SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหาความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.2. การวัดความดัน
9.2.1 ความดันเกจ ( Gage Pressure ) หมายถึง ค่าความแตกต่างระหว่างความดันภายในภาชนะปิดไม่รวมค่าความ
กดดันบรรยากาศ ซึ่งใช้เครื่องมือวัดได้หลายแบบ เช่น มาโนมิเตอร์ ซึ่งวัดได้ละเอียดเท่าเครื่องมือวัดแบบใช้ท่อบอร์ดัน
( ดังรูปที่ 8.1 ) หลักการทางาน คือ เมื่อของไหลผ่าน เข้าไปในเครื่องมือทางข้อต่อ ถ้ามีความดันมากกว่าบรรยากาศก็
พยายามดันท่อ ซึ่งมีรูปโค้งให้ยืดออก แต่ถ้าความดันของไหลน้อยกว่าความดันบรรยากาศจะทาให้ให้ท่อโค้งนี้หดเข้า
จากการยืดตัวหดตัวของท่อโค้งนี้ ซึ่งต่อชิ้นส่วนไปที่เข็มชี้หน้าปัด จึงอ่านค่าความดันออกมา
รูปที่ 9.2 มาตรวัดความดันแบบใช้ท่อบอร์ดัน
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.2.2 ความดันบรรยากาศ ( Atmospheric Pressure ) คือ น้าหนักของบรรยากาศที่กระทาต่อพื้นที่บริเวณนั้น แต่
ละแห่งจะไม่เท่ากัน ใช้ตัวย่อ Patm โดยมีค่าเท่ากับ 760 mm. ( 29.92 inch ฟรอท ) หรือ 1.033 kgf/cm3
และ 14.7
PSI
การวัดค่าความบรรยากาศ จะใช้บารอมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัด ซึ่งบารอมิเตอร์ที่ใช้มีหลายชนิด ในที่นี้จะกล่าวถึง
เฉพาะบารอมิเตอร์ ซึ่งใช้ปรอทบรรจุในหลอดแก้วปลายปิด คว่าลงในอ่างปรอท แล้วอ่านค่าความสูงของลาปรอท
รูปที่ 9.3 บารอมิเตอร์ปรอท
แรงจากความกดดันบรรยากาศ = แรงดันของแก๊สภายในปลายท่อ + น้าหนักปรอทในหลอด
Patm A = Pv + γ A h ( เอา A หารตลอด )
Patm = Pv A + γ h
ไอปรอทมีน้อยมาก
Patm = γ h
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.2.3 ความดันสัมบูรณ์ ( Absolute Pressure ) หมายถึง ค่าความดันที่วัดได้เมื่อเทียบกับความดันที่ศูนย์
ความดันสัมบูรณ์
ความดันที่มีค่า เป็น 0
รูปที่ 9.3. แสดงความดันต่าง ๆ
สามารถหาความสัมบูรณ์ได้จากสูตรต่อไปนี้
1. ในกรณีที่ความดันที่อ่านได้จากเครื่องมือวัด มีค่าเป็น +
ความดันสัมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ
2. ในกรณีที่มีความดันอ่านจากเครื่องมือวัดสุญญากาศ มีค่าเป็น -
ความดันสัมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ - ความดันเกจ
ความดันเกจ
สุญญากาศหรือ
ความดันที่มีค่าลบ
ความดันบรรยากาศ
ความดันสัมบูรณ์
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
9.2.4 หน่วยของความดัน
ความดันมีหน่วยวัดเป็น แรงต่อหน่วยพื้นที่ N/m3
และ bar ( บาร์ )
1 kg/cm3
( กิโลกรัมแรง / ตารางเซนติเมตร )  1 bar ( บาร์ )
1 bar ( บาร์ ) = 1 5
10 Pa ( ปาสคัล )
= 1 3
10 mbar ( มิลลิบาร์ )
= 750 Torr ( ทอร์ )
= 1.02 atm ( บรรยากาศ )
1 Pa ( ปาสคัล ) = 10 N/cm3
= 1 5
10 bar
= 0.01 mbar
= 0.0075 Torr ( 3
105.7 
 Torr )
= 1 mm Hg ( มิลลิเมตรปรอท )
หน่วยของความดันบรรยากาศ ( Standard Atmosphere )
1 std atm = 10 .133 N/cm2
( นิวตัน/ตารางเซนติเมตร )
= 760 mm Hg ( มิลลิเมตรปรอท )
= 1.013 N/cm2
( นิวตัน/ตารางเซนติเมตร )
= 1.013 bar ( บาร์ )
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ
คานวณหา ความดันของของเหลว
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 9.7 ความดันของอน้าที่ออกจากหม้อน้า อ่านจากเกจได้ 21.65 bar ขณะนี้มีความกดดันบรรยากาศ 768
mm Hg จงหาความดันสัมบูรณ์ของไอน้าที่ออกจากหม้อน้า
วิธีทา 760 mm Hg = 1 Std.atm
768 mm Hg = 1
760
768
 Std.atm
= 1.010 Std.atm
1 Std.atm = 1.013 bar
1.010 Std.atm = 1.013  1.010
= 1.023 bar
768 mm Hg = 1.023 bar
ความดันสมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ
= 1.023 + 21.65
= 22.673 bar
∴ ความดันสมบูรณ์ของไอน้า = 22.673 bar ตอบ
ตัวอย่างที่ 9.8 ความดันของน้าในสายท่อส่งแท่งน้าอัดได้ 6.5 bar จะเท่ากับกี่ มิลลิเมตรปรอท
วิธีทา 1 bar = 750 mm Hg
6.5 bar = 750  6.5 mm Hg
= 4875 mm Hg
∴ ความดันของน้า = 4875 mm Hg ตอบ

