ประเทศ
au ออสเตรเลีย
at ออสเตรีย
ca แคนาดา
dk เดนมารค
ie ไอรแลนด
jp ญี่ปุน
th ไทย
uk อังกฤษ
~ 6 ~
รหัสโดเมนแทนชื่อประเทศ
สําหรับในประเทศไทยจะมีโดเมนระดับบนสุดคือ th และมีรหัสโดเมนยอยแทนประเภทของหนวยงานอยู 3
กลุม คือ
รหัสโดเมน ใชสําหรับ ตัวอยาง
or กลุมธุรกิจการคา nectec.or.th
ac สถาบันการศึกษา chandra.ac.th
go หนวยงานของรัฐบาล mua.go.th
รหัสโดเมนยอยในประทศไทย
จํานวนเครือขายที่มีการจดทะเบียนชื่อโดเมนในเดือนมกราคมป 1997 มียอดสูงถึง 16 ลานเครื่อง
นอกจากนี้ เนื่องจากการเติบโตอยางรวดเร็วของอินเตอรเน็ต ทําใหการแบงชื่อโดเมนตามประเภทของ
องคกรเริ่มไมเพียงพอ จึงกําลังมีการพิจารณาที่จะเพิ่มชื่อโดเมนระดับบนสุดเพิ่มขึ้นอีก 7 ชื่อ ดังตาราง
รหัสโดเมน ใชสําหรับ
firm องคการธุรกิจ
store บริษัทที่มีการขายสินคา
web สําหรับไซตที่เนนทางดาน
art สําหรับไซตทางวัฒนธรรม
info บริการสารสนเทศ
nom สําหรับไซตเฉพาะบุคคล
rec สําหรับไซตดานความบันเทิง
รหัสโดเทนแทนประเภทของหนวยงานชุดใหม
~ 7 ~
การติดตอเขากับอินเตอรเน็ต
หากมองในแงของเครือขายคอมพิวเตอรแลว อินเตอรเน็ตจัดเปนเครือขายแวนแบบสาธารณะเครือขายหนึ่ง
แตเปนเครือขายสาธารณะที่ไมมีเจาของโดยตรง การเขาใชงานเครือขายอินเตอรเน็ตจะติดตอหนวยงานไอ
เอสพี ซึ่งเปนเสมือนผูใชอินเตอรเน็ตผูหนึ่งที่มีการเชื่อมเขากับอินเตอรเน็ตดวยความเร็วสูง นอกจากนี้การ
ใชงานเครือขายสาธารณะอื่น ๆ จะเปนการใชในการเชื่อมตอระหวางผูที่เกี่ยวของกัน เชน บริษัทกับสาขา
หรือบริษัทกับคูคา เปนตน ในขณะที่การเชื่อมตออินเตอรเน็ตจะเปนการเชื่อม ตอเขาดวยกันของผูสนใจใน
ชุมชนอินเตอรเน็ตจากทั่วโลก บริการตาง ๆ ที่มีอยูในอินเตอรเน็ตจะเปนบริการที่ผูใชงานในอินเตอรเน็ตเอง
เปนผูสรางขึ้น และอาจมีการคิดคาใชจายกับผูเขาใชหรือไมก็ได
การติดตอเขาใชบริการอินเตอรเน็ตจะมีสองวิธีคือ เชื่อมตอโดยตรง (direct internet access) และ เชื่อมตอ
ผานการหมุนโทรศัพท (dialup access)
การเชื่อมตอโดยตรง
ในการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง ผูใชจะตองมีเครือขายที่จตองการเชื่อมตอกับ
อินเตอรเน็ต เพื่อใหใชบริการตาง ๆ ไดตลอดเวลา โดยการเชื่อมตออาจใชอุปกรณ เราท
เตอร ทําหนาที่เปน ประตู เชื่อมโยงเครือขายภายในองคกรเขากับเครือขายของอินเตอรเน็ต
โดยใชชองทางการสื่อสาร เชน สายเชา ไมโครเวฟ สายใยแกว ดาวเทียม เปนตน จุดที่
สามารถเชื่อมตอเขากับอินเตอรเน็ตไดโดยปกติแลวจะเปนการตอเขากับระบบของ ไอเอส
พี ซึ่งเปนเสมือนตัวแทนในการเชื่อมตอกับเครือขายอินเตอรในแตละพื้นที่ โดยไอเอสพี
สวนมากในประเทศไทยก็จะมีการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต โดยเชาวงจรที่ตอผาน
การสื่อสารแหงประเทศไทยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา
เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง จะสามารถสงและรับกลุมขอมูลของ
อินเตอรเน็ตไดก็ตอเมื่อเครื่องนั้นมีหมายเลขไอพี และมีซอรฟแวรที่สนับสนุนโปรโตคอล
มาตรฐานในการรับและสงกลุมขอมูลในอินเตอรเน็ต หากเครื่องที่ใชติดตอเปนระบบ
ยูนิกซจะมีโปรโตคอลทีซีพี/ไอพีใหใชงานไดทันที สวนเครื่องที่ใชระบบวินโดว บริษัท
ไมโครซอฟทก็ไดใหซอฟตแวรสําหรับจัดการโปรโตคอลทีซีพี/ไอพีมาพรอมกับ
ซอฟตแวรวินโดว 95 และวินโดวเอ็นที
~ 8 ~
เมื่อมีการเชื่อมตอเขาสูอินเตอรเน็ตแลว ผูใชงานจะทํางานไดเชนเดียวกับเครื่อง
คอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ที่ติดตออยูกับอินเตอรเน็ต ขอดีของการติดตอกับอินเตอรเน็ต
โดยตรงก็คือสามารถรับและสงขอมูลไดโดยตรง นิยมใชในมหาวิทยาลัยและในบริษัทตาง
ๆ รวมทั้งหนวยงานที่เปนไอเอสพีก็ใชการเชื่อมตอแบบดังกลาวนี้เชื่อมตอกับหนวยงานไอ
เอสพีในตางประเทศ ซึ่งสวนมากจะเปนไอเอสพีที่มีการเชื่อมตอกับระบบโครงขายหลัก
ของอินเตอรเน็ตโดยตรง การที่ผูใชในประเทศไทยติดตอกับไอเอสพีในประเทศ ก็เพื่อลด
คาใชจายในการติดตอเชาคูสายโทรศัพททางไกลไปยังตางประเทศและคาบริการไอเอสพี
ในตางประเทศ เพราะหนวยงานไอเอสพีในประเทศจะเชาคูสายโทรศัพททางไกลและจาย
คาบริการไอเอสพีใหกับตางประเทศ เพื่อนํามาแบงใหบริการแกผูใชในประเทศเปนการ
เฉลี่ยคาใชจายนั่นเอง
การเชื่อมตอผานการหมุนโทรศัพท
การเชื่อมตอประเภทนี้จะเปนการติดตอผานสายโทรศัพท โดยใชเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
ติดตอผานโมเด็ม (modem) เพื่อติดตอกับคอมพิวเตอรที่มีการติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง
ซึ่งปกติแลวก็คือหนวยงานไอเอสพีนั่นเอง ในการใชงานจะตองพิจารณาวาตองการให
เครื่องที่ใชทํางานกราฟกได หรือตองการใชเพียงแคการจําลองเปนเทอรมินอล (terminal
emulator) ตัวหนึ่งของคอมพิวเตอรที่เชื่อมกับระบบอินเตอรเน็ต ซึ่งจะใชงานไดเฉพาะ
รูปแบบอักษร (text mode) เทานั้น
ในกรณีที่ตองการใชงานเปนเทอรมินอลจะตองใชโปรแกรมสื่อสาร เชน Telix หรือ
Procomm หมุนโทรศัพทเขาหาเครื่องที่เปนไอเอสพี เมื่อติดตอไดแลวก็ไดรับขอความแจง
ใหใสชื่อผูใชและรหัสผาน ตอจากนั้นก็สามารถใชงานเปนเทอรมินอลไดทันที สวนใน
กรณีที่ตองการใชงานในรูปแบบกราฟก จะตองใชซอรฟแวรพิเศษที่จะติดตอกับ
อินเตอรเน็ต นั่นคือตองมีการเชื่อมตอผาน โปรโตคอลสลิป (Serial Line Internet Protocal
SLIP) หรือ พีพีพี (Point - to Point Protocal PPP) หรือเพื่อใชบริการแบบกราฟก เมื่อ
ติดตอกันไดแลวเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูใชติดตอเขาไป ก็จะทํางานไดเหมือนเปนเครื่อง
คอมพิวเตอรอิสระเครื่องหนึ่งในระบบเครือขายไอเอสพี นั่นคือเปรียบเสมือนกับมีการ
เชื่อมตอโดยตรงเขากับอินเตอรเน็ต สามารถใชโปรแกรมแลัะบริการตาง ๆ เชน ใช
โปรแกรม บราวเซอร เพื่อดูขอมูล เวิรดไวดเว็บ ไดทันที
เมื่อเชื่อมตอเขากับระบบอินเตอรเน็ตแลว ผูใชจะใชโปรแกรมประยุกตใดก็ได เชน ใช เพื่อ
แลกเปลี่ยนไฟล หรือใช เพออานกระดานขาว เปนตน แตความเร็วในการสื่อสารจะชากวา
~ 9 ~
การเชื่อมตอโดยตรง เราเพราะโมเด็มที่ใชเชื่อมตอจะมีความเร็วในการสื่อสารตั้งแต 9.6 -
33.6 กิโลบิตตอวินาที รวมทั้งไฟลและจดหมายอิเล็กทรอนิกสจะถูกเก็บไวที่เครื่อง
คอมพิวเตอรที่ติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรงเทานั้น ในกรณีของการเชื่อมตอผานเครือขาย
โทรศัพทก็จะตองมีการถายโอนไฟลและจดหมายอิเล็กทรอนิกสมายังเครื่องคอมพิวเตอร
ของผูใชอีกทอดหนึ่งทําใหยุงยากและเสียเวลาในการทํางาน แตก็เสียคาใชจายนอยกวาการ
ติดตอโดยตรงมาก
รูปที่ 2
การเชื่อมตอเขาใชอินเตอรเน็ตแบบตาง ๆ
บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล
จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail)
จดหมายอิเล็กทรอนิกส หรือที่นิยมเรียกสั่น ๆ วา อีเมลล (E - mail) ก็คือจดหมายหรือ
ขอความที่สงถึงกันผานทางเครือขายคอมพิวเตอร โดยการนําสงจดหมายเปลี่ยนจากบุรุษ
ไปรษณียมาเปนโปรแกรม เปลี่ยนจากการใชเสนทางมาเปนสายสื่อสารที่เชื่อมระหวาง
เครือขาย ซึ่งชวยใหปรระหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย ปจจุบันนี้ดวยเครือขายที่เชื่อมตอเขา
กันทั่วโลก ทําใหการติดตอกันสามารถกระทําอยางงายดาย อินเตอรเน็ตเปนระบบจดหมาย
~ 10 ~
อิเล็กทรอนิกสที่ใหญที่สุดในโลก เพราะมีผูใชมากกวา 25 ลานคนติดตอเขาใชอินเตอรเน็ต
เพื่อสงอีเมลล ที่อยูของการสงอีเมลลประกอบดวยสองสวนคือชื่อ ผูใช ( user name )
และ ชื่อโดเมน ( domain name ) โดยชื่อโดเมนจะบอกถึงชื่อเครื่องที่ผูใชมีรายชื่ออยู สวน
ชื่อผูใชคือชื่อในการเขาใชงานเครื่องของผูใช และทั้งสองสวนนี้จะแยกกันดวยเครื่องหมาย
@ ตัวอยางเชน
fsivcw@chulakn.chula.ac.th
หมายถึงผูใชชื่อ fscivcw ซึ่งมีที่อยู ณ เครื่อง chulkn ของจุฬาฯ (chula) ซึ่งเปนหนวยงาน
ดานการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th)
bob@microsoft.com
คือผูใชชื่อ bob ซึ่งมีที่อยูในไมโครซอฟต (microsoft) ซึ่งเปนองคธุรกิจ (com) ในสหรัฐ
สัญลักษณและตัวยอในการสื่อสารดวยอีเมลล
การสื่อสารกันดวยตัวอักษรในระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส มีจุดเสียคือยากที่จะ
แสดงความเปนสวนตัวและความรูสึกออกมา จึงไดมีการพัฒนาการใชสัญลักษณ
ในการแทนคําพูดและความรูสึกดวยการนําตัวอักษรมาประกอบกันเปนภาพ
เรียกวา emoticons ซึ่งสัญลักษณเหลนี้ไดรับการยอมรับและนํามาใชอยูทั่วไปใน
การสงอีเมลล
การเขาใชเครื่องจากระยะไกล (Telnet)
เปนโปรแกรมประยุกตสําหรับเขาใชเครื่องที่ตออยูกับระบบอินเตอรเน็ตจากระยะไกล ชวย
ใหผูใชอินเตอรเน็ตนั่งทํางานอยูหนาเครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง แลวเขาไปใชเครื่องอื่น
ที่อยูในที่ตาง ๆ ภายในเครือขายได โดยโปรแกรมเทลเน็ตจะจําลองคอมพิวเตอรของผูใช
ใหเปนเสมือนจอภาพบนเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูหางออกไป ทําใหผูใชรูสึกเหมือนกับนั่ง
อยูหนาเครื่องนั้นโดยตรง การใชโปรแกรมเทลเน็ตจะชวยใหผูใชสามารถขอเขาใชบริการ
ของหองสมุด ฐานขอมูล และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่อยูบนเครื่องโฮสต ซึ่งการติดตอเขา
~ 11 ~
เครื่องคอมพิวเตอรที่อยูในอินเตอรเน็ตบางแหงก็ตองการรหัสผูใชและรหัสผาน แตบาง
แหงก็ไมตองการ
เทลเน็ตเปนโปรแกรมที่ใชโปรโตคอลเทลเน็ต ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี
รูปแบบการเชื่อมตอจะเปนแบบไคลเอ็นต - เซิรฟเวอร โดยคอมพิวเตอรที่อยูในระยะไกล
จะทําหนาที่เปนเซิรฟเวอร และใหบริการเครื่องไคลเอ็นตที่ผูใชกําลังใชงานอยู เมื่อมีการใช
คําสั่งเทลเน็ตจากเครื่องไคลเอ็นตจะมีขั้นตอนการทํางานตาง ๆ เกิดขึ้นดังนี้
1. มีการตอเชื่อมไปยังเซิรฟเวอร โดยผานทีซีพี
2. รอรับคําสั่งจากแปนพิมพ
3. แปลงรูปแบบคําสั่งใหอยูในรูปแบบมาตรฐาน แลวสงไปยังเซิรฟเวอร
4. รอรับผลจากเซิรฟเวอรในรูปแบบมาตรฐาน
5. แปลงผลลัพธที่ไดใหแสดงผลบนจอภาพ
เนื่องจากเทลเน็ตเปนโปรโตคอลที่อยูในระดับประยุกต การทํางานจึงเปนอิสระไมขึ้นกับ
ฮารดแวรหรือซอรฟแวรใด ๆ ทําใหเครื่องที่เปนเซิรฟเวอรสามารถใหบริการเครื่อง
ไคลเอ็นตหลากชนิด ไมจํากัดวาจะตองเปนเครื่องชนิดใด หรือใชระบบปฏิบัติการแบบใด
การขนถายไฟล (Ftp)
ชวยใหผูใชสามารถถายโอนขอมูลจากเครือขายที่เปดบริการสาธารณะใหผูใชภายนอกถาย
