SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
สรุปประเภทของความดัน
1. ความดันเกจ (Gauge pressure)
𝑃𝑔= 𝜌𝑔ℎ
หรือ
𝑃𝑔= 𝑃 − 𝑃𝑎𝑖𝑟
2. ความดันสัมบูรณ์ของของเหลว
(Absolute pressure)
𝑃 = 𝑃𝑎𝑖𝑟 + 𝑃𝑔𝑎𝑢𝑔𝑒
= 𝑃𝑎𝑖𝑟 + 𝜌𝑔ℎ
ณ ผิวน้า
ความดัน ณ ต้าแหน่งหนึ่งในของเหลว
ความดันอากาศ
ความดัน ณ ต้าแหน่งหนึ่งในของเหลว
อาจกล่าวได้ว่า
ความดันเกจก็คือผลต่าง
ระหว่างความดันภายใน
ภาชนะกับความดัน
บรรยากาศ
ทบทวน
บารอมิเตอร์ (Barometer)
แบรอมิเตอร์ปรอท (หลอดแก้วคว่้าอยู่ในอ่างปรอท)
ใช้ส้าหรับวัดความดันบรรยากาศ
ค่าความดันที่อ่านได้เรียกว่า ความดันสัมบูรณ์
P1 คือ ความดันสูญญากาศ =0
P2 คือ ความดันบรรยากาศ
ρgh คือ ความดันเกจ
ทบทวน
จากนิยาม “ความดันสัมบูรณ์ที่จุดใดๆ ในของเหลวชนิด
เดียวกัน ซึ่งอยู่ในระดับเดียวกัน ย่อมเท่ากันเสมอ” ดังนัน
มานอร์มิเตอร์ (Manometer)
ทบทวน
พลังแห่งซ้ายเท่ากับขวา
ของเหลว 3 ชนิด อยู่ในสภาวะสมดุลในหลอดแก้วรูปตัวยู ดังรูป ความหนาแน่นของของเหลว
ชนิดที่หนึ่งและที่สองมีค่า 4 x 10³ และ 3 x 10³ kg/m³ ตามล้าดับ ความหนาแน่นของ
ของเหลวชนิดที่สามมีค่ากี่ kg/m³
1) 1.2 x 10³ 2) 1.4 x 10³ 3)1.6 x 10³ 4) 2.4 x 10³ ตัวอย่างโจทย์ 5
ทบทวน
ทบทวน
แรงดันในของเหลว
แรงดันในของเหลว จะเอาแค่ความดันเกจมาคิดอย่างเดียว
จากนิยามของความดัน P = F/A
ดังนั้นถ้าพูดถึงแรงจะได้ว่า F = PA
( P ในที่นี้คือ Pเกจ นะ )
เมื่อผนังมีความสูง h จะต้องค้านวณความดัน P จากการเฉลี่ย
ประตูกันน้าแห่งหนึ่งยาว 100 เมตร ถ้าสามารถรับแรงดันทังหมดของน้า
ได้มากสุด 7.2 x 107 นิวตัน จงหาว่าระดับน้าเหนือประตูกันน้าสูงสุดเท่าไร
ที่ประตูกันน้าจะรับไว้ได้
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
ประตูน้าบานหนึ่งสูง 2 m ยาว 3 m น้าที่อยู่ด้านในประตูสูง 1 m และน้าที่
อยู่ด้านนอกประตูสูง 1.8 m จงหาว่าแรงดันที่ประตูกันน้าได้รับจะเป็นเท่าใด
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
แล้วถ้าผนังมันเอียงล่ะ??
เขื่อนแห่งหนึ่งยาว 80 เมตร พืนที่ผิวเขื่อนที่สัมผัสกับน้าเอียงท้ามุม 60 องศา
กับแนวราบโดยมีน้าอยู่สูง 5 เมตร จงหาแรงดันที่น้ากระท้าต่อเขื่อน
(ให้ความหนาแน่นของน้าเป็น 103 kg/m3 และ g = 10 m/s2)
1.14 × 107
กฎของปาสคาล
Blaise Pascal
กฎของพาสคัล มีใจความสาคัญว่า
“ถ้าเพิ่มความดันให้กับของไหล ที่บรรจุ
ในภาชนะปิด ณ จุดใดๆ ความดันนั้น
จะส่งกระจายกันต่อไป ทาให้ทุกๆส่วน
ของของไหลได้รับความดันที่เพิ่มขึ้น
เท่ากันหมด”
เครื่องอัดไฮดรอลิก
เราเอาหลักการของพาสคัลมาประยุกต์ใช้ในการสร้างเครื่องทุ่นแรง
นั่นคือ เครื่องอัดไฮโดรลิก
ข้อมูลเพิ่มเติม :