More Related Content

What's hot (9)

Fluid
FluidFluid
Fluid
 
006 fundamental of convection thai
006 fundamental of convection thai006 fundamental of convection thai
006 fundamental of convection thai
 
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหลฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
ฟิสิกส์ บทที่ 6 คุณสมบัติของของไหล
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
fluid
fluidfluid
fluid
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล 2
ของไหล 2ของไหล 2
ของไหล 2
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
Hydrological
HydrologicalHydrological
Hydrological
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

9 2

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหาความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.2. การวัดความดัน 9.2.1 ความดันเกจ ( Gage Pressure ) หมายถึง ค่าความแตกต่างระหว่างความดันภายในภาชนะปิดไม่รวมค่าความ กดดันบรรยากาศ ซึ่งใช้เครื่องมือวัดได้หลายแบบ เช่น มาโนมิเตอร์ ซึ่งวัดได้ละเอียดเท่าเครื่องมือวัดแบบใช้ท่อบอร์ดัน ( ดังรูปที่ 8.1 ) หลักการทางาน คือ เมื่อของไหลผ่าน เข้าไปในเครื่องมือทางข้อต่อ ถ้ามีความดันมากกว่าบรรยากาศก็ พยายามดันท่อ ซึ่งมีรูปโค้งให้ยืดออก แต่ถ้าความดันของไหลน้อยกว่าความดันบรรยากาศจะทาให้ให้ท่อโค้งนี้หดเข้า จากการยืดตัวหดตัวของท่อโค้งนี้ ซึ่งต่อชิ้นส่วนไปที่เข็มชี้หน้าปัด จึงอ่านค่าความดันออกมา รูปที่ 9.2 มาตรวัดความดันแบบใช้ท่อบอร์ดัน
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.2.2 ความดันบรรยากาศ ( Atmospheric Pressure ) คือ น้าหนักของบรรยากาศที่กระทาต่อพื้นที่บริเวณนั้น แต่ ละแห่งจะไม่เท่ากัน ใช้ตัวย่อ Patm โดยมีค่าเท่ากับ 760 mm. ( 29.92 inch ฟรอท ) หรือ 1.033 kgf/cm3 และ 14.7 PSI การวัดค่าความบรรยากาศ จะใช้บารอมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัด ซึ่งบารอมิเตอร์ที่ใช้มีหลายชนิด ในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะบารอมิเตอร์ ซึ่งใช้ปรอทบรรจุในหลอดแก้วปลายปิด คว่าลงในอ่างปรอท แล้วอ่านค่าความสูงของลาปรอท รูปที่ 9.3 บารอมิเตอร์ปรอท แรงจากความกดดันบรรยากาศ = แรงดันของแก๊สภายในปลายท่อ + น้าหนักปรอทในหลอด Patm A = Pv + γ A h ( เอา A หารตลอด ) Patm = Pv A + γ h ไอปรอทมีน้อยมาก Patm = γ h