โอนขอมูลตาง ๆ เชน ขาวสารประจําวัน บทความ เกมและซอรฟแวรตาง ๆ เปนตน การ
ขนถายไฟลสามารถทําไดหลายรูปแบบ คือขนถายจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไปยัง
เครื่องขนาดใหญ หรือโฮสตคอมพิวเตอร หรือจากโฮสตคอมพิวเตอรดวยกันเอง ดังนั้นจึง
มีโปรแกรมที่ใชสําหรับขนถายไฟลจํานวนมาก แตโปรแกรมที่ไดรับความนิยมสูง และมี
บริการในโฮสตคอมพิวเตอรเกือบทุกเครื่องก็คือโปรแกรมเอฟทีพี
เอฟทีพีเปนโปรแกรมที่ใชกันอยางแพรหลาย ซึ่งปกติแลวผูที่เขามาขนถายไฟลไดจะตองมี
ชื่อเปนผูใชอยูบนเครื่องนั้น ๆ แตก็มีเครือขายหลายแหงที่ใหบริการขนถายไฟลไดโดยไม
จําเปนตองมีชื่อผูใชอยูบนเครื่องนั้น คือใหบริการสาธารณะแกผูใชทั่วไปเขามาขนถายไฟล
ไดโดยการติดตอกับโฮสตดวยชื่อanonymous ขอมูลที่ใหบริการถายโอนไฟลไดมีหลาย
รูปแบบ เชน ขาวประจําวัน บทความ ขอมูลทางสถิติ หรืออาจจะเปนซอฟตแวรที่ทํางาน
บนระบบวินโดว ดอส ยูนิกส หรือแมแตแมกอินทอช โดยที่ซอฟตแวรเหลานี้จะมีทั้งที่
~ 12 ~
เปน ฟรีแวร และ แชรแวร ที่ใหทดลองใชงานกอน หากพอใจจึงลงทะเบียนกับทางเจาของ
แชรแวรเพื่อรับบริการเพิ่มเติมอยางเต็มรูปแบบ
โดยมากศูนยบริการตาง ๆ จะมีไฟลชื่อ หรือ หรือไฟลที่มีชื่อในทํานองเดียวกันนี้ ซึ่งจะให
รายละเอียดเบื้องตนเกี่ยวกับการขนถายไฟล ผูใชควรอานไฟลเหลานี้กอนเพื่อใหสามารถ
ขนถายไฟลที่ตองการไดถูกตอง
การบริการขนถายไฟลเปนบริการที่ไดรับความนิยมอยางสูง ในปจจุบันมีศูนยขนถายไฟล
เกิดขึ้นจํานวนมาก ศูนยบางแหงก็มีผูเขามาใชบริการจํานวนมากจนไมสามารถรองรับผูขอ
เขาใชไดทั้งหมด จนกระทั่งมีการกระจายเปนศูนยกระจกเงา ไปยังหลาย ๆ จุด หรือหลาย ๆ
ประเทศ เพื่อใหผูใชเลือกใชบริการจากศูนยที่อยูใกลตนเองที่สุด อันจะเปนการลดภาระการ
ขนถายไฟลระยะไกลของเครือขายโดยรวมลง
กระดานขาว (Usenet)
ยูสเน็ตเปนที่รวมของกลุมขาวหรือ นิวสกรุปส (newsgroups) ซึ่งเปนกลุมที่แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ กันมากกวา 5,000 กลุม โดยใหบริการขาวสารในรูปของ
กระดานขาว โดยใหบริการจาวสารในรูปของ กระดานขาว (bulletin board) ผูที่ใช
อินเตอรเน็ตสามารถเลือกเขาเปนสมาชิกในกระดานขาว ๆ เพื่ออานจาวสารที่อยูภายใต
สมาชิกในยูสเน็ตจะสงขาวสารในรูปของบทความเขาไปในเครือขาย โดยแบงบทความ
ออกเปนกลุม ๆ เชน กลุมคอมพิวเตอร (com) กลุมวิทยาศาสตร (sci) หรือสังคมวิทยา (soc)
เปนตน ซึ่งผูอานสามารถเลือกอานและแลกเปลี่ยนความเห็นหรือความรูตามกลุมที่ตองการ
ได
การพูดออนไลน (Talk)
ในอินเตอรเน็ตจะมีบริการที่ชวยใหผูใชสามารถคุยโตตอบกับผูใชคนอื่น ๆ ที่ตอเขาสู
อินเตอรเน็ตในเวลาเดียวกัน โดยการพิมพขอความผานทางแปนพิมพเสมือนกับการคุยกัน
ตามปกติ แตจะเปนการคุยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยไมจําเปนตองจายคาโทรศัพท
ทางไกล การพูดคุยออนไลนนี้ สามารถใชโปรแกรม talk สําหรับการคุยกันเพียง 2 คน หรือ
หากตองการคุยกันเปนกลุมหลายคน ก็สามารถใชโปรแกรม chat หรือ ไออารซี (IRC-
Internet Relay Chat) ก็ได
~ 13 ~
ในปจจุบัน บริการการพูดคุยบนอินเตอรเน็ตไดมีการพัฒนาไปมาก จนทําใหเกิดโปรแกรม
ตาง ๆ ที่ชวยใหผูใชที่มีลําโพงและไมโครโฟนสามารถติดตอพูดคุยดวยเสียงไดโดยมี
คุณภาพใกลเคียงกับโทรศัพททีเดียว ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้ไดรับความนิยมใชในการ
ติดตอขามประเทศอยาง มาก เนื่องจากชวยใหไมตองเสียคาโทรศัพททางไกลขามประเทศ
แตมีขอเสียคือตองนัดแนะเวลาในการติดตอกันไวกอน เพื่อจะไดเขาสูอินเตอรเน็ตในเวลา
นั้นพรอม ๆ กัน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Internet Phone หรือ WebPhone เปนตน
ยิ่งไปกวานี้ หากผูใชมีอุปกรณกลองจับภาพสําหรับทําการประชุมทางไกล จะสามารถ
ติดตอดวยภาพพรอมเสียงผานอินเตอรไดในทันที แตคุณภาพจะยังไมดีนัก โดยอัตราการ
เคลื่อนไหวของภาพจะอยูประมาณ 5-10 เฟรมตอวินาทีที่การเชื่อมตอดวยโมเด็ม 28.8
Kbps โปรแกรมประเภทนี้จะมีทั้งเสียคาใชจาย เชน Netmeeting ใน Internet Explorer หรือ
Conference ใน Netscape Communicator ตลอดจนโปรแกรมสําหรับจําหนายซึ่งมี
คุณภาพสูงกวา เชน หรือ เปนตน
บริการเกมสออนไลน
ในปจจุบันการเลนเกมสพรอมกัน จํานวนหลาย ๆ คนไดรับความนิยมอยางมาก โดยมีทั้ง
การเลนเกมสผานเครือขายแลนซึ่งมีขอดีคือความเร็วสูง ตลอดจนถึงการเลนเกมสผาน
เครือขายระยะไกล เชน อินเตอรเน็ต ซึ่งมีขอดี คือ สามารถเลนเกมสกับผูคนทั่วโลก
การเลนเกมสออนไลนบนอินเตอรเน็ตจะตองใชบริการเซิรฟสําหรับเลนเกมส ซึ่งจะชวย
ในการหาผูที่จะจับคูเลน หรือผูเลนอาจเขารวมกับกลุมที่กําลังเลนอยูแลวก็ได นอกจากนี้
เซิรฟเวอรเกมสออนไลนจะชวยในการคิดคะแนน การเก็บคะแนนสูงสุด การประมวลผล
การทํางานของเกมสในบางสวน ตลอดจนอาจมีบริการอื่น ๆ เชน ขาวสารเกมสใหม ๆ
กลเม็ดการเลน หรือการฝากขอความของผูเลน เปนตน ซึ่งบริการเซิรฟเวรอออนไลน
สวนมากผูเลนจะตองเสียคาใชจายในการสมัครสมาชิกรายปหรือรายเดือน
บริการคนหาขอมูล
ผูใชสามารถคนหาขอมูลตาง ๆ ที่ตองไมวาจะเปนเรื่องใด ๆ ไดอยางรวดเร็ว เนื่องจากในอินเตอรเน็ตมี
เครื่องคอมพิวเตอรที่มีผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ทําการจัดเก็บขอมูลไวเผยแพรมากมาย ชวยใหประหยัด
คาใชจายในการคนหาขอมูลไดมาก บริการตาง ๆ ที่มีอยูในอินเตอรเน็ต คือ
~ 14 ~
Archie
อารซี เปนระบบการคนหาขอมูลแฟมขอมูลที่พัฒนาขึ้นโดยนักศึกษาและผูเชี่ยวชาญระบบ
เครือขายจากมหาวิทยาลัย McGill ประเทศแคนาดา อารซีเปนบริการสําหรับชวยผูใชที่
ทราบชื่อแฟมตาง ๆ จากเครื่องที่มีบริการขนถายขอมูล fip สาธารณะ (ใช user แบบ
anonymous ได) เสมือนกับเปนบรรณารักษที่มีรายชื่อของหนังสือทั้งหมดที่อยูในหองสมุด
ซึ่งผูใชจะไดรับแฟมขอมูลที่ตองการดวยการใชบริการ ftp ในการขนถายขอมูลตามตรง
การตามตําแหนงที่อารซีแจงใหทราบ
WAIS (Wide Area Information Service)
WAIS เปนบริการคนขอมูลโดยการคนหาจากเนื้อหาขอมูลแทนคนหาตามชื่อของ
แฟมขอมูล บริการ จะเปนบริการซึ่งชวยในการคนขอมูลจากเครื่องเซิรฟเวอรฐานขอมูล
จํานวนมากที่กระจายอยูทั่วโลก หรือกลาวไดวาเปนบริการการคนหาขอมูลจาก ฐานขอมูล
แบบกระจาย (Distributed Database) นั่นเอง เครื่องเซิรฟเวอรที่เก็บฐานขอมูล WAIS แตละ
เครื่องจะเก็บขอมูลที่แตกตางกันไป เมื่อผูใชทําการปอนขอความที่ตองการหา เครื่อง
เซิรฟเวอรที่ผูใชติดตออยูก็จะชวยคนไปยังเครื่องเซิรฟเวอรฐานขอมูลอื่น ๆ เพื่อหา
ตําแหนงของแหลงเก็บขอมูลที่ผูใชตองการ
Gogher
โกเฟอร เปนโปรแกรมประยุกตแบบไครเอนตเซิรฟเวอรที่พัฒนาขึ้นโดยมหาวิทยาลัย
Minesota เพื่อชวยใหสามารถคนหาขอมูลโดยผานระบบเมนูตามลําดับชั้น ฐานขอมูลของ
ระบบโกเฟอรจะกระจายกันอยูทั่วโลก และมีการเชื่อมโยงกันอยูผานระบบเมนูของโก
เฟอรเอง การใชโกเฟอรเปรียบไดกับการเปดเลือกรายการหนังสือในหองสมุดที่จัดไวเปน
หมวดหมูตามหัวเรื่อง ซึ่งผูใชสามารถคนเรื่องที่ตองการตามหัวขอตาง ๆ ที่แบงไว และเมื่อ
เลือกหัวขอแลว ก็จะปรากฏหัวขอยอย ๆ ใหสามารถเลือกลึกลงไปเรื่อย ๆ จนกวาจะพบ
เรื่องที่ตองการ
Veronica
เวโรนิกา ยอมาจาก Very Easy Rodent-orient Net-wide Index to Computerized
Archives เปนระบบชวยการคนหาขอมูลดวยคําที่ตองการ (Keyword) ที่พัฒนาโดย
มหาวิทยาลัยเนวาดา เปนบริการที่ใชงานรวมกับโกเฟอร เพื่อชวยในการคนหาขอมูลที่
ตองการโดยไมตองผานระบบเมนูตามลําดับชั้นของโกเฟอรซึ่งผูใชที่ทราบคําสําคัญที่
ตองการจะสามารถหาขอมูลไดอยางรวดเร็ว
~ 15 ~
• Mailling List
บริการรายชื่อเมลล เปนระบบฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสของกลุม
คนซึ่งมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ไมวาจะเปนเรื่องคอมพิวเตอร รถยนต ภาพยนตร เพลง
และอื่น ๆ เพื่อใหกลุมคนเหลานี้สามารถแลกเปลี่ยนขาวสารที่สนใจผานระบบอีเมลล โดย
จดหมายที่สงเขาสูระบบบริการรายชื่อเมลลจะถูกสงไปยังรายชื่อทั้งหมดที่ไดลงทะเบียนไว
ในระบบ บริการรายชื่อเมลลยังนิยมนํามาใชในการลงทะเบียนรายชื่อ เพื่อขอรับขาวสาร
เพื่อเติมจากไซตที่ผูใชสนใจดวย
WWW (World Wide Web)
หากกลาววาถนนทุกสายกําลังมุงตรงสูอินเตอรเน็ต ก็คงกลาวไดวาถนนทุกสายใน
อินเตอรเน็ตกําลังมุงสู เวิลดไวดเว็บ (WWW) เนื่องจาก WWW หรือที่บางครั้งเรียกวา W3
หรือ WEB เปนบริการที่ไดรับความนิยมสูงสุด และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของเครื่องที่
ใหบริการประเภทนี้สูงสุดดวย
เวิลดไวดเว็บเปนเครือขายยอยของอินเตอรเน็ตที่เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1989 โดย แหงหอง
ปฏิบัตติการวิจัยเซิรน (CERN) ซึ่งเปนหองปฏิบัติการดานฟสิกสในกรุงเจนีวา ประเทศ
สวิตเซอรแลนด ในระยะแรกโปรแกรมสําหรับการใชงานเวิลดไวดเวบหรือที่เรียกวา เว
บบราวเซอร (Web Browser) จะมีการใชงานในรูปแบบตัวอักษร (TEXT) จึงไมไดรับความ
นิยมมากนัก จนกระทั่งป ค.ศ.1993 ไดเกิดโปรแกรม MOSAIC ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับ
ใชงานเวิลดไวดเวบในรูปแบบกราฟฟกจาก Nation Center for Supervomputing
Application (NCSA) แหงมหาวิทยาลัยอิลลินนอยส จึงทําใหระบบเครือขายเวิลดไวดเวบ
ไดรับความนิยมสูงสุดจนถึงปจจุบัน
เวิลดไวดเวบจะเปนบริการคนหาและแสดงขอมูลที่ใชหลักการของ ไฮเปอรเท็กซ
(Hypertext) โดยมีการทํางานดวยโปรโตคอลแบบไคลเอนต-เซิรฟเวอรที่เรียกวา HTTP
(Hypertext Transfer protocal) ผูใชสามารถคนขอมูลจากเครื่องใหบริการที่เรียกวา Web
Server หรือ Web Site โดยอาศัยโปรแกรมเวบบราวเซอร และผลที่ไดจะเปนไฮเปอรเท็กซ
ซึ่งเปนขอความที่มีบางจุดในขอความที่สามารถเลือกเพื่อโยงไปยังจุดตาง ๆ ที่มีขอมูล
เพิ่มเติม ซึ่งจุดที่โยงใยไปอาจเปนจุดที่อยูในไซตเดียวกันหรืออาจเปนไซตอื่น ๆ ที่อยูคนละ
ประเทศก็ได ทําใหเกิดเปนเครือขายเสมือนขนาดใหญที่มีการเชื่อมตอกันอยูบนเครือขย
อินเตอรเน็ตอีกชั้น ในปจจุบันไฮเปอรเท็กซนอกจากจะเชื่อมโยงไปยังเอกสารหรือขอมูล
~ 16 ~
อื่นไดโดยตรงแลว ยังสามารถรวมเอาภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหวที่เรียกวา มัลติมีเดีย
(multimedia) ไวดวย
ขอมูลของเวิลดไวดเวบที่ไดจากโปรแกรมบราวเซอรจะมีลักษณะคลายกับหนาเอกสารที่