http://www.atom.rmutphysics.com/charud/howstuffwork/howstuff2/backhoe
-loader/backhoe-loaderthai.htm
แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพืนที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก
ถ้าต้องการให้แม่แรงนียกรถยนต์มวล 1800 กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดที่
ลูกสูบเล็กของแม่แรงกี่นิวตัน (g = 10 m/s2) [300N]
เพื่อให้ลดทอนแรงกดไปอีกเราจึงเพิ่มคานกดให้กับลูกสูบเล็ก
ทบทวนความรู้เรื่องโมเมนต์
Σ𝑀ทวน = Σ𝑀ตาม
𝐹ทวน 𝑙 = 𝐹ตาม 𝐿
∗∗∗∗ (𝐹ทวน ก็คือแรงที่กดลูกสูบเล็ก) ∗∗∗∗
(สมมุติให้ 𝐹ทวน= 𝑓, 𝐹ตาม= 𝐹) จากความรู้ของเครื่องอัดไฮดรอลิกส์ จะได้
𝑓𝑙 = 𝐹𝐿
𝑓 = 𝐹
𝐿
𝑙
𝑊
𝐴
=
𝐹
𝑎
=
𝑓
𝑎
=
𝐹
𝐿
𝑙
𝑎
=
𝐹𝐿
𝑎𝑙
𝑊
𝐴
=
𝐹𝐿
𝑎𝑙
A a
𝑊
𝐴
=
𝐹
𝑎
(
𝐿
𝑙
)
พลังแห่งคานไฮดรอลิกส์
A a
การได้เปรียบเชิงกล (Mechanical Advantage; M.A.)
คืออัตราส่วนระหว่าง แรงต้านทาน (W) กับแรงพยายาม (F)
แรงพยายาม (F) เป็นแรงภายนอกที่กระท้าบนวัตถุ เพื่อท้าให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง
แรงต้านทาน (W) เป็นแรงที่ต่อต้านการกระท้าของแรงภายนอก
𝑀. 𝐴. =
𝑊
𝐹
(ไม่มีหน่วย)
•การได้เปรียบเชิงกล =1 (W=F) ไม่ผ่อนแรง แต่อ้านวยความสะดวก
•การได้เปรียบเชิงกล >1 (W>F) ผ่อนแรง ได้เปรียบเชิงกล
แม่แรงยกรถยนต์เครื่องหนึ่งลูกสูบใหญ่มีพืนที่เป็น 60 เท่าของลูกสูบเล็ก
ยกรถยนต์มวล 1800 กิโลกรัมได้ จงหาค่าการได้เปรียบเชิงกลของลูกสูบนี
(g = 10 m/s2)
ดังนันลูกสูบนีมีค่าการได้เปรียบเชิงกลของลูกสูบเท่ากับ 60
ประสิทธิภาพ(Efficiency of Machine ; Eff)
ในความเป็นจริงเครื่องกลอาจสูญเสียงานไปเล็กน้อยเนื่องจากความเสียดทาน
ประสิทธิภาพเชิงกล เป็นปริมาณที่ได้จากการเปรียบเทียบความสามารถในการท้างาน ดังนี
𝑬𝒇𝒇 =
𝑾 𝒐𝒖𝒕
𝑾𝒊𝒏
× 𝟏𝟎𝟎%
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล

More Related Content

What's hot

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1tewin2553
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพnarongsakday
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 

What's hot (20)

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
บทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัมบทที่ 5 โมเมนตัม
บทที่ 5 โมเมนตัม
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊สทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 

Similar to พลศาสตร์ของไหล

Similar to พลศาสตร์ของไหล (8)

Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
9 2
9 29 2
9 2
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 

พลศาสตร์ของไหล