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.2.3 ความดันสัมบูรณ์ ( Absolute Pressure ) หมายถึง ค่าความดันที่วัดได้เมื่อเทียบกับความดันที่ศูนย์ ความดันสัมบูรณ์ ความดันที่มีค่า เป็น 0 รูปที่ 9.3. แสดงความดันต่าง ๆ สามารถหาความสัมบูรณ์ได้จากสูตรต่อไปนี้ 1. ในกรณีที่ความดันที่อ่านได้จากเครื่องมือวัด มีค่าเป็น + ความดันสัมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ 2. ในกรณีที่มีความดันอ่านจากเครื่องมือวัดสุญญากาศ มีค่าเป็น - ความดันสัมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ - ความดันเกจ ความดันเกจ สุญญากาศหรือ ความดันที่มีค่าลบ ความดันบรรยากาศ ความดันสัมบูรณ์
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน 9.2.4 หน่วยของความดัน ความดันมีหน่วยวัดเป็น แรงต่อหน่วยพื้นที่ N/m3 และ bar ( บาร์ ) 1 kg/cm3 ( กิโลกรัมแรง / ตารางเซนติเมตร )  1 bar ( บาร์ ) 1 bar ( บาร์ ) = 1 5 10 Pa ( ปาสคัล ) = 1 3 10 mbar ( มิลลิบาร์ ) = 750 Torr ( ทอร์ ) = 1.02 atm ( บรรยากาศ ) 1 Pa ( ปาสคัล ) = 10 N/cm3 = 1 5 10 bar = 0.01 mbar = 0.0075 Torr ( 3 105.7   Torr ) = 1 mm Hg ( มิลลิเมตรปรอท ) หน่วยของความดันบรรยากาศ ( Standard Atmosphere ) 1 std atm = 10 .133 N/cm2 ( นิวตัน/ตารางเซนติเมตร ) = 760 mm Hg ( มิลลิเมตรปรอท ) = 1.013 N/cm2 ( นิวตัน/ตารางเซนติเมตร ) = 1.013 bar ( บาร์ )
  • 5. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 9 ความดันของไหล 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 9 ความหมายต่าง ๆ ของของไหล และ คานวณหา ความดันของของเหลว  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 9.7 ความดันของอน้าที่ออกจากหม้อน้า อ่านจากเกจได้ 21.65 bar ขณะนี้มีความกดดันบรรยากาศ 768 mm Hg จงหาความดันสัมบูรณ์ของไอน้าที่ออกจากหม้อน้า วิธีทา 760 mm Hg = 1 Std.atm 768 mm Hg = 1 760 768  Std.atm = 1.010 Std.atm 1 Std.atm = 1.013 bar 1.010 Std.atm = 1.013  1.010 = 1.023 bar 768 mm Hg = 1.023 bar ความดันสมบูรณ์ = ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ = 1.023 + 21.65 = 22.673 bar ∴ ความดันสมบูรณ์ของไอน้า = 22.673 bar ตอบ ตัวอย่างที่ 9.8 ความดันของน้าในสายท่อส่งแท่งน้าอัดได้ 6.5 bar จะเท่ากับกี่ มิลลิเมตรปรอท วิธีทา 1 bar = 750 mm Hg 6.5 bar = 750  6.5 mm Hg = 4875 mm Hg ∴ ความดันของน้า = 4875 mm Hg ตอบ