เปนกระดาษหนาหนึ่ง ซึ่งนิยมเรียกวา เวบเพจ (Web Page) และหนาเวบหนาแรกที่ผูใชจะ
พบเมื่อเรียกเขาไปยังไซตใดไซตหนึ่งจะเรียกวา โฮมเพจ (Home Page) หรือหนาที่เปน
เสมือนแหลงเริ่มตนนั้นเอง การสรางเวบเพจทําไดโดยการเขียนขอความบรรยายลักษณะ
ของหนาดวยภาษาเฉพาะในการสรางไฮเปอรเท็กซที่เรียกวา HTML (Hypertext Markup
Language) ซึ่งคอนขางจะซับซอนจึงนิยมใช โปรแกรมสรางเวป (Web Authoring) ชวย
อํานวยความสะดวกในการสรางเวบเพจ โดยโปรแกรมรุนใหม ๆ จะชวยเขียนเวบเพจได
เชนเดียวกับการใชโปรแกรมประมวลคําทั่ว ๆ ไป โดยไมจําเปนตองทราบวิธีเขียนภาษา
HTML เลย
เมื่อผูใชสรางเวบเพจที่ตองการนําเขาสูอินเตอรเน็ตสําเร็จแลว จะสามารถตอเขากับ
อินเตอรเน็ตได โดยฝากไวที่เครื่องคอมพิวเตอรของผูใหบริการ หรืออาจจะตั้งเครื่อง
คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Web Server ขึ้นมาเองก็ได
โปรแกรมบราวเซอร (Browser)
ในระยะเริ่มตนนั้นโปรแกรมบราวเซอรไดถูกออกแบบมาเพื่อใชดูเอกสารของเครือขายเวิลดไวดเวบเปน
หลัก จึงทําใหผูใชจํานวนมากเขาใจวาโปรแกรมบราวเซอรกับโปรแกรมเรียกใชบริการของเวบเปนสิ่ง
เดียวกัน แตในปจจบันโปรแกรมบราวเซอรไดขยายขีดความสามารถมากขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถใชเรียก
บริการตาง ๆ บนอินเตอรเน็ตไดแทบทุกชนิด โดยการระบุชื่อโปรโตคอลของบริการตาง ๆ นําหนาตําแหนง
ที่อยู (address หรือชื่อโดเมนของเครื่องบวกกับชื่อไฟลบริการของบริการ) ที่ตองการ เชน
http://www.netscape.com
http://www.cnn.com/welcome.htm
gopher://gopher.tc.umn.edu
ftp://ftp.nectec.or.th/pub/pc
file://C:/WINDOWS/Modem.txt
โปรโตคอล http ที่อยูคือเครื่อง www ณ netscape.com
โปรโตคอลhttp ที่อยูคือเครื่อง www ณ cnn.com แฟม welcome.htm
โปรโตคอลgopher ที่อยูคือเครื่อง gopher ณ tc.cum.edu
โปรโตคอลftp ที่อยูคือเครื่อง ftp ณ nectec.or.th และราก /pub/pc
โปรโตคอลfile ที่อยูคือฮารดดิสก c:WINDOWS แฟม Modem.txt
ขอความกอนหนาเครื่องหมาย :// จะเปนชนิดของโปรโตคอล และขอความดานหลังจะเปนทีอยูของบริการ
นั้น ๆ (หากไมไดระบุชื่อแฟมไวดานหลังชื่อเครื่องโดยใช / คั่น จะเปนการใชชื่อแฟม เริ่มตนโดยปริยาย
~ 17 ~
(default) ของเครื่องนั้น) การระบุโปรโตคอลพรอมที่อยูเชนนี้เรียกวา URL (Uniform Resource Lacator) ซึ่ง
ความหมายก็คือการใชรูปแบบเดียวในการหาทรัพยากรตาง ๆ นั้นเอง นอกจากนี้ ในตัวอยางสุดทายจะเห็น
ไดวาโปรแกรมบราวเซอรสามารถใชในการเปดแฟมที่อยูในฮารดดิสกของผูใชไดเสมือนกับเปนริการหนึ่ง
ในอินเตอรเน็ต นั่นคือโปรแกรมบราวเซอรมีแนวโนมที่ชัดเจนวากําลังพยายามทําตัวเปนเปลือก (shell) ที่
ครอบอยูเหนือระบบปฏิบัติการอีกชั้นหนึ่ง อันจําทําใหผูใชสามารถใชงานบริการตาง ๆ ไดกับเครื่อง
คอมพิวเตอรทุกประเภท โดยไมตองกับวลถึงความแตกตางของฮารดแวรหรือระบบปฏิบัติการอีกตอไป
โปรแกรมบราวเซอรระยะแรก ๆ จะเปนขอความ (text) ทําใหไมไดรับความนิยม แตเมื่อหองปฏิบัติการ
CERN ออกโปรแกรม MOSAIC ซึ่งเปนบราวเซอรที่ใช ระบบการติดตอผูใชแบบกราฟฟก (GUI) ตัวแรก ก็
ทําใหโปรแกรมบราวเซอรไดรับความนิยมอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับผูใชทั่วไปที่ไมมีความรู
ทางคอมพิวเตอรมากนัก เนื่องจากระบบการติดตอกับผูใชแบบกราฟฟก ทําใหผูใชสามารถใชงานบริการตาง
ๆ ในอินเตอรเน็ตไดอยางงายดายดวยการชี้แลวเลือก (point and click) โดยแทบจะไมตองใชแปนพิมพเลย
รวามทั้งบราวเซอรกราฟฟกยังทําใหสามารถสรางเวบเพจที่มีสีสันและรูปภาพสวยงาม อันเปนการดึงดูดใจ
ใหมีผูนิยมใชงานมาขึ้นเรื่อย ๆ
อยางไรก็ดี ในปจจุบัน MOSAIC ไมไดมีการพัฒนาตอแลว เนื่องจากหองปฏิบัติการ CERN ไมไดเปน
หนวยงานที่หวังผลกําไร การพัฒนา เปนการพัฒนา MOSAIC เพื่อความกาวหนาทางเทคโนโลยีเทานั้น
บราวเซอรที่ไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบันก็คือบราวเซอรที่เปนแชรแวร จาก Netscape คือโปรแกรม
Netscape Communicator สวนอันดับ 2 คือ บราวเซอรฟรีแวรจาก Microsoft คือโปรแกรม Internet
Explorer(IE) ซึ่งบราวเซอรจากทั้ง 2 บริษัทไดมีการขยายขีดความสามารถใหม ๆ มากมาย เชน การใช
จดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) การใชงานกลุมขาว (newsgroup) การประชุมทางไกล (video conference)
การสรางเวบเพจ (web authoring) ตลอดจนการดูภาพแบบสามมิติ (VRML) เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการ
ขยายขีดความสามาถในการแทนทีระบบปฏิบัติการ และการเพิ่มเทคโนโลยีการ ผลัก (push) ขอมูล ซึ่งเปน
เทคโนโลยีที่จะไมรอใหผูใชเปนฝายเรียกเขาอินเตอรเน็ตเพื่อดึง (pull) ขอมูล แตจะสง (push) ขอมูลที่ผูใช
ตองการ (เชน ขาวตาง ๆ) มายังเครื่องผูใชโดยอัตโนมัติ
การประยุกตใชอินเตอรเน็ต
ในปจจบันองคการและธุรกิจตาง ๆ ไดมองเห็นถึงความสําคัญของอินเตอรเน็ต ทั้งในแงของการเปน
แหลงขอมูลอันมหาศาลสําหรับธุรกิจ การเปนแหลงทําการประชาสัมพันธเสริมสรางภาพพจนของบริษัท
ตลอดจนเปนตลาดขนาดใหญ ๆ บริษัทตาง ๆ จึงมีการแขงขันกันในการเขาสูอินเตอรเน็ตจนทําใหจํานวน
เครื่องที่เชื่อมตอเขาสูอินเตอรเน็ตในชื่อขององคการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
~ 18 ~
การนําเครือขายอินเตอรเน็ตมาประยุกตใชสําหรับธุรกิจและองคกรตาง ๆ ไดเกิดขึ้นในรูปแบบตาง ๆ
มากมาย อีกทั้งเกิดรูปแบบใหม ๆ ตลอดเวลา แตมี่นิยมใชกันมากสามารถสรุปไดดังนี้
การนําเสนอสินคาและเสริมสรางภาพพจนบริษัท
ซึ่งเปนขบวนการกอนการขยาย (pre-sales) ที่สําคัญ ทําใหผูใชไดรูจักกับชื่อเสียงและสินคา
ขององคกรมากขึ้น รวมทั้งชวยใหผูจัดจําหนายและผูนําเขาจากทั่วโลกไดรับรูขอมูลของ
ผูผลิตดวย
ใหขอมูลกับนักลงทุน
โดยบริษัทมหาชนตาง ๆ สามารถใหขอมูลแกผูถือหุนเกี่ยวกับผลประกอบการ รายงาน
ประจําไตรมาส วิธีดําเนินงานและประมาณการรายได ตลอดจนใชในการแถลงขาวตาง ๆ
ไดอยางรวดเร็ว รวมทั้งยังประหยัดกวาการจัดพิมพดวยกระดาษเปนอยางมาก
หนังสือพิมพและวารสารอิเล็กทรอนิกส
โดยใชเวบเพจในการแทนหนากระดาษ ทําใหตนทุนในการจัดทําเอกสารลดลงไปมาก อีก
ทั้งสามารถลดคาใชจายในการขนสงและการจัดจําหนาย เนื่อจากเปนการขายตรงสูงลูกคาที่
สมัครสมาชิกทางกับทางไซตผานอินเตอรเน็ตไดทันที
เปดรานคาใหเชาที่
โดยเปดเปนรานคาเพื่อใหลูกคาเพื่อใหผูคามาเชาเชนเดียวกับหางสรรพสินคาตาง ๆ รวมทั้ง
อาจเก็บคาโฆษณาจากผูที่ตองการโฆษณาในราน
การสนับสนุนทางเทคนิค
เปนการประยุกตใชอีกประการหนึ่งที่นิยมใชกันมากอยางมากในอินเตอรเน็ต โดยเฉพาะ
อยางยิ่งทางดานคอมพิวเตอร เนื่องจากผูใชที่ตองการสนับสนุนสามารถติดตอมาไดจากทั่ว
โลกโดยไมตองเสียคาโทรศัพททางไกล และสามารถดูฐานขอมูลปญหาตาง ๆ ตลอดจน
ทางแกไขที่อาจตรงกับปญหาของตนเอง หรืออาจสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถามกับ
ผูเชี่ยวชาญก็ได รวมทั้งสมารถทําการถายโอน (download) ซอฟตแวรสําหรับแกไขปญหา
หรือเพิ่มเติมคุณสมบัติตาง ๆ ไดทันที
~ 19 ~
• ใหบริการตาง ๆ กับสาธารณะชน
เชน เปนแหลงคนขอมูล (search engine) แหลงเก็บรวบรวมแชรแวรและฟรีแวร แหลงให
ขอมูลและขาวตาง ๆ แหลงติดตอเกมสแบบออนไลน เปนตน ซึ่งอาจมีการเก็บเงินจากการ
ใชบริการ หรือใชวิธีหาโฆษณาจากบริษัทอื่น ๆ ก็ได
ใหขอมูลขาวสารทั่ว ๆ ไปกับสาธารณะชน
เชน มาตรฐานที่กําหนดโดยองคกรตาง ๆ หรือเทคโนโลยีใหม ๆ ที่หนวยงานสรางขึ้น
ตลอดจนขอมูลการทองเที่ยว เปนตน
เก็บรวบรวมขอมูลตลอดจนการเสนอขายขอมูล
เชน ใชในการทําโพลลตาง ๆ ใชในการเปนตัวกลางในการับสมัครงาน ตลอดจนอาจขาย
ขอมูลผูสมัครที่มีคุณสมบัติตรงตามความตองการใหกับบริษัทตาง ๆ เปนตน
การจําหนายสินคา
โดยนําสินคามาจําหนายตรงผานเวบ มีขอดีคือชวยลดตนทุนการจัดจําหนาย การตกแตง
ราน ตลอดจนการเก็บสินคาคงคลัง สินคาที่มีผูประสบความสําเร็จในการขายผาน
อินเตอรเน็ต เชน หนังสือ ดอกไม ของชํารวย ของที่ระลึก รวมทั้งอุปกรณคอมพิวเตอรทั้ง
ฮารดแวรและซอฟตแวร เปนตน
อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซทราเน็ต (EXTRANET)
อินทราเน็ต คือ ระบบเครือขายภายในองคกร เปนระบบที่ไดการกลาวขวัญถึงกันอยางมากคูกับอินเตอรเน็ต
โดยเฉพาะอยางยิ่งในองคกรตาง ๆ ไดมีการนําอินทราเน็ตมาใชกันอยางแพรหลาย จนทําใหระบบที่เกี่ยวกับ
อินทราเน็ตเปนระบบที่ผูคาตาง ๆ มุงเขามาสูกันมากที่สุด โดยสามารถใหนิยามของอินทราเน็ตไดคือ
ระบบเครือขายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือขายภายในองคการที่นําเทคโนโลยีแบบเปดจากอินเตอรเน็ตมา
ประยุกตใช เพื่อชวยในการทํางานรวมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ตลอดจนการทํางาน
ตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรในองคการ
• ประโยชนของอินทราเน็ต
~ 20 ~
ประโยชนของการนําอินทราเน็ตมาใชในองคกรตาง ๆ คือ
o ลดตนทุนในการบริหารขาวสารขอมูล เนื่องจากการจัดเก็บขาวสารตาง ๆ ภายในองคกร
สามารถจัดเก็บอยูในรูปอิเล็กทรอนิกสอยางงายดาย ดวยการใชภาษา และใชบราวเซอรใน
การอานเอกสาร ทําใหลดคาใชจายและเวลาในการจัดพิมพเอกสารกระดาษ
o ชวยใหไดรับขาวสารที่ใหมลาสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บขาวสารแบบอิเล็กทรอนิกสไมมี
ขั้นตอนที่ยุงยากเหมือนการพิมพลงกระดาษ และไมเสียคาใชจายเพิ่มเติม ทําใหบุคลากรใน
องคกรสามารถรับขาวสารใหมลาสุดไดเสมอ
o ชวยในการติดตอสื่อสารกันไดอยางฉับไว ไมวาบุคลากรจะอยูหางกันคนละชั้น คนละตึก
หรือคนละจังหวัด ดวยการใชเทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีการคุยติดตอ
ผานแปนพิมพ หรือแมกระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เปนการชวยลดการสูญเสียเวลา
ของบุคลากร ตลอดจนชวยใหทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น
o เสียคาใชจายต่ํา การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียคาใชจายนอยกวาการติดตั้ง ซอฟตแวรการ
ทํางานแบบกลุม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่อจากการใชเทคโนโลยีแบบเปดของ
อินเตอรเน็ต ทําใหสามารถใชซอฟตแวรตาง ๆ ในอินเตอรเน็ตซึ่งมีราคาไมสูงนัก หรือใน
งานบางสวนอาจไมเสียคาใชจายเลย เนื่องจากมีแชรแวรและฟรีแวรอยูมากมายใน
อินเตอรเน็ต นอกจากนี้ หากองคกรมีระบบเครือขายภายในอยูแลว การติดตั้งระบบ
อินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียคาใชจายต่ํามาก เนื่องจากสามารถใชอุปกรณตาง ๆ ที่มีอยูแลวได
ทันทีตามคุณสมบัติ การใชงานขามระบบ (cross platfrom) ที่แตกตางกันไดของ
อินเตอรเน็ต
o เปนระบบที่ใชเทคโนโลยีเปด ทําใหองคกรไมผูกติดอยูกับผูคารายใดรายหนึ่ง จึงชวยลด
ความเสี่ยงตาง ๆ เชน ผูคาเลิกกิจการ ผูคาเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผูคาขึ้นราคา เปน
ตน รวมทั้งชวยใหสามารถหาซอฟตแวรใหม ที่จะมาชวยในการทํางานไดอยางรวดเร็ว โดย
ไมตองพึ่งอยูกับผูผลิตเพียงรายเดียว
o เตรียมความพรอมขององคกรที่จะเชื่อมเขาสูอินเตอรเน็ตไดทันที รวมทั้งเปนการเตรียม
ความรูของบุคลากรเกี่ยวกับอินเตอรเน็ตดวย
องคประกอบของอินทราเน็ต
จากนิยมจะเห็นไดวาองคประกอบของอินทราเน็ตจะคลายคลึงกับอินเตอรเน็ตอยางมาก
เนื่องจากมีการนําเทคโนโลยีของอินเตอรเน็ตมาใชงานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีครว
ประกอบดวย
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต
ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต

More Related Content

What's hot

การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค ItPrachyanun Nilsook
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้TDew Ko
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

What's hot (18)

ICT for Education
ICT for EducationICT for Education
ICT for Education
 
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศWeek 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Week 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
เทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค Itเทคนิคการสอนยุค It
เทคนิคการสอนยุค It
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Week 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
3
33
3
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
Pancom m1
Pancom m1Pancom m1
Pancom m1
 

Similar to ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)pimmeesri
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์monly2monly
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกSendai' Toktak
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์kruood
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsawalee kongyuen
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)krooprakarn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑patchu0625
 

Similar to ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต (20)

Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
รายงานO
รายงานOรายงานO
รายงานO
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)เครือข่ายคอมพิวเตอร์  พิมพ์นิภา1 (1)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ พิมพ์นิภา1 (1)
 
ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3ใบความรู้ที่ 1.3
ใบความรู้ที่ 1.3
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อกแบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์ต๊อก
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้นความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 

ทางด่วนสาระสนเทศกับอินเทอร์เน็ต

  • 1. รายงาน เรื่องทางดวนสาระสนเทศกับอินเทอรเน็ต เสนอ ครู ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทําโดย นางสาวนิรชา นุชยิ้มยองเลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปที่5/3 รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสํานักงานขั้นสูง รหัสวิชา ง.30210 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  • 2. ~ ก ~ คํานํา รายงานเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอรของ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่องทางดวนสาระสนเทศกับอินเทอรเน็ตซึ่งมีองคความรูพื้นฐานที่สามารทําความ เขาใจได ถารายงานเลมนี้ผิดพลาดประการใดขออภัยไว ณ. ที่นี้ดวย จัดทําโดย นางสาวนิรชา นุชยิ้มยอง ชั้นม.5/3เลขที่38
  • 3. ~ ข ~ สารบัญ สารบัญ1 ......................................................................................................................................................ข สารบัญรูปภาพ1 ...........................................................................................................................................ค ทางดวนสารสนเทศกับอินเตอรเน็ต1 .................................................................................................................1 ทางดวนสารสนเทศและอินเตอรเน็ต1 ............................................................................................................1 ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway)................................................................................1 อินเตอรเน็ต (INTERNET).....................................................................................................................2 ระบบการแทนชื่อในอินเตอรเน็ต1 .................................................................................................................4 การติดตอเขากับอินเตอรเน็ต1......................................................................................................................7 การเชื่อมตอโดยตรง1 .............................................................................................................................7 การเชื่อมตอผานการหมุนโทรศัพท1 ..........................................................................................................8 บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล1 .................................................................................................9 จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail)..............................................................................................9 สัญลักษณและตัวยอในการสื่อสารดวยอีเมลล1 ............................................................................................ 10 การเขาใชเครื่องจากระยะไกล(Telnet)................................................................................................. 10 การขนถายไฟล (Ftp)......................................................................................................................... 11 กระดานขาว (Usenet)....................................................................................................................... 12 การพูดออนไลน (Talk) ....................................................................................................................... 12 บริการเกมสออนไลน1 .......................................................................................................................... 13 บริการคนหาขอมูล1 ................................................................................................................................. 13 Archie............................................................................................................................................ 14 WAIS (Wide Area Information Service)......................................................................................... 14
  • 4. ~ ค ~ Gogher........................................................................................................................................... 14 Veronica........................................................................................................................................ 14 WWW (World Wide Web)............................................................................................................. 15 โปรแกรมบราวเซอร (Browser) ............................................................................................................... 16 การประยุกตใชอินเตอรเน็ต1 ...................................................................................................................... 17 การนําเสนอสินคาและเสริมสรางภาพพจนบริษัท1 ..................................................................................... 18 ใหขอมูลกับนักลงทุน1 .......................................................................................................................... 18 หนังสือพิมพและวารสารอิเล็กทรอนิกส1 .................................................................................................. 18 เปดรานคาใหเชาที่1 ............................................................................................................................. 18 การสนับสนุนทางเทคนิค1 ..................................................................................................................... 18 ใหขอมูลขาวสารทั่ว ๆ ไปกับสาธารณะชน1 .............................................................................................. 19 เก็บรวบรวมขอมูลตลอดจนการเสนอขายขอมูล1 ....................................................................................... 19 การจําหนายสินคา1 ............................................................................................................................. 19 อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซทราเน็ต (EXTRANET) ........................................................................... 19 องคประกอบของอินทราเน็ต1 ................................................................................................................ 20 เอกซทราเน็ต (EXTRANET)................................................................................................................. 21 อางอิง1 ....................................................................................................................................................... ง
  • 5. ~ ค ~ สารบัญรูปภาพ รูปที่ 1 ........................................................................................................................................................2 รูปที่ 2 ........................................................................................................................................................9
  • 6. ~ 1 ~ ทางดวนสารสนเทศกับอินเตอรเน็ต ทางดวนสารสนเทศและอินเตอรเน็ต ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway) ในปจจุบันนี้ผูใชหลายคนเขาใจวา ทางดวนสารสนเทศ (Information Superhighway) กับ อินเตอรเน็ต (Internet) เปนสิ่งเดียวกัน แตในความเปนจริงนั้นทางดวน สารสนเทศหรือที่เรียกสั้น ๆ วา ไอเวย (I-way) หมายถึง โครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) ของระบบโทรคมนาคมในการรับสงขอมูลดิจิตอลที่มีความเร็วและมีความ เชื่อถือได ตลอดจนมีความปลอดภัยสูงพอที่จะรองรับขอมูลจํานวนมหาศาลจากผูใชทั้ง ประเทศหรือแมกระทั่งโลก สวนอินเตอรเน็ตก็คือตนแบบของทางดวยสารสนเทศที่เกิดขึ้น แลวในปจจุบันนั่นเอง ทางดวนสารสนเทศจะเปนระบบคมนาคมสื่อสาร ที่สามารถใหบริการติดตอสื่อสารไดทุก รูปแบบและรวดเร็ว สิ่งที่วิ่งอยูบนทางดวนสารสนเทศอาจเปนไดทั้งภาพ เสียง หรือขอมูล สวนการติดตอสื่อสารสามารถเปนไดทั้งแบบโตตอบสองทางเชนเดียวกับการใชโทรศัพท หรือแบบทางเดียวเชนเดียวกับการแพรภาพของสัญญาณโทรทัศนและการกระจายเสียง ของสัญญาณวิทยุ แนวความคิดในการสรางทางดวนสารสนเทศก็คือการนําเอาเครือจาย ของโทรศัพท โทรทัศน และคอมพิวเตอรมารวมกัน เพื่อเสริมจุดเดนและแกจุดดอยของแต ละเครือขาย รวมทั้งมีการกําหนดวาสัญญาณที่ใชตองเปนสัญญาณแบบดิจิตอลเทานั้น เพราะมีสัญญาณรบกวนนอยมาก เมื่อมีทางดวนสารสนเทศ ในอนาคตสภาพบานเรือนและสํานักงานจะเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ โทรศัพท โทรทัศน ตลอดจนเครื่องคอมพิวเตอร จะมีสายตอเชื่อมเขากับอุปกรณ คอมพิวเตอรขนาดเล็กที่ใชแยกสัญญาณตาง ๆ ในการติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่น ๆ ทั่วโลก อุปกรณนี้จะเชื่อมตอไปยัง หนวยบริการทองถิ่น (Local Service Provider) ซึ่งทําหนาที่ แทนชุมสายโทรศัพททองถิ่นในปจจุบัน และหนวยบริการทองถิ่นก็จะมีสายเชื่อมตอกับ ทางดวนสารสนเทศที่ผานเมืองนั้น เครือขายทั้งหมดจะรวมกันเครือขายขนาดใหญที่
  • 7. ~ 2 ~ ครอบคลุมทั้งโลก ทําใหการติดตอสื่อสาร ตลอดจนการทําธุรกิจตาง ๆ สามารถกระทําได โดยไมตองกาวออกจากบานหรือสํานักงานเลย อินเตอรเน็ต (INTERNET) อินเตอรเน็ตคือตัวอยางหนึ่งของทางดวนสารสนเทศที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และเปนทางดวน ที่ไดรับความนิยมสูงสุด เนื่องจากเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปถึงศักยภาพในการเติบโตเปน ชุมชนขนาดใหญของอินเตอรเน็ต โดยปจจุบันนี้อินเตอรเน็ตมีการเชื่อมตอระบบ คอมพิวเตอรนับลานระบบและมีผูใชหลายสิบลานคน ซึ่งเทียบประชากรอินเตอรเน็ตใน ปจจุบันไดกับประชากรของประเทศไทยทั้งประเทศ และที่สําคัญก็คือรายไดเฉลี่ยของ ประชากรอินเตอรเน็ต จะสูงกวารายไดเฉลี่ยของประชากรประเทศใด ๆ ในโลก อินเตอรเน็ตเปนเครือขายซึ่งเปนที่รวมของเครือขายยอย ๆ หรือกลาวไดวาเปน เครือขาย ของเครือขาย (Network of Network) ซึ่งสื่อสารกันไดโดยใชโปรโตคอลแบบทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) ซึ่งทําใหคอมพิวเตอรตางชนิดกันเมื่อนํามาใชในเครือขายแลวสามารถ แลกเปลี่ยนขอมูลกันได รูปที่ 1 เหตุการณสําคัญ ๆ บนอินเตอรเน็ต อินเตอรเน็ตเริ่มใชงานในปค.ศ.1969 ภายใตชื่อเรียกวา อารพาเน็ต (APRANET หรือ Advanced Research Projects Agency Network) ซึ่งเปนเครือขายทดลองตั้งขึ้นเชื่อม
  • 8. ~ 3 ~ ระหวางศูนยปฏิบัติการวิจัยของทหาร ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา (Department of Defense หรือ DOD) กับศูนยปฏิบัติการวิจัยของมหาวิทยาลัยตาง ๆ ระบบ อารพาเน็ตเปนเครือขายที่ประสบความสําเร็จอยางมาก ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จาก มหาวิทยาลัย วิทยาลัย หนวยงานของรัฐและเอกชนตาง ๆ มากมาย สิ่งที่นาสนใจของระบบ อินเตอรเน็ตคือการถูกออกแบบมาใหไมตองมีศูนยกลางของการติดตอ ซึ่งการไมมี ศูนยกลางควบคุมนี้ ทําใหมีผูเขามารวมใชอินเตอรเน็ตมากมาย ระบบจึงเติบโตขึ้นโดยไมมี ขีดจํากัด จนกระทั่งปจจุบันนี้เริ่มเกิดปญหาชองทางการสื่อสารผานอินเตอรเน็ตติดขัดบาง แลว เชน จดหมายอินเตอรเน็ตที่เคยสงไดทันที ก็ตองรอเปนชั่วโมงเพราะไมมีชองทางการ สื่อสารเพียงพอ เปนตน บริการอินเตอรเน็ตแบงได 2 กลุม คือ o บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล เปนบริการซึ่งเกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารกันระหวางผูใช การเขาใช งานเครื่องซึ่งอยูหางออกไป การขนถายไฟล และการแลกเปลี่ยน ความเห็นหรือความรูระหวางผูใช เชน  จดหมายอิเล็กทรอนิกส  เทลเน็ต (Telnet)  ขนถายไฟล  ยูสเน็ต (Usenet)  การพูดคุยออนไลน (Talk)  บริการเกมออนไลน o บริการคนหาขอมูล อินเตอรเน็ตชวยใหผูใชสามารถคนหาขอมูลตาง ๆ ที่ตองการไดอยาง รวดเร็ว เนื่องจากในอินเตอรเน็ตมีเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูเชี่ยวชาญในดาน ตาง ๆ จัดเก็บขอมูลเพื่อเผยแพรไวมากมาย ชวยใหประหยัดคาใชจายใน การคนหาขอมูลไดมาก บริการเหลานี้ เชน  Archie  WAIS ( Wide Area Information Service )
  • 9. ~ 4 ~  Gopher  Veronica  Mailing List  WWW ( World Wide Web ) ระบบการแทนชื่อในอินเตอรเน็ต คอมพิวเตอรในอินเตอรเน็ตติดตอกันโดยใชโปรโตคอลแบบ ทีซีพี (Transmission Control) และไอพี (Internet Protocal) ซี่งเรียกรวม ๆ กันวา ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP) และมีการใชหลักการเครือขายแบบเพคเกต สวิทช (packet - switching network) นั่นคือเพคเกตหรือกลุมขอมูลจะถูกแบงออกเปนกลุม ๆ และสงไปยัง ปลายทางโดยใชเสนทางตาง ๆ กัน ตามแตปลายทางที่กําหนด โดยเครื่องคอมพิวเตอรที่เชื่อมตออยูกับ เครือขายจะตองมีหมายเลขประจําตัวเครื่องใหเครื่องคอมพิวเตอรอื่น ๆ อางอิงถึงกันได หมายเลขประจํา เครื่องคอมพิวเตอรในอินเตอรเน็ตเรียกวา หมายเลขไอพี (IP address) โดยคําวาไอพีมายอมาจากอินเตอรเน็ต โปรโตคอล (Internet Protocal) หมายเลขไอพีจะเปนหมายเลขชุดหนึ่งขนาด 32 บิต หมายเลขชุดนี้จะถูก แบงเปน 4 สวน สวนละ 8 บิต เทา ๆ กัน ในการอางถึงก็จะแปลงเลขนั้นเปนเลขฐานสิบเพื่อความสะดวกให ผูใชอางถึงไดงาย ดังนั้นตัวเลขในแตละสวนนี้จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 255 เทานั้น เชน 192.10.1.101 เปนตน จะเห็นไดวาหมายเลขไอพีจดจําไดยาก ถาเครื่องในเครือขายมีจํานวนมากก็จะทําใหสับสนไดงาย จึงไดมีการ แกปญหาโดยตั้งชื่อที่เปนตัวอักษรขึ้นมาแทนหมายเลขไอพี เพื่อชวยในการจดจํา นอกจากนี้ ในกรณีที่เครื่อง เสียหรือตองการเปลี่ยนเครื่องที่ใหบริการจากเครื่องที่มีหมายเลขไอพีเปน 192.100.10.23 เปน 192.100.10.25 ผูดูแลระบบก็เพียงแตแกไขขอมูลในฐานขอมูลใหเครื่องใหมใชชื่อของเครื่องเดิมเทานั้น เครื่องใหมก็จะ สามารถใหบริการไดทันทีโดยที่ไมตองยายฮารดแวรแตอยางไร และผูใชยังคงใชงานไดเหมือนเดิมโดยที่ไม ตองแกไขอะไรทั้งสิ้น ผูที่ตองการติดตั้งโฮสตคอมพิวเตอร (Host Computer) เพื่อเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต และใหบริการตาง ๆ สามารถขอหมายเลขไอพีไดจาก Internet Nretwork Information Center ของ Network Solution Incorporated (NSI) ที่รัฐเวอรจิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา สวนบริษัทที่ใหบริการอินเตอรเน็ตเรียกวา หนวยงานไอเอสพี (Internet Service Provider หรือ ISP) การแทนหมายเลขไอพีดวยชื่อคอมพิวเตอรที่ใหบริการนั้น เรียกวา ระบบชื่อโดเมน (Domain Name System) หรือ ดีเอ็นเอส (DNS) โดยจะจัดเก็บชื่อและหมายเลขไอพีลงในฐานขอมูลแบบลําดับชั้นในเครื่อง คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่พิเศษเรียกวาเซิรฟเวอรชื่อ โดเมน (Domain Name Server ) หนวยงานInterNIC ( Internet Network Information Center ) ไดกําหนดรหัส โดเมนระดับบนสุด (Top - Level Domain Name
  • 10. ~ 5 ~ ) ใหเปนมาตรฐานใชรวมกันสําหรับหนวยงาน และประเทศตาง ๆ โดยโครงสรางขอมูลชื่อโดเมนระดับ บนสุดจะบอกถึงประเภทขององคกร หรือชื่อประเทศที่เครือขายตั้งอยู ดังตาราง รหัส โดเมน ใชสําหรับ ตัวอยาง com กลุมธุรกิจการคา (Commercial organization) sun.com edu สถาบันการศึกษา (Education institution) ucla.edu gov หนวยงานของรัฐบาลที่ไมใชหนวยงานทางทหาร (Government agency) nasa.gov mil หนวยงานทางทหาร (Department of Defence of Military sites) army.mil net หนวยงานเกี่ยวกับเครือขาย (Network resource) isp.net org หนวยงานที่ไมหวังผลกําไร (Provate organization) unesco.org รหัสโดเมนแทนประเภทของหนวยงาน ในกรณีที่เครือขายนั้นอยูนอกประเทศสหรัฐอเมริกา จะใชชื่อยอของประเทศเปนชื่อโดเมนระดับบนสุด ดัง ตัวอยางในตาราง รหัสโดเมน ประเทศ au ออสเตรเลีย at ออสเตรีย ca แคนาดา dk เดนมารค ie ไอรแลนด jp ญี่ปุน th ไทย uk อังกฤษ
  • 11. ~ 6 ~ รหัสโดเมนแทนชื่อประเทศ สําหรับในประเทศไทยจะมีโดเมนระดับบนสุดคือ th และมีรหัสโดเมนยอยแทนประเภทของหนวยงานอยู 3 กลุม คือ รหัสโดเมน ใชสําหรับ ตัวอยาง or กลุมธุรกิจการคา nectec.or.th ac สถาบันการศึกษา chandra.ac.th go หนวยงานของรัฐบาล mua.go.th รหัสโดเมนยอยในประทศไทย จํานวนเครือขายที่มีการจดทะเบียนชื่อโดเมนในเดือนมกราคมป 1997 มียอดสูงถึง 16 ลานเครื่อง นอกจากนี้ เนื่องจากการเติบโตอยางรวดเร็วของอินเตอรเน็ต ทําใหการแบงชื่อโดเมนตามประเภทของ องคกรเริ่มไมเพียงพอ จึงกําลังมีการพิจารณาที่จะเพิ่มชื่อโดเมนระดับบนสุดเพิ่มขึ้นอีก 7 ชื่อ ดังตาราง รหัสโดเมน ใชสําหรับ firm องคการธุรกิจ store บริษัทที่มีการขายสินคา web สําหรับไซตที่เนนทางดาน art สําหรับไซตทางวัฒนธรรม info บริการสารสนเทศ nom สําหรับไซตเฉพาะบุคคล rec สําหรับไซตดานความบันเทิง รหัสโดเทนแทนประเภทของหนวยงานชุดใหม
  • 12. ~ 7 ~ การติดตอเขากับอินเตอรเน็ต หากมองในแงของเครือขายคอมพิวเตอรแลว อินเตอรเน็ตจัดเปนเครือขายแวนแบบสาธารณะเครือขายหนึ่ง แตเปนเครือขายสาธารณะที่ไมมีเจาของโดยตรง การเขาใชงานเครือขายอินเตอรเน็ตจะติดตอหนวยงานไอ เอสพี ซึ่งเปนเสมือนผูใชอินเตอรเน็ตผูหนึ่งที่มีการเชื่อมเขากับอินเตอรเน็ตดวยความเร็วสูง นอกจากนี้การ ใชงานเครือขายสาธารณะอื่น ๆ จะเปนการใชในการเชื่อมตอระหวางผูที่เกี่ยวของกัน เชน บริษัทกับสาขา หรือบริษัทกับคูคา เปนตน ในขณะที่การเชื่อมตออินเตอรเน็ตจะเปนการเชื่อม ตอเขาดวยกันของผูสนใจใน ชุมชนอินเตอรเน็ตจากทั่วโลก บริการตาง ๆ ที่มีอยูในอินเตอรเน็ตจะเปนบริการที่ผูใชงานในอินเตอรเน็ตเอง เปนผูสรางขึ้น และอาจมีการคิดคาใชจายกับผูเขาใชหรือไมก็ได การติดตอเขาใชบริการอินเตอรเน็ตจะมีสองวิธีคือ เชื่อมตอโดยตรง (direct internet access) และ เชื่อมตอ ผานการหมุนโทรศัพท (dialup access) การเชื่อมตอโดยตรง ในการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง ผูใชจะตองมีเครือขายที่จตองการเชื่อมตอกับ อินเตอรเน็ต เพื่อใหใชบริการตาง ๆ ไดตลอดเวลา โดยการเชื่อมตออาจใชอุปกรณ เราท เตอร ทําหนาที่เปน ประตู เชื่อมโยงเครือขายภายในองคกรเขากับเครือขายของอินเตอรเน็ต โดยใชชองทางการสื่อสาร เชน สายเชา ไมโครเวฟ สายใยแกว ดาวเทียม เปนตน จุดที่ สามารถเชื่อมตอเขากับอินเตอรเน็ตไดโดยปกติแลวจะเปนการตอเขากับระบบของ ไอเอส พี ซึ่งเปนเสมือนตัวแทนในการเชื่อมตอกับเครือขายอินเตอรในแตละพื้นที่ โดยไอเอสพี สวนมากในประเทศไทยก็จะมีการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ต โดยเชาวงจรที่ตอผาน การสื่อสารแหงประเทศไทยไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง จะสามารถสงและรับกลุมขอมูลของ อินเตอรเน็ตไดก็ตอเมื่อเครื่องนั้นมีหมายเลขไอพี และมีซอรฟแวรที่สนับสนุนโปรโตคอล มาตรฐานในการรับและสงกลุมขอมูลในอินเตอรเน็ต หากเครื่องที่ใชติดตอเปนระบบ ยูนิกซจะมีโปรโตคอลทีซีพี/ไอพีใหใชงานไดทันที สวนเครื่องที่ใชระบบวินโดว บริษัท ไมโครซอฟทก็ไดใหซอฟตแวรสําหรับจัดการโปรโตคอลทีซีพี/ไอพีมาพรอมกับ ซอฟตแวรวินโดว 95 และวินโดวเอ็นที
  • 13. ~ 8 ~ เมื่อมีการเชื่อมตอเขาสูอินเตอรเน็ตแลว ผูใชงานจะทํางานไดเชนเดียวกับเครื่อง คอมพิวเตอรเครื่องอื่น ๆ ที่ติดตออยูกับอินเตอรเน็ต ขอดีของการติดตอกับอินเตอรเน็ต โดยตรงก็คือสามารถรับและสงขอมูลไดโดยตรง นิยมใชในมหาวิทยาลัยและในบริษัทตาง ๆ รวมทั้งหนวยงานที่เปนไอเอสพีก็ใชการเชื่อมตอแบบดังกลาวนี้เชื่อมตอกับหนวยงานไอ เอสพีในตางประเทศ ซึ่งสวนมากจะเปนไอเอสพีที่มีการเชื่อมตอกับระบบโครงขายหลัก ของอินเตอรเน็ตโดยตรง การที่ผูใชในประเทศไทยติดตอกับไอเอสพีในประเทศ ก็เพื่อลด คาใชจายในการติดตอเชาคูสายโทรศัพททางไกลไปยังตางประเทศและคาบริการไอเอสพี ในตางประเทศ เพราะหนวยงานไอเอสพีในประเทศจะเชาคูสายโทรศัพททางไกลและจาย คาบริการไอเอสพีใหกับตางประเทศ เพื่อนํามาแบงใหบริการแกผูใชในประเทศเปนการ เฉลี่ยคาใชจายนั่นเอง การเชื่อมตอผานการหมุนโทรศัพท การเชื่อมตอประเภทนี้จะเปนการติดตอผานสายโทรศัพท โดยใชเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ติดตอผานโมเด็ม (modem) เพื่อติดตอกับคอมพิวเตอรที่มีการติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรง ซึ่งปกติแลวก็คือหนวยงานไอเอสพีนั่นเอง ในการใชงานจะตองพิจารณาวาตองการให เครื่องที่ใชทํางานกราฟกได หรือตองการใชเพียงแคการจําลองเปนเทอรมินอล (terminal emulator) ตัวหนึ่งของคอมพิวเตอรที่เชื่อมกับระบบอินเตอรเน็ต ซึ่งจะใชงานไดเฉพาะ รูปแบบอักษร (text mode) เทานั้น ในกรณีที่ตองการใชงานเปนเทอรมินอลจะตองใชโปรแกรมสื่อสาร เชน Telix หรือ Procomm หมุนโทรศัพทเขาหาเครื่องที่เปนไอเอสพี เมื่อติดตอไดแลวก็ไดรับขอความแจง ใหใสชื่อผูใชและรหัสผาน ตอจากนั้นก็สามารถใชงานเปนเทอรมินอลไดทันที สวนใน กรณีที่ตองการใชงานในรูปแบบกราฟก จะตองใชซอรฟแวรพิเศษที่จะติดตอกับ อินเตอรเน็ต นั่นคือตองมีการเชื่อมตอผาน โปรโตคอลสลิป (Serial Line Internet Protocal SLIP) หรือ พีพีพี (Point - to Point Protocal PPP) หรือเพื่อใชบริการแบบกราฟก เมื่อ ติดตอกันไดแลวเครื่องคอมพิวเตอรที่ผูใชติดตอเขาไป ก็จะทํางานไดเหมือนเปนเครื่อง คอมพิวเตอรอิสระเครื่องหนึ่งในระบบเครือขายไอเอสพี นั่นคือเปรียบเสมือนกับมีการ เชื่อมตอโดยตรงเขากับอินเตอรเน็ต สามารถใชโปรแกรมแลัะบริการตาง ๆ เชน ใช โปรแกรม บราวเซอร เพื่อดูขอมูล เวิรดไวดเว็บ ไดทันที เมื่อเชื่อมตอเขากับระบบอินเตอรเน็ตแลว ผูใชจะใชโปรแกรมประยุกตใดก็ได เชน ใช เพื่อ แลกเปลี่ยนไฟล หรือใช เพออานกระดานขาว เปนตน แตความเร็วในการสื่อสารจะชากวา
  • 14. ~ 9 ~ การเชื่อมตอโดยตรง เราเพราะโมเด็มที่ใชเชื่อมตอจะมีความเร็วในการสื่อสารตั้งแต 9.6 - 33.6 กิโลบิตตอวินาที รวมทั้งไฟลและจดหมายอิเล็กทรอนิกสจะถูกเก็บไวที่เครื่อง คอมพิวเตอรที่ติดตอกับอินเตอรเน็ตโดยตรงเทานั้น ในกรณีของการเชื่อมตอผานเครือขาย โทรศัพทก็จะตองมีการถายโอนไฟลและจดหมายอิเล็กทรอนิกสมายังเครื่องคอมพิวเตอร ของผูใชอีกทอดหนึ่งทําใหยุงยากและเสียเวลาในการทํางาน แตก็เสียคาใชจายนอยกวาการ ติดตอโดยตรงมาก รูปที่ 2 การเชื่อมตอเขาใชอินเตอรเน็ตแบบตาง ๆ บริการดานการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส (Electronic Mail) จดหมายอิเล็กทรอนิกส หรือที่นิยมเรียกสั่น ๆ วา อีเมลล (E - mail) ก็คือจดหมายหรือ ขอความที่สงถึงกันผานทางเครือขายคอมพิวเตอร โดยการนําสงจดหมายเปลี่ยนจากบุรุษ ไปรษณียมาเปนโปรแกรม เปลี่ยนจากการใชเสนทางมาเปนสายสื่อสารที่เชื่อมระหวาง เครือขาย ซึ่งชวยใหปรระหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย ปจจุบันนี้ดวยเครือขายที่เชื่อมตอเขา กันทั่วโลก ทําใหการติดตอกันสามารถกระทําอยางงายดาย อินเตอรเน็ตเปนระบบจดหมาย
  • 15. ~ 10 ~ อิเล็กทรอนิกสที่ใหญที่สุดในโลก เพราะมีผูใชมากกวา 25 ลานคนติดตอเขาใชอินเตอรเน็ต เพื่อสงอีเมลล ที่อยูของการสงอีเมลลประกอบดวยสองสวนคือชื่อ ผูใช ( user name ) และ ชื่อโดเมน ( domain name ) โดยชื่อโดเมนจะบอกถึงชื่อเครื่องที่ผูใชมีรายชื่ออยู สวน ชื่อผูใชคือชื่อในการเขาใชงานเครื่องของผูใช และทั้งสองสวนนี้จะแยกกันดวยเครื่องหมาย @ ตัวอยางเชน fsivcw@chulakn.chula.ac.th หมายถึงผูใชชื่อ fscivcw ซึ่งมีที่อยู ณ เครื่อง chulkn ของจุฬาฯ (chula) ซึ่งเปนหนวยงาน ดานการศึกษา (ac) ในประเทศไทย (th) bob@microsoft.com คือผูใชชื่อ bob ซึ่งมีที่อยูในไมโครซอฟต (microsoft) ซึ่งเปนองคธุรกิจ (com) ในสหรัฐ สัญลักษณและตัวยอในการสื่อสารดวยอีเมลล การสื่อสารกันดวยตัวอักษรในระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส มีจุดเสียคือยากที่จะ แสดงความเปนสวนตัวและความรูสึกออกมา จึงไดมีการพัฒนาการใชสัญลักษณ ในการแทนคําพูดและความรูสึกดวยการนําตัวอักษรมาประกอบกันเปนภาพ เรียกวา emoticons ซึ่งสัญลักษณเหลนี้ไดรับการยอมรับและนํามาใชอยูทั่วไปใน การสงอีเมลล การเขาใชเครื่องจากระยะไกล (Telnet) เปนโปรแกรมประยุกตสําหรับเขาใชเครื่องที่ตออยูกับระบบอินเตอรเน็ตจากระยะไกล ชวย ใหผูใชอินเตอรเน็ตนั่งทํางานอยูหนาเครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง แลวเขาไปใชเครื่องอื่น ที่อยูในที่ตาง ๆ ภายในเครือขายได โดยโปรแกรมเทลเน็ตจะจําลองคอมพิวเตอรของผูใช ใหเปนเสมือนจอภาพบนเครื่องคอมพิวเตอรที่อยูหางออกไป ทําใหผูใชรูสึกเหมือนกับนั่ง อยูหนาเครื่องนั้นโดยตรง การใชโปรแกรมเทลเน็ตจะชวยใหผูใชสามารถขอเขาใชบริการ ของหองสมุด ฐานขอมูล และบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่อยูบนเครื่องโฮสต ซึ่งการติดตอเขา
  • 16. ~ 11 ~ เครื่องคอมพิวเตอรที่อยูในอินเตอรเน็ตบางแหงก็ตองการรหัสผูใชและรหัสผาน แตบาง แหงก็ไมตองการ เทลเน็ตเปนโปรแกรมที่ใชโปรโตคอลเทลเน็ต ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี รูปแบบการเชื่อมตอจะเปนแบบไคลเอ็นต - เซิรฟเวอร โดยคอมพิวเตอรที่อยูในระยะไกล จะทําหนาที่เปนเซิรฟเวอร และใหบริการเครื่องไคลเอ็นตที่ผูใชกําลังใชงานอยู เมื่อมีการใช คําสั่งเทลเน็ตจากเครื่องไคลเอ็นตจะมีขั้นตอนการทํางานตาง ๆ เกิดขึ้นดังนี้ 1. มีการตอเชื่อมไปยังเซิรฟเวอร โดยผานทีซีพี 2. รอรับคําสั่งจากแปนพิมพ 3. แปลงรูปแบบคําสั่งใหอยูในรูปแบบมาตรฐาน แลวสงไปยังเซิรฟเวอร 4. รอรับผลจากเซิรฟเวอรในรูปแบบมาตรฐาน 5. แปลงผลลัพธที่ไดใหแสดงผลบนจอภาพ เนื่องจากเทลเน็ตเปนโปรโตคอลที่อยูในระดับประยุกต การทํางานจึงเปนอิสระไมขึ้นกับ ฮารดแวรหรือซอรฟแวรใด ๆ ทําใหเครื่องที่เปนเซิรฟเวอรสามารถใหบริการเครื่อง ไคลเอ็นตหลากชนิด ไมจํากัดวาจะตองเปนเครื่องชนิดใด หรือใชระบบปฏิบัติการแบบใด การขนถายไฟล (Ftp) ชวยใหผูใชสามารถถายโอนขอมูลจากเครือขายที่เปดบริการสาธารณะใหผูใชภายนอกถาย โอนขอมูลตาง ๆ เชน ขาวสารประจําวัน บทความ เกมและซอรฟแวรตาง ๆ เปนตน การ ขนถายไฟลสามารถทําไดหลายรูปแบบ คือขนถายจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอรไปยัง เครื่องขนาดใหญ หรือโฮสตคอมพิวเตอร หรือจากโฮสตคอมพิวเตอรดวยกันเอง ดังนั้นจึง มีโปรแกรมที่ใชสําหรับขนถายไฟลจํานวนมาก แตโปรแกรมที่ไดรับความนิยมสูง และมี บริการในโฮสตคอมพิวเตอรเกือบทุกเครื่องก็คือโปรแกรมเอฟทีพี เอฟทีพีเปนโปรแกรมที่ใชกันอยางแพรหลาย ซึ่งปกติแลวผูที่เขามาขนถายไฟลไดจะตองมี ชื่อเปนผูใชอยูบนเครื่องนั้น ๆ แตก็มีเครือขายหลายแหงที่ใหบริการขนถายไฟลไดโดยไม จําเปนตองมีชื่อผูใชอยูบนเครื่องนั้น คือใหบริการสาธารณะแกผูใชทั่วไปเขามาขนถายไฟล ไดโดยการติดตอกับโฮสตดวยชื่อanonymous ขอมูลที่ใหบริการถายโอนไฟลไดมีหลาย รูปแบบ เชน ขาวประจําวัน บทความ ขอมูลทางสถิติ หรืออาจจะเปนซอฟตแวรที่ทํางาน บนระบบวินโดว ดอส ยูนิกส หรือแมแตแมกอินทอช โดยที่ซอฟตแวรเหลานี้จะมีทั้งที่
  • 17. ~ 12 ~ เปน ฟรีแวร และ แชรแวร ที่ใหทดลองใชงานกอน หากพอใจจึงลงทะเบียนกับทางเจาของ แชรแวรเพื่อรับบริการเพิ่มเติมอยางเต็มรูปแบบ โดยมากศูนยบริการตาง ๆ จะมีไฟลชื่อ หรือ หรือไฟลที่มีชื่อในทํานองเดียวกันนี้ ซึ่งจะให รายละเอียดเบื้องตนเกี่ยวกับการขนถายไฟล ผูใชควรอานไฟลเหลานี้กอนเพื่อใหสามารถ ขนถายไฟลที่ตองการไดถูกตอง การบริการขนถายไฟลเปนบริการที่ไดรับความนิยมอยางสูง ในปจจุบันมีศูนยขนถายไฟล เกิดขึ้นจํานวนมาก ศูนยบางแหงก็มีผูเขามาใชบริการจํานวนมากจนไมสามารถรองรับผูขอ เขาใชไดทั้งหมด จนกระทั่งมีการกระจายเปนศูนยกระจกเงา ไปยังหลาย ๆ จุด หรือหลาย ๆ ประเทศ เพื่อใหผูใชเลือกใชบริการจากศูนยที่อยูใกลตนเองที่สุด อันจะเปนการลดภาระการ ขนถายไฟลระยะไกลของเครือขายโดยรวมลง กระดานขาว (Usenet) ยูสเน็ตเปนที่รวมของกลุมขาวหรือ นิวสกรุปส (newsgroups) ซึ่งเปนกลุมที่แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ กันมากกวา 5,000 กลุม โดยใหบริการขาวสารในรูปของ กระดานขาว โดยใหบริการจาวสารในรูปของ กระดานขาว (bulletin board) ผูที่ใช อินเตอรเน็ตสามารถเลือกเขาเปนสมาชิกในกระดานขาว ๆ เพื่ออานจาวสารที่อยูภายใต สมาชิกในยูสเน็ตจะสงขาวสารในรูปของบทความเขาไปในเครือขาย โดยแบงบทความ ออกเปนกลุม ๆ เชน กลุมคอมพิวเตอร (com) กลุมวิทยาศาสตร (sci) หรือสังคมวิทยา (soc) เปนตน ซึ่งผูอานสามารถเลือกอานและแลกเปลี่ยนความเห็นหรือความรูตามกลุมที่ตองการ ได การพูดออนไลน (Talk) ในอินเตอรเน็ตจะมีบริการที่ชวยใหผูใชสามารถคุยโตตอบกับผูใชคนอื่น ๆ ที่ตอเขาสู อินเตอรเน็ตในเวลาเดียวกัน โดยการพิมพขอความผานทางแปนพิมพเสมือนกับการคุยกัน ตามปกติ แตจะเปนการคุยผานเครื่องคอมพิวเตอรโดยไมจําเปนตองจายคาโทรศัพท ทางไกล การพูดคุยออนไลนนี้ สามารถใชโปรแกรม talk สําหรับการคุยกันเพียง 2 คน หรือ หากตองการคุยกันเปนกลุมหลายคน ก็สามารถใชโปรแกรม chat หรือ ไออารซี (IRC- Internet Relay Chat) ก็ได
  • 18. ~ 13 ~ ในปจจุบัน บริการการพูดคุยบนอินเตอรเน็ตไดมีการพัฒนาไปมาก จนทําใหเกิดโปรแกรม ตาง ๆ ที่ชวยใหผูใชที่มีลําโพงและไมโครโฟนสามารถติดตอพูดคุยดวยเสียงไดโดยมี คุณภาพใกลเคียงกับโทรศัพททีเดียว ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้ไดรับความนิยมใชในการ ติดตอขามประเทศอยาง มาก เนื่องจากชวยใหไมตองเสียคาโทรศัพททางไกลขามประเทศ แตมีขอเสียคือตองนัดแนะเวลาในการติดตอกันไวกอน เพื่อจะไดเขาสูอินเตอรเน็ตในเวลา นั้นพรอม ๆ กัน โปรแกรมประเภทนี้ เชน Internet Phone หรือ WebPhone เปนตน ยิ่งไปกวานี้ หากผูใชมีอุปกรณกลองจับภาพสําหรับทําการประชุมทางไกล จะสามารถ ติดตอดวยภาพพรอมเสียงผานอินเตอรไดในทันที แตคุณภาพจะยังไมดีนัก โดยอัตราการ เคลื่อนไหวของภาพจะอยูประมาณ 5-10 เฟรมตอวินาทีที่การเชื่อมตอดวยโมเด็ม 28.8 Kbps โปรแกรมประเภทนี้จะมีทั้งเสียคาใชจาย เชน Netmeeting ใน Internet Explorer หรือ Conference ใน Netscape Communicator ตลอดจนโปรแกรมสําหรับจําหนายซึ่งมี คุณภาพสูงกวา เชน หรือ เปนตน บริการเกมสออนไลน ในปจจุบันการเลนเกมสพรอมกัน จํานวนหลาย ๆ คนไดรับความนิยมอยางมาก โดยมีทั้ง การเลนเกมสผานเครือขายแลนซึ่งมีขอดีคือความเร็วสูง ตลอดจนถึงการเลนเกมสผาน เครือขายระยะไกล เชน อินเตอรเน็ต ซึ่งมีขอดี คือ สามารถเลนเกมสกับผูคนทั่วโลก การเลนเกมสออนไลนบนอินเตอรเน็ตจะตองใชบริการเซิรฟสําหรับเลนเกมส ซึ่งจะชวย ในการหาผูที่จะจับคูเลน หรือผูเลนอาจเขารวมกับกลุมที่กําลังเลนอยูแลวก็ได นอกจากนี้ เซิรฟเวอรเกมสออนไลนจะชวยในการคิดคะแนน การเก็บคะแนนสูงสุด การประมวลผล การทํางานของเกมสในบางสวน ตลอดจนอาจมีบริการอื่น ๆ เชน ขาวสารเกมสใหม ๆ กลเม็ดการเลน หรือการฝากขอความของผูเลน เปนตน ซึ่งบริการเซิรฟเวรอออนไลน สวนมากผูเลนจะตองเสียคาใชจายในการสมัครสมาชิกรายปหรือรายเดือน บริการคนหาขอมูล ผูใชสามารถคนหาขอมูลตาง ๆ ที่ตองไมวาจะเปนเรื่องใด ๆ ไดอยางรวดเร็ว เนื่องจากในอินเตอรเน็ตมี เครื่องคอมพิวเตอรที่มีผูเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ทําการจัดเก็บขอมูลไวเผยแพรมากมาย ชวยใหประหยัด คาใชจายในการคนหาขอมูลไดมาก บริการตาง ๆ ที่มีอยูในอินเตอรเน็ต คือ
  • 19. ~ 14 ~ Archie อารซี เปนระบบการคนหาขอมูลแฟมขอมูลที่พัฒนาขึ้นโดยนักศึกษาและผูเชี่ยวชาญระบบ เครือขายจากมหาวิทยาลัย McGill ประเทศแคนาดา อารซีเปนบริการสําหรับชวยผูใชที่ ทราบชื่อแฟมตาง ๆ จากเครื่องที่มีบริการขนถายขอมูล fip สาธารณะ (ใช user แบบ anonymous ได) เสมือนกับเปนบรรณารักษที่มีรายชื่อของหนังสือทั้งหมดที่อยูในหองสมุด ซึ่งผูใชจะไดรับแฟมขอมูลที่ตองการดวยการใชบริการ ftp ในการขนถายขอมูลตามตรง การตามตําแหนงที่อารซีแจงใหทราบ WAIS (Wide Area Information Service) WAIS เปนบริการคนขอมูลโดยการคนหาจากเนื้อหาขอมูลแทนคนหาตามชื่อของ แฟมขอมูล บริการ จะเปนบริการซึ่งชวยในการคนขอมูลจากเครื่องเซิรฟเวอรฐานขอมูล จํานวนมากที่กระจายอยูทั่วโลก หรือกลาวไดวาเปนบริการการคนหาขอมูลจาก ฐานขอมูล แบบกระจาย (Distributed Database) นั่นเอง เครื่องเซิรฟเวอรที่เก็บฐานขอมูล WAIS แตละ เครื่องจะเก็บขอมูลที่แตกตางกันไป เมื่อผูใชทําการปอนขอความที่ตองการหา เครื่อง เซิรฟเวอรที่ผูใชติดตออยูก็จะชวยคนไปยังเครื่องเซิรฟเวอรฐานขอมูลอื่น ๆ เพื่อหา ตําแหนงของแหลงเก็บขอมูลที่ผูใชตองการ Gogher โกเฟอร เปนโปรแกรมประยุกตแบบไครเอนตเซิรฟเวอรที่พัฒนาขึ้นโดยมหาวิทยาลัย Minesota เพื่อชวยใหสามารถคนหาขอมูลโดยผานระบบเมนูตามลําดับชั้น ฐานขอมูลของ ระบบโกเฟอรจะกระจายกันอยูทั่วโลก และมีการเชื่อมโยงกันอยูผานระบบเมนูของโก เฟอรเอง การใชโกเฟอรเปรียบไดกับการเปดเลือกรายการหนังสือในหองสมุดที่จัดไวเปน หมวดหมูตามหัวเรื่อง ซึ่งผูใชสามารถคนเรื่องที่ตองการตามหัวขอตาง ๆ ที่แบงไว และเมื่อ เลือกหัวขอแลว ก็จะปรากฏหัวขอยอย ๆ ใหสามารถเลือกลึกลงไปเรื่อย ๆ จนกวาจะพบ เรื่องที่ตองการ Veronica เวโรนิกา ยอมาจาก Very Easy Rodent-orient Net-wide Index to Computerized Archives เปนระบบชวยการคนหาขอมูลดวยคําที่ตองการ (Keyword) ที่พัฒนาโดย มหาวิทยาลัยเนวาดา เปนบริการที่ใชงานรวมกับโกเฟอร เพื่อชวยในการคนหาขอมูลที่ ตองการโดยไมตองผานระบบเมนูตามลําดับชั้นของโกเฟอรซึ่งผูใชที่ทราบคําสําคัญที่ ตองการจะสามารถหาขอมูลไดอยางรวดเร็ว
  • 20. ~ 15 ~ • Mailling List บริการรายชื่อเมลล เปนระบบฐานขอมูลที่เก็บขอมูลที่อยูไปรษณียอิเล็กทรอนิกสของกลุม คนซึ่งมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ไมวาจะเปนเรื่องคอมพิวเตอร รถยนต ภาพยนตร เพลง และอื่น ๆ เพื่อใหกลุมคนเหลานี้สามารถแลกเปลี่ยนขาวสารที่สนใจผานระบบอีเมลล โดย จดหมายที่สงเขาสูระบบบริการรายชื่อเมลลจะถูกสงไปยังรายชื่อทั้งหมดที่ไดลงทะเบียนไว ในระบบ บริการรายชื่อเมลลยังนิยมนํามาใชในการลงทะเบียนรายชื่อ เพื่อขอรับขาวสาร เพื่อเติมจากไซตที่ผูใชสนใจดวย WWW (World Wide Web) หากกลาววาถนนทุกสายกําลังมุงตรงสูอินเตอรเน็ต ก็คงกลาวไดวาถนนทุกสายใน อินเตอรเน็ตกําลังมุงสู เวิลดไวดเว็บ (WWW) เนื่องจาก WWW หรือที่บางครั้งเรียกวา W3 หรือ WEB เปนบริการที่ไดรับความนิยมสูงสุด และมีอัตราการเพิ่มขึ้นของเครื่องที่ ใหบริการประเภทนี้สูงสุดดวย เวิลดไวดเว็บเปนเครือขายยอยของอินเตอรเน็ตที่เกิดขึ้นในป ค.ศ. 1989 โดย แหงหอง ปฏิบัตติการวิจัยเซิรน (CERN) ซึ่งเปนหองปฏิบัติการดานฟสิกสในกรุงเจนีวา ประเทศ สวิตเซอรแลนด ในระยะแรกโปรแกรมสําหรับการใชงานเวิลดไวดเวบหรือที่เรียกวา เว บบราวเซอร (Web Browser) จะมีการใชงานในรูปแบบตัวอักษร (TEXT) จึงไมไดรับความ นิยมมากนัก จนกระทั่งป ค.ศ.1993 ไดเกิดโปรแกรม MOSAIC ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับ ใชงานเวิลดไวดเวบในรูปแบบกราฟฟกจาก Nation Center for Supervomputing Application (NCSA) แหงมหาวิทยาลัยอิลลินนอยส จึงทําใหระบบเครือขายเวิลดไวดเวบ ไดรับความนิยมสูงสุดจนถึงปจจุบัน เวิลดไวดเวบจะเปนบริการคนหาและแสดงขอมูลที่ใชหลักการของ ไฮเปอรเท็กซ (Hypertext) โดยมีการทํางานดวยโปรโตคอลแบบไคลเอนต-เซิรฟเวอรที่เรียกวา HTTP (Hypertext Transfer protocal) ผูใชสามารถคนขอมูลจากเครื่องใหบริการที่เรียกวา Web Server หรือ Web Site โดยอาศัยโปรแกรมเวบบราวเซอร และผลที่ไดจะเปนไฮเปอรเท็กซ ซึ่งเปนขอความที่มีบางจุดในขอความที่สามารถเลือกเพื่อโยงไปยังจุดตาง ๆ ที่มีขอมูล เพิ่มเติม ซึ่งจุดที่โยงใยไปอาจเปนจุดที่อยูในไซตเดียวกันหรืออาจเปนไซตอื่น ๆ ที่อยูคนละ ประเทศก็ได ทําใหเกิดเปนเครือขายเสมือนขนาดใหญที่มีการเชื่อมตอกันอยูบนเครือขย อินเตอรเน็ตอีกชั้น ในปจจุบันไฮเปอรเท็กซนอกจากจะเชื่อมโยงไปยังเอกสารหรือขอมูล
  • 21. ~ 16 ~ อื่นไดโดยตรงแลว ยังสามารถรวมเอาภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหวที่เรียกวา มัลติมีเดีย (multimedia) ไวดวย ขอมูลของเวิลดไวดเวบที่ไดจากโปรแกรมบราวเซอรจะมีลักษณะคลายกับหนาเอกสารที่ เปนกระดาษหนาหนึ่ง ซึ่งนิยมเรียกวา เวบเพจ (Web Page) และหนาเวบหนาแรกที่ผูใชจะ พบเมื่อเรียกเขาไปยังไซตใดไซตหนึ่งจะเรียกวา โฮมเพจ (Home Page) หรือหนาที่เปน เสมือนแหลงเริ่มตนนั้นเอง การสรางเวบเพจทําไดโดยการเขียนขอความบรรยายลักษณะ ของหนาดวยภาษาเฉพาะในการสรางไฮเปอรเท็กซที่เรียกวา HTML (Hypertext Markup Language) ซึ่งคอนขางจะซับซอนจึงนิยมใช โปรแกรมสรางเวป (Web Authoring) ชวย อํานวยความสะดวกในการสรางเวบเพจ โดยโปรแกรมรุนใหม ๆ จะชวยเขียนเวบเพจได เชนเดียวกับการใชโปรแกรมประมวลคําทั่ว ๆ ไป โดยไมจําเปนตองทราบวิธีเขียนภาษา HTML เลย เมื่อผูใชสรางเวบเพจที่ตองการนําเขาสูอินเตอรเน็ตสําเร็จแลว จะสามารถตอเขากับ อินเตอรเน็ตได โดยฝากไวที่เครื่องคอมพิวเตอรของผูใหบริการ หรืออาจจะตั้งเครื่อง คอมพิวเตอรที่ทําหนาที่เปน Web Server ขึ้นมาเองก็ได โปรแกรมบราวเซอร (Browser) ในระยะเริ่มตนนั้นโปรแกรมบราวเซอรไดถูกออกแบบมาเพื่อใชดูเอกสารของเครือขายเวิลดไวดเวบเปน หลัก จึงทําใหผูใชจํานวนมากเขาใจวาโปรแกรมบราวเซอรกับโปรแกรมเรียกใชบริการของเวบเปนสิ่ง เดียวกัน แตในปจจบันโปรแกรมบราวเซอรไดขยายขีดความสามารถมากขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถใชเรียก บริการตาง ๆ บนอินเตอรเน็ตไดแทบทุกชนิด โดยการระบุชื่อโปรโตคอลของบริการตาง ๆ นําหนาตําแหนง ที่อยู (address หรือชื่อโดเมนของเครื่องบวกกับชื่อไฟลบริการของบริการ) ที่ตองการ เชน http://www.netscape.com http://www.cnn.com/welcome.htm gopher://gopher.tc.umn.edu ftp://ftp.nectec.or.th/pub/pc file://C:/WINDOWS/Modem.txt โปรโตคอล http ที่อยูคือเครื่อง www ณ netscape.com โปรโตคอลhttp ที่อยูคือเครื่อง www ณ cnn.com แฟม welcome.htm โปรโตคอลgopher ที่อยูคือเครื่อง gopher ณ tc.cum.edu โปรโตคอลftp ที่อยูคือเครื่อง ftp ณ nectec.or.th และราก /pub/pc โปรโตคอลfile ที่อยูคือฮารดดิสก c:WINDOWS แฟม Modem.txt ขอความกอนหนาเครื่องหมาย :// จะเปนชนิดของโปรโตคอล และขอความดานหลังจะเปนทีอยูของบริการ นั้น ๆ (หากไมไดระบุชื่อแฟมไวดานหลังชื่อเครื่องโดยใช / คั่น จะเปนการใชชื่อแฟม เริ่มตนโดยปริยาย
  • 22. ~ 17 ~ (default) ของเครื่องนั้น) การระบุโปรโตคอลพรอมที่อยูเชนนี้เรียกวา URL (Uniform Resource Lacator) ซึ่ง ความหมายก็คือการใชรูปแบบเดียวในการหาทรัพยากรตาง ๆ นั้นเอง นอกจากนี้ ในตัวอยางสุดทายจะเห็น ไดวาโปรแกรมบราวเซอรสามารถใชในการเปดแฟมที่อยูในฮารดดิสกของผูใชไดเสมือนกับเปนริการหนึ่ง ในอินเตอรเน็ต นั่นคือโปรแกรมบราวเซอรมีแนวโนมที่ชัดเจนวากําลังพยายามทําตัวเปนเปลือก (shell) ที่ ครอบอยูเหนือระบบปฏิบัติการอีกชั้นหนึ่ง อันจําทําใหผูใชสามารถใชงานบริการตาง ๆ ไดกับเครื่อง คอมพิวเตอรทุกประเภท โดยไมตองกับวลถึงความแตกตางของฮารดแวรหรือระบบปฏิบัติการอีกตอไป โปรแกรมบราวเซอรระยะแรก ๆ จะเปนขอความ (text) ทําใหไมไดรับความนิยม แตเมื่อหองปฏิบัติการ CERN ออกโปรแกรม MOSAIC ซึ่งเปนบราวเซอรที่ใช ระบบการติดตอผูใชแบบกราฟฟก (GUI) ตัวแรก ก็ ทําใหโปรแกรมบราวเซอรไดรับความนิยมอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับผูใชทั่วไปที่ไมมีความรู ทางคอมพิวเตอรมากนัก เนื่องจากระบบการติดตอกับผูใชแบบกราฟฟก ทําใหผูใชสามารถใชงานบริการตาง ๆ ในอินเตอรเน็ตไดอยางงายดายดวยการชี้แลวเลือก (point and click) โดยแทบจะไมตองใชแปนพิมพเลย รวามทั้งบราวเซอรกราฟฟกยังทําใหสามารถสรางเวบเพจที่มีสีสันและรูปภาพสวยงาม อันเปนการดึงดูดใจ ใหมีผูนิยมใชงานมาขึ้นเรื่อย ๆ อยางไรก็ดี ในปจจุบัน MOSAIC ไมไดมีการพัฒนาตอแลว เนื่องจากหองปฏิบัติการ CERN ไมไดเปน หนวยงานที่หวังผลกําไร การพัฒนา เปนการพัฒนา MOSAIC เพื่อความกาวหนาทางเทคโนโลยีเทานั้น บราวเซอรที่ไดรับความนิยมสูงสุดในปจจุบันก็คือบราวเซอรที่เปนแชรแวร จาก Netscape คือโปรแกรม Netscape Communicator สวนอันดับ 2 คือ บราวเซอรฟรีแวรจาก Microsoft คือโปรแกรม Internet Explorer(IE) ซึ่งบราวเซอรจากทั้ง 2 บริษัทไดมีการขยายขีดความสามารถใหม ๆ มากมาย เชน การใช จดหมายอิเล็กทรอนิกส (e-mail) การใชงานกลุมขาว (newsgroup) การประชุมทางไกล (video conference) การสรางเวบเพจ (web authoring) ตลอดจนการดูภาพแบบสามมิติ (VRML) เปนตน โดยเฉพาะอยางยิ่งการ ขยายขีดความสามาถในการแทนทีระบบปฏิบัติการ และการเพิ่มเทคโนโลยีการ ผลัก (push) ขอมูล ซึ่งเปน เทคโนโลยีที่จะไมรอใหผูใชเปนฝายเรียกเขาอินเตอรเน็ตเพื่อดึง (pull) ขอมูล แตจะสง (push) ขอมูลที่ผูใช ตองการ (เชน ขาวตาง ๆ) มายังเครื่องผูใชโดยอัตโนมัติ การประยุกตใชอินเตอรเน็ต ในปจจบันองคการและธุรกิจตาง ๆ ไดมองเห็นถึงความสําคัญของอินเตอรเน็ต ทั้งในแงของการเปน แหลงขอมูลอันมหาศาลสําหรับธุรกิจ การเปนแหลงทําการประชาสัมพันธเสริมสรางภาพพจนของบริษัท ตลอดจนเปนตลาดขนาดใหญ ๆ บริษัทตาง ๆ จึงมีการแขงขันกันในการเขาสูอินเตอรเน็ตจนทําใหจํานวน เครื่องที่เชื่อมตอเขาสูอินเตอรเน็ตในชื่อขององคการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
  • 23. ~ 18 ~ การนําเครือขายอินเตอรเน็ตมาประยุกตใชสําหรับธุรกิจและองคกรตาง ๆ ไดเกิดขึ้นในรูปแบบตาง ๆ มากมาย อีกทั้งเกิดรูปแบบใหม ๆ ตลอดเวลา แตมี่นิยมใชกันมากสามารถสรุปไดดังนี้ การนําเสนอสินคาและเสริมสรางภาพพจนบริษัท ซึ่งเปนขบวนการกอนการขยาย (pre-sales) ที่สําคัญ ทําใหผูใชไดรูจักกับชื่อเสียงและสินคา ขององคกรมากขึ้น รวมทั้งชวยใหผูจัดจําหนายและผูนําเขาจากทั่วโลกไดรับรูขอมูลของ ผูผลิตดวย ใหขอมูลกับนักลงทุน โดยบริษัทมหาชนตาง ๆ สามารถใหขอมูลแกผูถือหุนเกี่ยวกับผลประกอบการ รายงาน ประจําไตรมาส วิธีดําเนินงานและประมาณการรายได ตลอดจนใชในการแถลงขาวตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว รวมทั้งยังประหยัดกวาการจัดพิมพดวยกระดาษเปนอยางมาก หนังสือพิมพและวารสารอิเล็กทรอนิกส โดยใชเวบเพจในการแทนหนากระดาษ ทําใหตนทุนในการจัดทําเอกสารลดลงไปมาก อีก ทั้งสามารถลดคาใชจายในการขนสงและการจัดจําหนาย เนื่อจากเปนการขายตรงสูงลูกคาที่ สมัครสมาชิกทางกับทางไซตผานอินเตอรเน็ตไดทันที เปดรานคาใหเชาที่ โดยเปดเปนรานคาเพื่อใหลูกคาเพื่อใหผูคามาเชาเชนเดียวกับหางสรรพสินคาตาง ๆ รวมทั้ง อาจเก็บคาโฆษณาจากผูที่ตองการโฆษณาในราน การสนับสนุนทางเทคนิค เปนการประยุกตใชอีกประการหนึ่งที่นิยมใชกันมากอยางมากในอินเตอรเน็ต โดยเฉพาะ อยางยิ่งทางดานคอมพิวเตอร เนื่องจากผูใชที่ตองการสนับสนุนสามารถติดตอมาไดจากทั่ว โลกโดยไมตองเสียคาโทรศัพททางไกล และสามารถดูฐานขอมูลปญหาตาง ๆ ตลอดจน ทางแกไขที่อาจตรงกับปญหาของตนเอง หรืออาจสงจดหมายอิเล็กทรอนิกสถามกับ ผูเชี่ยวชาญก็ได รวมทั้งสมารถทําการถายโอน (download) ซอฟตแวรสําหรับแกไขปญหา หรือเพิ่มเติมคุณสมบัติตาง ๆ ไดทันที
  • 24. ~ 19 ~ • ใหบริการตาง ๆ กับสาธารณะชน เชน เปนแหลงคนขอมูล (search engine) แหลงเก็บรวบรวมแชรแวรและฟรีแวร แหลงให ขอมูลและขาวตาง ๆ แหลงติดตอเกมสแบบออนไลน เปนตน ซึ่งอาจมีการเก็บเงินจากการ ใชบริการ หรือใชวิธีหาโฆษณาจากบริษัทอื่น ๆ ก็ได ใหขอมูลขาวสารทั่ว ๆ ไปกับสาธารณะชน เชน มาตรฐานที่กําหนดโดยองคกรตาง ๆ หรือเทคโนโลยีใหม ๆ ที่หนวยงานสรางขึ้น ตลอดจนขอมูลการทองเที่ยว เปนตน เก็บรวบรวมขอมูลตลอดจนการเสนอขายขอมูล เชน ใชในการทําโพลลตาง ๆ ใชในการเปนตัวกลางในการับสมัครงาน ตลอดจนอาจขาย ขอมูลผูสมัครที่มีคุณสมบัติตรงตามความตองการใหกับบริษัทตาง ๆ เปนตน การจําหนายสินคา โดยนําสินคามาจําหนายตรงผานเวบ มีขอดีคือชวยลดตนทุนการจัดจําหนาย การตกแตง ราน ตลอดจนการเก็บสินคาคงคลัง สินคาที่มีผูประสบความสําเร็จในการขายผาน อินเตอรเน็ต เชน หนังสือ ดอกไม ของชํารวย ของที่ระลึก รวมทั้งอุปกรณคอมพิวเตอรทั้ง ฮารดแวรและซอฟตแวร เปนตน อินทราเน็ต (INTRANET) และเอ็กซทราเน็ต (EXTRANET) อินทราเน็ต คือ ระบบเครือขายภายในองคกร เปนระบบที่ไดการกลาวขวัญถึงกันอยางมากคูกับอินเตอรเน็ต โดยเฉพาะอยางยิ่งในองคกรตาง ๆ ไดมีการนําอินทราเน็ตมาใชกันอยางแพรหลาย จนทําใหระบบที่เกี่ยวกับ อินทราเน็ตเปนระบบที่ผูคาตาง ๆ มุงเขามาสูกันมากที่สุด โดยสามารถใหนิยามของอินทราเน็ตไดคือ ระบบเครือขายอินทราเน็ต ก็คือระบบเครือขายภายในองคการที่นําเทคโนโลยีแบบเปดจากอินเตอรเน็ตมา ประยุกตใช เพื่อชวยในการทํางานรวมกัน (Workgroup) การแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ตลอดจนการทํางาน ตาง ๆ ของระบบคอมพิวเตอรในองคการ • ประโยชนของอินทราเน็ต
  • 25. ~ 20 ~ ประโยชนของการนําอินทราเน็ตมาใชในองคกรตาง ๆ คือ o ลดตนทุนในการบริหารขาวสารขอมูล เนื่องจากการจัดเก็บขาวสารตาง ๆ ภายในองคกร สามารถจัดเก็บอยูในรูปอิเล็กทรอนิกสอยางงายดาย ดวยการใชภาษา และใชบราวเซอรใน การอานเอกสาร ทําใหลดคาใชจายและเวลาในการจัดพิมพเอกสารกระดาษ o ชวยใหไดรับขาวสารที่ใหมลาสุดเสมอ เนื่องจากการจัดเก็บขาวสารแบบอิเล็กทรอนิกสไมมี ขั้นตอนที่ยุงยากเหมือนการพิมพลงกระดาษ และไมเสียคาใชจายเพิ่มเติม ทําใหบุคลากรใน องคกรสามารถรับขาวสารใหมลาสุดไดเสมอ o ชวยในการติดตอสื่อสารกันไดอยางฉับไว ไมวาบุคลากรจะอยูหางกันคนละชั้น คนละตึก หรือคนละจังหวัด ดวยการใชเทคโนโลยีจดหมายอิเล็กทรอนิกส เทคโนโลยีการคุยติดตอ ผานแปนพิมพ หรือแมกระทั่งเทคโนโลยีประชุมทางไกล เปนการชวยลดการสูญเสียเวลา ของบุคลากร ตลอดจนชวยใหทีมงานมีการประสานงานกันดีขึ้น o เสียคาใชจายต่ํา การติดตั้งอินทราเน็ตจะเสียคาใชจายนอยกวาการติดตั้ง ซอฟตแวรการ ทํางานแบบกลุม (Workgroup software) ทั่วไปมาก เนื่อจากการใชเทคโนโลยีแบบเปดของ อินเตอรเน็ต ทําใหสามารถใชซอฟตแวรตาง ๆ ในอินเตอรเน็ตซึ่งมีราคาไมสูงนัก หรือใน งานบางสวนอาจไมเสียคาใชจายเลย เนื่องจากมีแชรแวรและฟรีแวรอยูมากมายใน อินเตอรเน็ต นอกจากนี้ หากองคกรมีระบบเครือขายภายในอยูแลว การติดตั้งระบบ อินทราเน็ตเพิ่มเติมจะเสียคาใชจายต่ํามาก เนื่องจากสามารถใชอุปกรณตาง ๆ ที่มีอยูแลวได ทันทีตามคุณสมบัติ การใชงานขามระบบ (cross platfrom) ที่แตกตางกันไดของ อินเตอรเน็ต o เปนระบบที่ใชเทคโนโลยีเปด ทําใหองคกรไมผูกติดอยูกับผูคารายใดรายหนึ่ง จึงชวยลด ความเสี่ยงตาง ๆ เชน ผูคาเลิกกิจการ ผูคาเลิกการผลิตและสนับสนุน หรือผูคาขึ้นราคา เปน ตน รวมทั้งชวยใหสามารถหาซอฟตแวรใหม ที่จะมาชวยในการทํางานไดอยางรวดเร็ว โดย ไมตองพึ่งอยูกับผูผลิตเพียงรายเดียว o เตรียมความพรอมขององคกรที่จะเชื่อมเขาสูอินเตอรเน็ตไดทันที รวมทั้งเปนการเตรียม ความรูของบุคลากรเกี่ยวกับอินเตอรเน็ตดวย องคประกอบของอินทราเน็ต จากนิยมจะเห็นไดวาองคประกอบของอินทราเน็ตจะคลายคลึงกับอินเตอรเน็ตอยางมาก เนื่องจากมีการนําเทคโนโลยีของอินเตอรเน็ตมาใชงานนั้นเอง โดยอินทราเน็ตที่ดีครว ประกอบดวย